13
เรื่องนารูเกี่ยวกับการพิมพ: หมึก สี กระดาษ การเก็บเลม (วส 210 – 02/2556) ศรรวริศา เมฆไพบูลย [email protected] 1. หมึกพิมพ หมึกพิมพเปนวิวัฒนาการของหมึกที่พัฒนามาจากหมึกสําหรับเขียน สมัยโบราณทําจากธรรมชาติ คือสี จากพืชและสีจากแรธาตุในพื้นดิน ซึ่งมีการนํามาพัฒนาจนมีคุณสมบัติมาตรฐานเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 เริ่มแรกในจีนและอียิปต โดยทําจากผงเขมาสีดําเคี่ยวกับกระดูกสัตวและยางไม ชาวจีนชื่อซูหมินตั้ง โรงงานผลิตหมึกพิมพครั้งแรกเมื่อราวศตวรรษที่ 6 ตอมาในศตวรรษที่ 13 จึงมีการผลิตหมึกเปน อุตสาหกรรม มีการคนควาจนไดหมึกที่เหมาะกับการพิมพแตละประเภท แตเก็บเปนความลับกอนจะ เปดเผยในหนังสือ Mechanic Exercise ของโจเซฟ ม็อกซอน ปจจัยที่สงผลตอการเลือกหมึกพิมพ ระบบการพิมพที่ใช แทนพิมพและความเร็วในการพิมพ ระบบปอนกระดาษ ความทนทานตอสีของวัสดุพิมพ การใชงานของชิ้นงานสําเร็จ การแหงตัวของหมึก ประเภทของวัสดุพิมพ วัสดุพิมพจะมีผิวหนาที่มีสมบัติทั้งทางเคมีและกายภาพแตกตางกัน หมึกพิมพทีเหมาะสมกับการพิมพวัสดุแตละประเภทจึงมีองคประกอบแตกตางกัน วัตถุประสงคของการพิมพ เชน บรรจุภัณฑอาหารตองใชสีที่ไมเปนพิษเพื่อไมใหกออันตรายตอผูบริโภค หรือหมึกพิมพสําหรับงานโฆษณากลางแจงก็ควรมีคุณสมบัติไมซีดจางเมื่อไดรับแสงแดดและความรอน สวนผสมของหมึกพิมพ ตัวสี pigment เปนผงสีเล็กละเอียด ใหสีแกการพิมพ หากแบงตามลักษณะทางเคมีของวัตถุ ก็อาจเปน สารอินทรีเคมี (จากพืชและสัตว) กับสารอนินทรียเคมีจากแรธาตุที่ทําใหเกิดสี สวนในทางการพิมพ อาจ แบงตามคุณสมบัติในการจางชาหรือเร็ว แลวแตลักษณะของตัวสีที่ไดมาจากวัตถุตางๆ เชน สีดํา (คารบอน เขมาไฟจากการเผาน้ํามันจากพืช หรือแร หรือการผสมอินทรีเคมีอื่นๆเขาดวยกัน) โดยทั่วไป เม็ดเนื้อสีจะมีขนาด 100 ไมครอนขึ้นไป ตัวนําสี vehicles สารละลายที่ทําใหหมึกเหลวและยึดตัวสีไวในหมึกขณะที่หมึกอยูในภาชนะบรรจุ ทําให ผสมสีไดทั่ว สม่ําเสมอ ไมระเหยแหง และเมื่อพิมพลงบนกระดาษ ก็ทําหนาที่ยึดสีใหติดกระดาษ ตัวนํานีเปนน้ํามันแร น้ํามันพืช เชน ลินซีด ฝาย ถั่วเหลือง หรือน้ํามันสัตวหรือวานิช varnish (มีเบอรจาก 00 ถึง 00000 ซึ่งจางที่สุด โดยวานิชที่ตัวเลขนอยจะยิ่งขน) ตัวยึดสี binder/additive สารละลายที่ทําใหสีสามารถยึดติดแนน ทนทาน ตัวทําละลาย solvent เชน น้ํามันสน อีเธอรแอลกอฮอล สารละลายที่ทําใหเก็บหมึกได ไมแหงเร็วเกินไป สมัยกอนไมตองใส แตปจจุบันมีการใชสารพวก synthetic rosin ทําใหหมึกแหงเร็วมาก ตองผสมตัวทํา ละลายเพื่อไมใหหมึกในภาชนะแข็งตัวกอนจะพิมพ เมื่อพิมพเสร็จ ตัวทําละลายระเหย หมึกจะแหงไปเอง ตัวทําใหแหง drier สารละลายที่ทําใหแหงเร็วเมื่อพิมพเสร็จ เพื่อไมใหหมึกติดกระดาษแผนตอไป อาจ เปนแปง paste drier หรือน้ํามัน concentrated oil drier, cobalt drier หมึกอาจแหงเมื่อผสมกับ ออกซิเจนในอากาศ แหงโดยการซึมลงในวัสดุพิมพเนื้อนุม ซึ่งตองซึมไดแคพอประมาณ ไมงั้นจะทะลุหลัง ตัวทําใหเกิดคุณสมบัติพิเศษ o ยางไม (resin) ทําใหสีเปนมัน สดใส เชน ยางสนหรือยางไมอื่นๆ เชลแล็ก หรือยางสังเคราะห o อิงกคอมพาวนด ink compound ทําจากขี้ผึ้ง ไขสบู หรือไขมัน ทําใหสีหมึกกระจายสม่ําเสมอ พิมพ ไดคุณภาพดีขึ้น ตัดความเหนียวของหมึก ไมใหติดกระดาษแผนบน เชน พาราฟน o วัตุทําใหเกิดอ็อกไซดชา antioxidants ทําใหหมึกแหงชาขณะอยูในรางหรือภาชนะบรรจุ o วัสดุระงับกลิ่น deodorants และวัตถุสรางกลิ่น reodorants เปนตน

