9
ชาพ นฐานการเขยนโปรแกรมคอมพ วเตอร เร่องการเขยนผังงาน การเขยนผังงานเพ่อใหผูอ่นสามารถทาความเขาใจถงขันตอนวธการทางาน รูปแบบของสัญลักษณท่ใชสาหรับ เขยนผังงานตองเป็นไปตามมาตรฐานท่ม การใชงานกันทั่วไป สัญลักษณท่ใช สาหรับเขยนผังงานมดังน 1.1 จุดเร่มต้นและจุดส้นสุดของผังงาน สัญลักษณท่ใชสาหรับจุดเร่มตนและจุดสนสุดของผังงาน ใชสัญลักษณรูปส่เหล่ยมปลายมุมคลายกับสนาม ฟุตบอล ดังรูปท่ 1.1 ภายสัญลักษณมคาอธบายสาหรับบอกวาเป็นจุดเร่มตนหรอจุดสนสุดของผังงาน โดยใชคาอธบาย Start” หรอ “Begin” หรอเร่มตน สาหรับจุดเร่มตนของผังงาน และคาอธบาย “Stop” หรอ “End” หรอจบ สาหรับ จุดส นสุดของผังงาน สัญลักษณท่ใช สาหรับบอกจุดเร่มต นและจุดสนสุดของผังงาน สามารถมไดเพยงสัญลักษณละ 1 แหงเทานัน ในแตละผังงาน กลาวคอ มสัญลักษณจุดเร่มตนไดเพยงสัญลักษณเดยวและมสัญลักษณจุดสนสุดไดเพยงสัญลักษณ เดยวเทานัน รูปท ่ 1.1 สัญลักษณจุดเร่มตนและจุดส นสุดของผังงาน รูปท ่ 1.2 การใชงานสัญลักษณจุดเร่มต นและจุดส นสุดของผังงาน สัญลักษณจุดเร่มตนของผังงาน ใชคาอธบาย “Start” สาหรับบอกวาเป็นจุดเร่มตนของผังงาน เน ่องจากเป็น จุดเร่มตน สัญลักษณจุดเร่มต นของผังงานจะมเพยงทศทางออก ไมม ทศทางเขา สัญลักษณจุดสนสุดของผังงาน ใชคาอธบาย “End” สาหรับบอกวาเป็นจุดสนสุดของผังงาน หรอใชคาอธบาย Stop” แทนก็ได เน ่องจากเป็นจุดสนสุดของการทางาน สัญลักษณจุดสนสุดของผังงานมเพยงทศทางเขา ไมมทศ ทางออก Start End สัญลักษณ์สาหรับการเขยนผังงาน

1 3สัญลักษณ์ผังงาน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

การเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อื่นสามารถท าความเข้าใจถึงขั้นตอนวิธีการท างาน รูปแบบของสัญลักษณ์ที่ใช้ส าหรับ

เขียนผังงานต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่มกีารใช้งานกันทั่วไป สัญลักษณ์ที่ใชส้ าหรับเขียนผังงานมีดังนี้

1.1 จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน

สัญลักษณ์ที่ใช้ส าหรับจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน ใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมปลายมุมคล้ายกับสนาม

ฟุตบอล ดังรูปที่ 1.1 ภายสัญลักษณ์มีค าอธิบายส าหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดของผังงาน โดยใช้ค าอธิบาย

“Start” หรือ “Begin” หรือเริ่มต้น ส าหรับจุดเริ่มต้นของผังงาน และค าอธิบาย “Stop” หรือ “End” หรือจบ ส าหรับ

จุดสิน้สุดของผังงาน

สัญลักษณ์ที่ใชส้ าหรับบอกจุดเริ่มตน้และจุดสิ้นสุดของผังงาน สามารถมีได้เพียงสัญลักษณ์ละ 1 แห่งเท่านั้น

ในแต่ละผังงาน กล่าวคือ มีสัญลักษณ์จุดเริ่มต้นได้เพียงสัญลักษณ์เดียวและมีสัญลักษณ์จุดสิ้นสุดได้เพียงสัญลักษณ์

เดียวเท่านั้น

รูปที่ 1.1 สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดสิน้สุดของผังงาน

รูปที ่1.2 การใช้งานสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้และจุดสิน้สุดของผังงาน

สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นของผังงาน ใช้ค าอธิบาย “Start” ส าหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นของผังงาน เนื่องจากเป็น

