2
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 คําชี้แจงการประเมิน ความสามารถด้านภาษา ด้านการคิดคํานวณ และด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีท3 --------------------------------------------------- เครื่องมือประเมินแบ่งออกเป็น 3 ชุด แต่ละชุดประเมินความสามารถแต่ละด้านดังนีชุดที1 แบบประเมินความสามารถด้านภาษา เครื่องมือเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้อ 30 คะแนน ให้นักเรียนทําในเวลา 1 ชั่วโมง โดยนักเรียนต้องอ่านข้อความที่กําหนดให้ซึ่งมีทั้งหมด 11 ข้อความ จากนั้นตอบคําถามซึ่งมีลักษณะคําถาม 6 ลักษณะคือ 1. อธิบาย ความหมาย จากเรื่องที่อ่าน จํานวน 3 ข้อ 2. คาดคะเน เหตุการณ์จาก เรื่องที่อ่าน จํานวน 3 ข้อ 3. สรุป เรื่องราวและ ข้อคิดจากเรื่อง ที่อ่าน จํานวน 10 ข้อ 4. วิเคราะห์ เรื่องที่อ่านได้ อย่างถูกต้อง จํานวน 7 ข้อ 5. นําข้อคิดทีได้จากเรื่องทีอ่านไปใช้ใน ชีวิตประจําวัน จํานวน 3 ข้อ 6. สื่อสาร ความคิดเห็น จากเรื่องที่อ่าน อย่างมีเหตุผล และสร้างสรรค์ จํานวน 4 ข้อ ข้อที1,7,16 ข้อที20,23,29 ข้อที3, 4,8,9,11, 13,17,22,25, 27 ข้อที2,5,10,12, 14,15,19 ข้อที18,26, 30 ข้อที6,21,24,28 เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบแล้ว ให้ทําการตรวจตามเฉลยที่กําหนดให้ (ฉบับสําหรับครู ) จากนั้นกรอกคะแนนใน แบบบันทึกผลการประเมินตามลักษณะคําถาม เช่น ข้อ 1 ข้อ 7 และข้อ 16 เป็นคําถามชนิดอธิบายเรื่องที่อ่าน ผลการตอบทั้ง สามข้อนี้เป็นอย่างไร ก็ให้กรอกคะแนนในแบบกรอก สดมภ์ อธิบายความหมาย เป็นต้น ชุดที2 แบบประเมินความสามารถด้านการคิดคํานวณ เครื่องมือเป็นแบบทดสอบ 3 ตอน แต่ละตอนประเมินความสามารถนักเรียน 3 ด้านคือ ตอนที1 ด้านทักษะการคิด คํานวณ 12 ข้อ ตอนที2 ด้านความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 13 ข้อ และตอนที3 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 10 ข้อ รวม จํานวน 35 ข้อ 35 คะแนน ให้นักเรียนทําในเวลา 1 ชั่วโมง แบบทดสอบมีวิธีการทําหลายรูปแบบได้แก่ การเติม คําตอบ การวงรอบตัวอักษรหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง การเขียนบรรยายสั้นๆ เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบแล้ว ให้ทําการตรวจตามเฉลยที่กําหนดให้ (ฉบับสําหรับครู ) จากนั้นกรอกคะแนนใน แบบบันทึกผลการประเมินตามด้านที่ประเมิน เช่น ตอนที1 ด้านทักษะการคิดคํานวณ 12 ข้อ 12 คะแนน เป็นต้น

1.pre nt

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1.pre nt

สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1

คําชี้แจงการประเมนิ ความสามารถด้านภาษา ด้านการคิดคาํนวณ และด้านเหตุผล

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

---------------------------------------------------

เครื่องมือประเมินแบ่งออกเป็น 3 ชุด แต่ละชุดประเมินความสามารถแต่ละด้านดังนี ้

ชุดที่ 1 แบบประเมินความสามารถด้านภาษา เครื่องมือเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้อ 30 คะแนน ให้นักเรียนทําในเวลา 1 ชั่วโมง โดยนักเรียนต้องอ่านข้อความที่กําหนดให้ซ่ึงมีท้ังหมด 11 ข้อความ จากนั้นตอบคําถามซ่ึงมีลักษณะคําถาม 6 ลักษณะคือ

1. อธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน จํานวน 3 ข้อ

2. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน จํานวน 3 ข้อ

3. สรุปเรื่องราวและข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่าน จํานวน 10 ข้อ

4. วิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้อง จํานวน 7 ข้อ

5. นําข้อคิดท่ีได้จากเรื่องที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจําวัน จํานวน 3 ข้อ

6. สื่อสารความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค ์ จํานวน 4 ข้อ