210 printing-otherstuff

  • View
    452

  • Download
    4

Embed Size (px)

DESCRIPTION

JC210 lecture (15-11-13) on other stuff about printing - ink, colors, paper, binding, etc.

Citation preview

Page 1: 210 printing-otherstuff

เรื่องนารูเก่ียวกับการพิมพ: หมึก สี กระดาษ การเก็บเลม (วส 210 – 02/2556) ศรรวริศา เมฆไพบูลย [email protected] 1. หมึกพิมพ

• หมึกพิมพเปนวิวัฒนาการของหมึกท่ีพัฒนามาจากหมึกสําหรับเขียน สมัยโบราณทําจากธรรมชาติ คือสีจากพืชและสีจากแรธาตุในพ้ืนดิน ซึ่งมีการนํามาพัฒนาจนมีคุณสมบัติมาตรฐานเมื่อปลายศตวรรษท่ี 19

• เร่ิมแรกในจีนและอียิปต โดยทําจากผงเขมาสีดําเคี่ยวกับกระดูกสัตวและยางไม ชาวจีนชื่อซูหมินตั้งโรงงานผลิตหมึกพิมพคร้ังแรกเมื่อราวศตวรรษท่ี 6 ตอมาในศตวรรษท่ี 13 จึงมีการผลิตหมึกเปนอุตสาหกรรม มีการคนควาจนไดหมึกท่ีเหมาะกับการพิมพแตละประเภท แตเก็บเปนความลับกอนจะ เปดเผยในหนังสือ Mechanic Exercise ของโจเซฟ ม็อกซอน

ปจจัยท่ีสงผลตอการเลือกหมึกพิมพ ระบบการพิมพท่ีใช แทนพิมพและความเร็วในการพิมพ ระบบปอนกระดาษ ความทนทานตอสีของวัสดุพิมพ การใชงานของชิ้นงานสําเร็จ การแหงตัวของหมึก ประเภทของวัสดุพิมพ วัสดุพิมพจะมีผิวหนาท่ีมีสมบัติท้ังทางเคมีและกายภาพแตกตางกัน หมึกพิมพท่ี

เหมาะสมกับการพิมพวัสดุแตละประเภทจึงมีองคประกอบแตกตางกัน วัตถุประสงคของการพิมพ เชน บรรจุภัณฑอาหารตองใชสีท่ีไมเปนพิษเพ่ือไมใหกออันตรายตอผูบริโภค

หรือหมึกพิมพสําหรับงานโฆษณากลางแจงก็ควรมีคุณสมบัติไมซีดจางเมื่อไดรับแสงแดดและความรอน สวนผสมของหมึกพิมพ