จุดเริ่มต้น สัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ของผังงานจะมีเพียงทิศทางออก ไม่มทีิศทางเข้า

สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดของผังงาน ใช้ค าอธิบาย “End” ส าหรับบอกว่าเป็นจุดสิ้นสุดของผังงาน หรือใช้ค าอธิบาย

“Stop” แทนก็ได้ เนื่องจากเป็นจุดสิ้นสุดของการท างาน สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดของผังงานมีเพียงทิศทางเข้า ไม่มีทิศ

ทางออก

Start End

สัญลักษณ์ส าหรับการเขียนผังงาน

Page 2: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

1.2 การก าหนดค่า การค านวณและการประมวลผล

สัญลักษณ์ที่ใช้ส าหรับการก าหนดค่า (Assignment) การค านวณ (Computation) และการประมาณผล

(Process) ของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีค าอธิบายลักษณะการท างานอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

สัญลักษณ์นี้มทีั้งทิศทางเข้าและทิศทางอก โดยมีเพียงทิศทางเข้า 1 ทิศทางและทิศทางออก 1 ทิศทาง

รูปที ่1.3 สัญลักษณ์การก าหนดค่า การค านวณและการประมวลผล

การเขียนผังงานนิยมใช้เครื่องหมายลูกศร (⟵) แทนเครื่องหมายเท่ากับ (=) ส าหรับการก าหนดค่าหรือการ

ค านวณ เครื่องหมายเท่ากับส าหรับการเขียนผังงานนิยมใชส้ าหรับการเปรียบเทียบความเท่ากันระหว่างค่า 2 ค่า

ตัวอย่างท่ี 1.1 การใชส้ัญลักษณ์การก าหนดค่า การค านวณและการประมวลผล

รูปที ่1.4 การใชส้ัญลักษณ์การก าหนดค่า การค านวณและการประมวลผล

การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการก าหนดค่าใหค้่าของ N มีค่าเท่ากับ 5

รูปที ่1.5 การใชส้ัญลักษณ์การก าหนดค่า การค านวณและการประมวลผล

การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการค านวณค่าของ ของ A บวกกับ ค่าของ B จากนั้นน าผลที่ได้ไปเก็บไว้

ในตัวแปร X

N 5

X A + B

5

Page 3: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

1.3 การรับข้อมูลเข้าและการน าข้อมูลออก

การรับข้อมูลเข้าและการน าข้อมูลออก กรณีไม่ก าหนดอุปกรณ์ส าหรับการน าข้อมูลเข้าและการน าข้อมูล

ออก สัญลักษณ์ที่ใช้คือสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ภายในสัญลักษณ์เป็นค าอธิบายลักษณะการท างาน โดยใช้

ค าอธิบาย “Read” , “Input” หรือ “รับค่า” ส าหรับการรับข้อมูลเข้า และใช้ค าอธิบาย “Write” , “Output” , “Print”

หรอื “แสดงคา่” ส าหรับการน าข้อมูลออกสัญลักษณ์นี้มทีั้งทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง

รูปที ่1.6 สัญลักษณ์การน าข้อมูลเข้าและขอ้มูลอกโดยไม่ก าหนดอุปกรณ์

ตัวอย่างท่ี 1.2 การใชส้ัญลักษณ์การน าข้อมูลเข้าและการน าข้อมูลออกโดยไม่ก าหนดอุปกรณ์

Read A, B

รูปที่ 1.7 การใช้งานสัญลักษณ์การน าข้อมูลเข้าโดยไม่ก าหนดอุปกรณ์

การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการรับค่าข้อมูล 2 ค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1

ถูกน าไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่ 2 ถูกน าไปเก็บไว้ในตัวแปร B

Write ANS

รูปที ่1.8 การใช้งานสัญลักษณ์การน าข้อมูลออกโดยไม่ก าหนดอุปกรณ์

การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS

Page 4: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

1.4 การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์

สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้ส าหรับการรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ ดังรูปที่ 1.9 ภายในสัญลักษณ์ คือ ตัวแปร

ที่ใช้ส าหรับรับค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากแป้นพิมพ์ สัญลักษณ์ส าหรับการรับข้อมูลเข้าจากแป้นพิมพ์มีทิศทางเข้าและทิศ

ทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง

รูปที่ 1.9 สัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพมิพ์

ตัวอย่างท่ี 1.3 การใชส้ัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ (Keyboard)

A, B

รูปที ่1.10 การใชง้านสัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพมิพ์

การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการรับค่าจากแป้นพิมพ์จ านวน 2 ค่ามาเก็บไว้ ในตัวแปร A และตัวแปร

B โดยค่าที่ 1 ถูกน าไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที ่2 ถูกน าไปเก็บไว้ในตัวแปร B

1.5 การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ

สัญลักษณ์ส าหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพของผังงาน ใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่1.11 โดยเขียนข้อมูล

ที่ต้องการแสดงผลออกสู่จอภาพอยู่ภายในสัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใช้ส าหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพมีทิศ

ทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง

รูปที่ 1.11 สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ

Page 5: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

ตัวอย่างท่ี 1.4 การใชส้ัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ

ANS

รูปที ่1.12 การใชส้ัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ

การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางจอภาพ

1.6 การแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์

สัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ ใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่ 1.13 โดยเขียน

ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางเครื่องพิมพ์อยู่ภายในสัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใช้ส าหรับการแสดงข้อมูลออกทาง

เครื่องพมิพ์มทีิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง

รูปที ่1.13 สัญลักษณ์ส าหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์

ตัวอย่างท่ี 1.5 การใชส้ัญลักษณ์ส าหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์

ANS

รูปที่ 1.14 การใชส้ัญลักษณ์ส าหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์

การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางเครื่องพิมพ์

Page 6: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

1.7 การติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบล าดับ

อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบล าดับ เช่น เทปแม่เหล็ก สัญลักษณ์ของผังงานส าหรับการติดต่อ

อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบล าดับ ดังรูปที่ 1.15 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงเทปแม่เหล็กหรือต้องการ

อ่านข้อมูลจากเทปแมเ่หล็ก

รูปที่ 1.15 สัญลักษณ์ส าหรับการตดิต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบล าดับ

1.8 การติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง

อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง เช่น จานบันทึกข้อมูล (Disc) สัญลักษณ์ที่ใช้ในการติดต่อกับ

อุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูลใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่ 1.16 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงจานบันทึกข้อมูลหรอือ่าน

ข้อมูลจากจานบันทึกข้อมูล

รูปที่ 1.16 สัญลักษณ์ส าหรับการตดิต่ออุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูล

1.9 การตัดสินใจ

สัญลักษณ์การตัดสินใจใช้ส าหรับตรวจสอบเงื่อนไข เพื่อตัดสินใจเลือกกระท าขั้นตอนการท างานที่ต้องท า

เป็นล าดับถัดไป สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้ส าหรับการตัดสินใจเครื่องหมายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเงื่อนไขส าหรับ

การตัดสินใจอยู่ภายในสัญลักษณ์ สัญลักษณ์การตัดสินใจมีการใช้งานในผังงานที่มีการท างานแบบเลือกท า และการ

ท างานแบบท าซ้ า

รูปที่ 1.17 สัญลักษณ์ส าหรับการตัดสินใจ

Page 7: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

สัญลักษณ์ที่ใช้ส าหรับการตัดสินใจมีทิศทางเข้า 1 ทิศทาง ผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขที่อยู่ในสัญลักษณ์

การตัดสินใจจะมีอยู่ 2 กรณี คือ กรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงและกรณีที่ผลการตรวจสอบเป็นเท็จ ดังนั้น

ทิศทางที่ออกจากสัญลักษณ์การตัดสินใจจะมี 2 ทิศทางเช่นกัน โดยใช้ค าอธิบาย “Yes” , “Y” , “True” หรือ “ใช่”

ก ากับทิศทางในกรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริง ใช้ค าอธิบาย “No” , “N” , “False” หรือ “ไม่ใช่” ก ากับทิศทาง

ในกรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นเท็จ

ตัวอย่างท่ี 1.6 การใชส้ัญลักษณ์ส าหรับการตัดสินใจ

15XY N

รูปที่ 1.18 การใช้งานสัญลักษณ์ส าหรับการตัดสินใจ

จากสัญลักษณ์การตัดสินใจขั้นตอนการท างาน คือ พิจารณาค่าของ X ถ้าค่าของ X ขณะนั้นมีค่ามากกว่า 15

ขั้นตอนการท างานที่ต้องการท าในล าดับถัดไป คือ การท างานในทิศทางที่มีตัวอักษร “Y” ก ากับ ถ้าค่าของ X ขณะนั้นไม่

มากกว่า 15 คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 ขั้นตอนการท างานที่ต้องท าเป็นล าดับถัดไป คือ การท างานในทิศทางที่มี