ข้อที่ 1,7,16

ข้อที่ 20,23,29

ข้อที่ 3, 4,8,9,11, 13,17,22,25,27

ข้อที่2,5,10,12, 14,15,19

ข้อที่ 18,26, 30

ข้อที่ 6,21,24,28

เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบแล้ว ให้ทําการตรวจตามเฉลยที่กําหนดให้ (ฉบับสําหรับครู ) จากนั้นกรอกคะแนนในแบบบันทึกผลการประเมินตามลักษณะคําถาม เช่น ข้อ 1 ข้อ 7 และข้อ 16 เป็นคําถามชนิดอธิบายเรื่องที่อ่าน ผลการตอบทั้งสามข้อนี้เป็นอย่างไร ก็ให้กรอกคะแนนในแบบกรอก สดมภ์ อธิบายความหมาย เป็นต้น

ชุดที่ 2 แบบประเมินความสามารถด้านการคิดคํานวณ เครื่องมือเป็นแบบทดสอบ 3 ตอน แต่ละตอนประเมินความสามารถนักเรียน 3 ด้านคือ ตอนที่ 1 ด้านทักษะการคิดคํานวณ 12 ข้อ ตอนที่ 2 ด้านความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 13 ข้อ และตอนที่ 3 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 10 ข้อ รวม จํานวน 35 ข้อ 35 คะแนน ให้นักเรียนทําในเวลา 1 ชั่วโมง แบบทดสอบมีวิธีการทําหลายรูปแบบได้แก่ การเติมคําตอบ การวงรอบตัวอักษรหนา้ตัวเลือกที่ถูกต้อง การเขียนบรรยายสั้นๆ

เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบแล้ว ให้ทําการตรวจตามเฉลยที่กําหนดให้ (ฉบับสําหรับครู ) จากนั้นกรอกคะแนนในแบบบันทึกผลการประเมินตามด้านที่ประเมิน เช่น ตอนที่ 1 ด้านทักษะการคิดคํานวณ 12 ข้อ 12 คะแนน เป็นต้น

Page 2: 1.pre nt

ชุดที่ 3 แบบประเมินความสามารถด้านเหตุผล เครื่องมือเป็นแบบทดสอบที่ประเมินความสามารถนักเรียน 8 ด้านคือ รวม จํานวน 35 ข้อ 35 คะแนน ให้นักเรียนทําในเวลา 1 ชั่วโมง การทดสอบใช้วิธีการวงรอบตัวอักษรหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง ตามรายละเอียดดังนี้

ด้านที่ประเมิน จํานวนข้อ

ข้อที ่

1. ความรู้ หมายถึง ความสามารถในด้านการจดจําข้อเท็จจริง ทฤษฎี หลักการท่ีศึกษารวมทั้งคุณธรรมจริยธรรม

7 ข้อ 1-7

2. ประสบการณ์ หมายถึง ความรู้เดิมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ ปฏิบัติ หรือได้พบเห็นเรื่องราวต่างๆ ในระดับบุคคล สังคม และสังคมโลก

4 ข้อ 8-11

3. วิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ บอดความต่าง ความเหมือน สรุปหลักการ บอกความสัมพันธ์ เชื่อมโยงอย่างมีเหตุผล บนพื้นฐานบนหลักการของวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการดําเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม

6 ข้อ 12-17

4. สังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ คิดสร้างสรรค์บนพื้นฐานของข้อมูลท่ีผ่าน การวิเคราะห์ ประเมินแล้ว อย่างสมเหตุสมผล

4 ข้อ 18-21

5. ประเมินค่า หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจ เลือกทางเลือกอย่างสมเหตุสมผล มีประโยชน์และสร้างสรรค ์

3 ข้อ 22-24

6. เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง การนําความรู้ ประสบการณ์ท่ีเกิดจากการเรียนรู้มาประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคม ให้สมเหตุสมผลตามหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์

3 ข้อ 25-27

7. เหตุผลทางสังคมศาสตร์ หมายถึง การนําความรู้ ประสบการณ์จากกฎเกณฑ์ ความเชื่อ วัฒนธรรม ค่านิยมทางสังคมศาสตร์มาประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคมได้อย่างสมเหตุสมผล

3 ข้อ 28-30

8. เหตุผลทางการดําเนินชีวิต หมายถึง การนําความรู้ หลักการ กฎเกณฑ์ มาใช้ในการดํารงชีวิต หรือประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคม อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม

5 ข้อ 31-35

เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบแล้ว ให้ทําการตรวจตามเฉลยที่กําหนดให้ (ฉบับสําหรับครู ) จากนั้นกรอกคะแนนในแบบบันทึกผลการประเมินตามลักษณะคําถาม เช่น ข้อ 1 - 7 เป็นคําถามด้านความรู้ นักเรียนตอบถูกกี่ข้อนี้ ก็ให้กรอกคะแนนที่ได้ในแบบกรอก สดมภ์ ความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง เป็นต้น

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล สพป.นครปฐม เขต 1 ธันวาคม 2555