• ตัวสี pigment เปนผงสีเล็กละเอียด ใหสีแกการพิมพ หากแบงตามลักษณะทางเคมีของวัตถุ ก็อาจเปนสารอินทรีเคมี (จากพืชและสัตว) กับสารอนินทรียเคมีจากแรธาตุท่ีทําใหเกิดสี สวนในทางการพิมพ อาจแบงตามคุณสมบัติในการจางชาหรือเร็ว แลวแตลักษณะของตัวสีท่ีไดมาจากวัตถุตางๆ เชน สีดํา (คารบอน เขมาไฟจากการเผาน้ํามันจากพืช หรือแร หรือการผสมอินทรีเคมีอื่นๆเขาดวยกัน) โดยท่ัวไปเม็ดเนื้อสีจะมีขนาด 100 ไมครอนขึ้นไป

• ตัวนําสี vehicles สารละลายท่ีทําใหหมึกเหลวและยึดตัวสีไวในหมึกขณะท่ีหมึกอยูในภาชนะบรรจุ ทําใหผสมสีไดท่ัว สม่ําเสมอ ไมระเหยแหง และเมื่อพิมพลงบนกระดาษ ก็ทําหนาท่ียึดสีใหติดกระดาษ ตัวนํานี้เปนน้ํามันแร น้ํามันพืช เชน ลินซีด ฝาย ถั่วเหลือง หรือน้ํามันสัตวหรือวานิช varnish (มีเบอรจาก 00 ถึง 00000 ซึ่งจางท่ีสุด โดยวานิชท่ีตัวเลขนอยจะยิ่งขน)

• ตัวยึดสี binder/additive สารละลายท่ีทําใหสีสามารถยึดติดแนน ทนทาน • ตัวทําละลาย solvent เชน น้ํามันสน อีเธอรแอลกอฮอล สารละลายท่ีทําใหเก็บหมึกได ไมแหงเร็วเกินไป

สมัยกอนไมตองใส แตปจจุบันมีการใชสารพวก synthetic rosin ทําใหหมึกแหงเร็วมาก ตองผสมตัวทําละลายเพ่ือไมใหหมึกในภาชนะแข็งตัวกอนจะพิมพ เมื่อพิมพเสร็จ ตัวทําละลายระเหย หมึกจะแหงไปเอง

• ตัวทําใหแหง drier สารละลายท่ีทําใหแหงเร็วเมื่อพิมพเสร็จ เพ่ือไมใหหมึกติดกระดาษแผนตอไป อาจเปนแปง paste drier หรือน้ํามัน concentrated oil drier, cobalt drier หมึกอาจแหงเมื่อผสมกับออกซิเจนในอากาศ แหงโดยการซึมลงในวัสดุพิมพเนื้อนุม ซึ่งตองซึมไดแคพอประมาณ ไมงั้นจะทะลุหลัง

• ตัวทําใหเกิดคุณสมบัติพิเศษ o ยางไม (resin) ทําใหสีเปนมัน สดใส เชน ยางสนหรือยางไมอื่นๆ เชลแล็ก หรือยางสังเคราะห o อิงกคอมพาวนด ink compound ทําจากขี้ผ้ึง ไขสบู หรือไขมัน ทําใหสีหมึกกระจายสม่ําเสมอ พิมพ

ไดคุณภาพดีขึ้น ตัดความเหนียวของหมึก ไมใหติดกระดาษแผนบน เชน พาราฟน o วัตุทําใหเกิดอ็อกไซดชา antioxidants ทําใหหมึกแหงชาขณะอยูในรางหรือภาชนะบรรจ ุo วัสดุระงับกลิ่น deodorants และวัตถุสรางกลิ่น reodorants เปนตน

Page 2: 210 printing-otherstuff

ลักษณะของหมึกท่ีใชในงานพิมพตางๆ • เลตเตอรเพรส หมึกมีความเหนียวปานกลาง แมพิมพทรงกระบอกตองการหมึกท่ีคลองตัว ไหลไปมางาย

กวาแมพิมพเพลตเทน และมีความเหนียวนอยกวาหมึกท่ีใชกับแมพิมพโรตารี • ออฟเซต สีเขมกวาเลตเตอรเพรส เพราะระบบนี้ใชหมึกเกาะติดกระดาษเพียงคร่ึงเดียวของเลตเตอรเพรส