ตัวอักษร “N” ก ากับ

1.10 การแสดงทิศทางการท างานของผังงาน

การแสดงทิศทางของขั้นตอนการท างานของผังงาน ใช้ลูกศรส าหรับการบอกทิศทางของขั้นตอนการ

ท างาน การใช้ลูกศรแสดงทิศทางของขั้นตอนการท างานนิยมเขียนจากด้านบนลงด้านล่างหรือจากด้านซ้ายไปด้านขวา

ลูกศรที่ชี้เข้าสู่สัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้เข้าด้านบนของสัญลักษณ์ และลูกศรที่ชี้ออกจากสัญลักษณ์ของ

ผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้ออกทางดา้นล่างของสัญลักษณ์

รูปที่ 1.19 สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการท างานของผังงาน

การเขียนเส้นของลูกศรแสดงทิศทางการไหลของผังงานไม่นิยมเขียนเส้นตัดกัน ถ้ามีขั้นตอนการท างานที่

ต้องเขียนเส้นตัดกัน ต้องพยายามเลี่ยงโดยการปรับรูปของโครงสร้างผังงานใหม่หรือใช้เครื่องหมายจุดต่อช่วยในการ

เขียนผังงาน

Page 8: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

ตัวอย่างท่ี 1.7 การใชส้ัญลักษณ์ส าหรับแสดงทิศทางการท างานของผังงาน

Read A,B

X = A + B

รูปที่ 1.20 ทิศทางของล าดับขั้นตอนการท างาน

ล าดับขั้นตอนการท างานของผังงาน รูปที่ 1.20 คือ ขั้นตอนแรก ท าการรับค่าข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร A

และ B จากนั้นท าขั้นตอนของการค านวณค่าของ A บวกด้วยค่าของ B จากนั้นน าผลที่ได้ไปเก็บไว้ในตัวแปร X

1.11 จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน

สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้ส าหรับเชื่อมการท างานของผังงานที่อยู่ในหนา้เดียวกัน สัญลักษณ์

จุดต่อภายในหน้าเดียวกันใช้สัญลักษณ์ของวงกลม ภายในวงกลมระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุดต่อ

แตล่ะจุดต้องมีคูท่ี่ตอ้งการเช่ือมถึงกันเสมอ

การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้ในกรณีที่เส้นส าหรับแสดงทิศทางการท างานของผังงานมี

ความยาวมาก หรือมีจุดตัดของเส้นที่ใช้แสดงทิศทางการท างานเกิดขึ้น เพื่อลดความซับซ้อนของเส้นที่ใช้แสดงขั้นตอน

การท างานของผังงาน ท าให้สามารถเห็นล าดับขั้นตอนการท างานได้อย่างไม่สับสน

รูปที่ 1.21 สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน

ตัวอย่างท่ี 1.8 การใชส้ัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน

1

1

รูปที่ 1.22 การใช้งานสัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน

แสดงเครื่องหมายจุดต่อภายในหน้าเดียวกันหมายเลข 1 โดยที่ตั้ง 2 จุดต้องอยู่หน้าเดียวกัน การท างานของผัง

งานเสมือนวา่สองจุดนี้คอืจุดเดียวกัน และเชื่อมตอ่ถึงกัน

Page 9: 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

1.12 จุดต่อระหว่างหน้า

สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้าของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปห้าเหลี่ยม สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้าใช้

ส าหรับเชื่อมการท างานของผังงานที่อยู่ต่างหน้ากัน ภายในสัญลักษณ์ระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุด

ต่อแต่ละจุดตอ้งคู่ที่ตอ้งการเช่ือมถึงกันเสมอ

การใช้งานของสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า มีการใช้งานเหมือนกับจุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ต่างกัน

เพียงใช้ส าหรับเชื่อมตอ่จุดที่อยู่ต่างหน้ากัน

รูปที่ 1.23 สัญลักษณ์จุดตอ่ระหว่างหน้า

ตัวอย่างท่ี 1.9 การใชส้ัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า

11

รูปที่ 1.24 การใช้งานสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า

แสดงเครื่องหมายจุดต่อระหว่างหน้าหมายเลข 1 โดยที่ทั้ง 2 จุดต้องอยู่ต่างหน้ากันการท างานของผังงาน

เสมือนว่าสองจุดนี้คอืจุดเดียวกัน และเชื่อมตอ่ถึงกัน