เทานั้น ตัวสีจึงตองเขมกวา มันกวา หมึกกึ่งใสจะพิมพไดดีกวาหมึกสีทึบ • กราวัวร หมึกเหลว แหงเร็ว แตรวมตัวกันแนน เพราะตองติดกระดาษออกจากรองใหหมด มักจะไวไฟ • ซิลกสกรีน ใชหมึกมากและหนากวาระบบอื่น หมึกตองมีคุณสมบัติในการยึดสีใหติดวัสดุพิมพ ตัวทํา

ละลายไมระเหยเร็วเกินไป หมึกชนิดอื่นๆ

• หมึกท่ีมีความมันมาก high gloss ink ผสมวานิชเปนพิเศษ ตองผสมตัวทําแหงท่ีดีเพ่ือใหแหงเร็ว เพราะใชความรอนทําใหแหงไมได (จะหายมัน)

• หมึกสีโลหะ metallic ink ผสมผงโลหะ เชน อลูมิเนียม ทองแดง เงิน และวานิชพิเศษ ทําใหเกิดความเหลื่อมเหมือนโลหะ มีคุณสมบัติการยึดตัวกับวัสดุพิมพดีเปนพิเศษและแหงเร็ว

• หมึกแหงเร็ว quicksetting ink มีตัวนําและตัวละลายพิเศษสําหรับพิมพบนกระดาษมันเรียบ ตัวละลายจะระเหยทันทีท่ีพิมพ ทําใหหมึกแหงเกาะกระดาษทันที

• หมึกแรงแมเหล็ก magnetic ink พิมพเช็คธนาคารหรือเอกสารพิเศษ มีตัวสีท่ีมีแรงแมเหล็กในตัว และตองอานดวยเคร่ืองอานไฟฟา

• หมึกสะทอนแสง fluorescent ink ผสมสีสะทอนแสง ใชกับการพิมพไดทุกระบบ โดยควรพิมพบนกระดาษขาวเพ่ือใหสีสะทอนไดดี โดยเฉพาะเมื่อฉากหลังเปนสีดํา มักใชกับฉลากสินคาและโฆษณา

• หมึกพิมพหออาหาร moisture set สีไมละลายน้ํา ไมมีกลิ่น • หมึกแหงโดยระบบความรอนตอนปลายแทน heatset ink แทนพิมพบางชนิดมีความเร็วสูง ทําใหหมึก

แหงดวยวิธีธรรมดาไมได ตองใชความรอนเพ่ือใหหมึกแหงเร็วขึ้นดวยการระเหย อันตรายจากหมึกพิมพ

• สารเคมีท่ีมีอยูในหมึกพิมพมีท้ังสีและตัวทําละลาย การสูดไอหมึกท่ีไดรับความรอนเขาไปยอมเกิดอันตราย เพราะองคประกอบของหมึกพิมพโดยเฉพาะตัวทําละลาย เปนสารคารซิโนเจนหรือสารกอมะเร็ง ฝุนควันท่ีเกิดจากการเผาไหมก็มีองคประกอบของโลหะ ซึ่งจะเปนอันตรายเมื่อเขาไปในปอดไดเชนกัน

• หมึกพิมพของเคร่ืองถายเอกสารระบบแหงจะปลอยสารเคมีชนิดหนึ่งท่ีไมมีกลิ่น เปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ทําใหผิวหนังระคายเคือง รางกายออนเพลีย และเหนื่อยงาย หากสูดดมเขาไปมากๆ ไอของสารเคมีท่ีเกิดจากการเผาไหมในกระบวนการทํางานของระบบถายเอกสารยังมเีขมาอนุภาค เล็กๆ และกลิ่นท่ีไมพึงปรารถนาดวย แสงอัลตราไวโอเลตในเครื่องถายเอกสารตองระวังเชนกัน

หมึกถั่วเหลือง

• หมึกพิมพท่ีใชในอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑมีสวนผสมหลักคือผงหมึกและตัวทําละลาย ผงหมึกมีสองประเภท คือ ผงหมึกเคมีจากปโตรเลียมและผงหมึกจากหินสีในธรรมชาต ิปโตรเลียมเปนท่ีมาของสาร VOCs (Volatile Organic Compounds) ท่ีกอมะเร็งไดเชนเดียวกับเขมารถยนต

• งานวิจัยพบวาน้ํามันถั่วเหลืองใชแทนปโตรเลียมได หมึกถั่วเหลืองจะใหสีสวางสดใส ไมมีกลิ่นฉุน ราคาถูก ยอยสลายไดตามธรรมชาติ ไมมีสารโลหะหนัก ทําความสะอาดแทนพิมพไดงาย ไมเปลืองกระดาษ แตขอเสียก็คือไมคงทนตอการขัดถู สีจะหลุดรอนไดงายกวา

• สหรัฐฯ เปนผูนําในการใชน้ํามันถั่วเหลืองผสมผงหินสีธรรมชาติ (soy ink) ชวยใหหนังสือพิมพไมมีกลิ่นหมึกและไมมีหมึกติดมือเวลาสัมผัส แตงานพิมพมีคุณภาพดี ประเทศไทยก็เร่ิมใชหมึกถั่วเหลืองมากขึ้น

Page 3: 210 printing-otherstuff

2. สีและการพิมพสอดสี ประเภทของสี

• เเบงประเภทตามเนื้อสี ได 2 ประเภท 1. Achromatic คือสีเปนกลาง เมื่อนําไปผสมสีแท เกิดน้ําหนักออนเขม ไดแก สีขาว สีดํา (ซึ่งบางตํารา

ไมถือเปนสี แตเปน shade ซึ่งเมื่อนําไปผสมกับสี จะเกิดความออนเขมท่ีเรียกวา tint 2. Chromatic คือสีท่ีเปนสีแท ไดแก สีท่ัวไป เขียว แดง เหลือง

• แบงประเภทตามกําเนิดของสี ได 2 ประเภท 1. แมสีวัตถุธาตุ (Pigmentary) ไดแกหมายถึง สีท่ีเกิดจากการผสมกันดวยเนื้อของสีโดยการระบายลง

บนวัสดุรองรับสี เชน กระดาษ ผา ไม ฯลฯ เชน สีน้ํา สีน้ํามัน สีในระบบนี้จะเกี่ยวของกับการผลิตกราฟก รวมถึงระบบการพิมพ

2. แมสีแสงอาทิตย (Spectrum) เปนแมสีท่ีเกิดจากการหักแหของแสง มี 3 สี คือ แดง เขียว น้ําเงิน รวมกันจะไดแสงสีขาว (เปนระบบการผสมสีแบบบวก)

ทฤษฎีสี

• สีเกิดจากแสงสวาง แสงเปนพลังงานรูปหนึ่งของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งเมื่อชวงคลื่นนี้อยูในระยะ 400-700 มิลิไมครอน เราจะมองเห็นเปนแสงและสีตางๆได

• วัตถุตางๆมีคุณสมบัติรับคลื่นแมเหล็กบางอันไวและสะทอนบางอันออกมา เราจึงเห็นสีตางๆ เชน

ใบไมสีเขียวเพราะใบไมดูดสีอื่นไวหมด สะทอนแตสีเขียวออกมา เราเห็นใบไมสีเขียวไดเมื่อมีแสงสวาง ถาไมมีแสง ทุกอยางจะเปนสีดํา

• แสงแดดสีขาวเมื่อผานแทงแกวสามเหลี่ยมปริซึม จะแยกสีเปนสีรุง

ระบบการผสมสีแบบบวก additive color mixture • แสงสีขาวมีสเปกตรัมซึ่งแยกดวยปริซึหักเหแสง ออกมาเปนแมสี 3 สี คือ แดง เขียว น้ําเงิน (red,

green, blue: RGB) เมื่อนําแมสีท้ังสามมาผสมกันจะไดสีขาว ระบบการผสมสีแบบลบ

• กลุมสีท่ีเกิดจากการผสมของแมสีบวก และสามารถหักลางแมสีบวกคูตรงขามใหแสดงผลเปนสีกลางไดเรียกวา “สีเชิงลบ” หรือ “แมสีลบ” (Subtractive Primary Colors)

เมื่อแยก R ออก Green + Blue = Cyan (C) เมื่อแยก G ออก Red + Blue = Magenta (M) เมื่อแยก B ออก Red + Green = Yellow (Y)

• ระบบสีแบบลบไดสีจากการลบสีตางๆ ออก ในระบบนี้ การไมปรากฏของทุกสีจะกลายเปนสีขาว แตถาทุกสีปรากฏ จะเปนสีดํา ระบบนี้ทํางานกับแสงสะทอน เชน แสงสะทอนจากกระดาษ เร่ิมจากกระดาษสีขาว เมื่อเพ่ิมสีลงไป แสงจะถูกดูดกลืนมากขึ้น และแสงจํานวนนอยท่ีเหลือก็จะสะทอนไป ทําใหเราเห็นเฉพาะแสงท่ีเหลือ บางคร้ังเราเรียกระบบนี้วา CMY เปนระบบสีท่ีตรงขามกับ RGB เมื่อสีเหลานั้นรวมกันจะกลายเปนสีดํา แตในทางปฏิบัติของระบบการพิมพ ยากท่ีจะรวมสีท้ัง 3 ใหกลายเปนสีดําได (จะไดสีน้ําตาลเขม) เพ่ือแกปญหาในการใชงานจึงมักนําสีดําเขามาใชอีกหนึ่งสีเสมอ ทําใหกระบวนการพิมพสีจึงไดช่ือวาการพิมพส่ีสี CMYK ซึ่งยอมาจากสีท้ัง 4

Page 4: 210 printing-otherstuff

การผสมสีทีละสีจนไดสีท่ีตองการมีสองระบบ 1 ระบบการผสมสีแบบบวก additive color mixture เรียกอีกอยางวาระบบสีแสง (สีธรรมชาติ ไดแก มวง

คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง รวมกันไดสีขาว แสงแดด) • วงจรสีธรรมชาติ หมายถึงการนําแมสีของนักเคมีซึ่งสนใจในแงของการผสมใหเกิดสีใหม

กําหนดแมสีไว 3 สี คือ เหลือง แดง น้ําเงิน • สีตัวตั้ง primary colors หรือแมสี เหลือง แดง น้ําเงิน • สีขั้นท่ีสอง secondary colors เกิดจากสีขั้นท่ี 1 ผสมกับสีขั้นท่ี 1

เหลือง + แดง = สม เหลือง + น้ําเงิน = เขียว แดง + น้ําเงิน = มวง

• สีขั้นท่ีสาม เกิดจากสีขั้นท่ี 2 ผสมกับสีขั้นท่ี 1 สม + เหลือง = สมเหลือง สม + แดง = สมแดง เขียว + เหลือง = เขียวเหลือง เขียว + น้ําเงิน = เขียวน้ําเงิน มวง + แดง = มวงแดง มวง + น้ําเงิน = มวงน้ําเงิน

• สีคูกัน หรือคูสีธรรมชาต ิcomplementary colors หมายถึงสีคูตรงขามกันในวงสี

ธรรมชาติ ถานํามาวางเคียงกันจะใหความสดใส ใหพลังความจัดของสีแกซึ่งกันและกัน ทําใหเกิดความตัดกันหรือความขัดแยง บางคร้ังเรียกวาเปนสีตัดกันอยางแทจริง true contrast ถานํามาผสมกันจะไดสีกลาง แตถานําไปเจือผสมในคูสีจะทําใหเกิดความหมน

• สีท่ีอยูขางเคียงกันในวงสีธรรมชาต ิanalogous colors ใหความกลมกลืนกัน ยิ่งอยูหางกันมาก ความกลมกลืนก็จะยิ่งนอยลง ความขัดแยงหรือความตัดกันจะเพ่ิมขึ้น การตัดกันในลักษณะนี้เรียกวาการตัดพรอมกัน simultaneous contrast และเมื่อสีท้ังสองขยับหางกันไปจนถึงจุดตรงขาม ก็จะกลายเปนคูสีตัดกันอยางแทจริง

• neutrals ในทางเทคนิคไมถือวาเปนสี ไดแก ดํา เทา ขาว ถือวาเปน shade ซึ่งเมื่อนําไปผสมกับสี จะทําใหเกิด shade หรือ tint

การพิมพสอดสี

• คือการพิมพงานสื่อสิ่งพิมพท่ีมีมากกวาหนึ่งสี หรือเรียกกันติดปากวาพิมพสี่สี ชางพิมพจะตองทําแมพิมพสี่แผน สําหรับแมสีตางๆ เพ่ือท่ีเมื่อพิมพหมึกท้ังสี่สีซอนทับกันตามลําดับแลวจะเกิดภาพสีสวยงาม ซึ่งจะใชระบบการผสมสีแบบลบ subtractive color mixture cyan + yellow = เขียว cyan + magenta = น้ําเงิน yellow + magenta = แดง yellow + cyan + magenta = ดํา

Page 5: 210 printing-otherstuff

สีกับงานพิมพ • ปกติ การพิมพหนังสือจะใชหมึกดําบนพ้ืนขาว เพราะอานงายท่ีสุดในราคาประหยัดท่ีสุด แตในบาง

กรณี ผูทําหนังสือก็ตองการสรางความสวยงามดึงดูดใจใหผูอานดวยการเติมสีในสิ่งพิมพ • การวางตัวอักษรสีบนพ้ืนสี อาจทําใหตัวอักษรดูใหญหรือเล็กลงกวาความจริงไดเนื่องจากคุณสมบัติในการ

สงเสริมหรือลดทอนการเจิดจาของสี แตในการพิมพจริง ตองคํานึงถึงคุณภาพการพิมพประกอบดวย โดยเฉพาะการพิมพสี่สี ซึ่งอาจะเกิดการเหลื่อมของเม็ดสี ทําใหอานยาก สวนใหญแลวถาเปนตัวอักษรขนาดเล็กจึงมักนิยมพิมพดวยสีดําสีเดียวเพ่ือลดความเสี่ยง หรืออยางนอยก็ควรเลือกแบบอักษรท่ีมีลักษณะเสนหนา หรือใชตัวหนา (bold) เพ่ือใหอานงายยิ่งขึ้น สีดําบนพ้ืนขาวอาจอานงายและคุนเคยท่ีสุด แตคูสีท่ีเหมาะกับการอานท่ีสุดคือ (1) สีดําบนพ้ืนเหลือง (2) สีเหลืองบนพ้ืนดํา (3) สีเขียวบนพ้ืนขาว (4) สีแดงบนพ้ืนขาว (5) สีดําบนพ้ืนขาว (6) สีขาวบนพ้ืนน้ําเงิน เปนตน

• การพิมพสีในทางการพิมพหมายถึงการพิมพสีอื่นๆในส่ิงพิมพ ซึ่งมีคาใชจายสูงเพราะย่ิงหลายสีก็ตองใชแมพิมพมากขึ้นตามลําดับ การพิมพสีอาจเปนสองสี สามสี หรือหลายสี แตละสีจะตองมีแมพิมพหนึ่งอันและตองพิมพสีละครั้งเสมอ เชน ภาพสองสีตามปกติจะมีแมพิมพสีสองอัน และตองพิมพสองคร้ัง สีละคร้ัง โดยภาพสีนี้จะเปนภาพลายเสนหรือภาพสกรีนหรือภาพผสมก็ได การพิมพสีดําถือวาไมมีสี

• สีท่ีใชในการพิมพมี 3 ลักษณะ o สีพ้ืนตาย หมายถึงสีท่ีพิมพออกมา 1 คร้ัง นับเปน 1 สี เชน สีดํา สีแดง o สีธรรมชาต ิ4 สี ประกอบดวยแมสีฟา ชมพู เหลือง และสีดํา o สีดูโอโทน (Duotone) หมายถึงการพิมพสีท่ีมีความเขมตัดกัน 2 สี (มักเปนสีดําคูกับน้ําเงิน เหลือง

น้ําตาล และแดง) แยกดวยฟลม 2 ชุด เพ่ือใหภาพมีน้ําหนักนาสนใจมากขึ้น การแปลงระบบสี

• คอมพิวเตอรใชระบบแสงสี (RGB) แตระบบการพิมพใชระบบ CMYK บางคร้ังระบบ RGB ก็ทําใหสีในจอคอมพิวเตอรเพ้ียนจากภาพท่ีสั่งพิมพ การแปลงจากระบบ RGB เปนระบบ CMYK ควรระวังสีเปลี่ยน ใหระลึกเสมอวา RGB มีตนกําเนิดจากการเปลงแสง แต CMYK ตนกําเนิดมาจากการสะทอนแสง ซึ่งธรรมชาติการกําเนิดแสงตางกัน แตโดยสวนใหญ ระบบคอมพิวเตอรกอนพิมพจะทําหนาท่ีแปลงไฟล RGB เปนไฟล CMYK สําหรับการพิมพตามท่ีเราตองการให

Page 6: 210 printing-otherstuff

การแยกสี • หมายถึงการนําขอมูลจากตนฉบับภาพสีไปสรางเภาพสกรีนบนฟลม 4 ชิ้น เพ่ือนําไปทําแมพิมพ 4 แผน

สําหรับนําไปพิมพดวยหมึกสีตางๆในระบบ CMYK ลงบนพ้ืนขาว เพ่ือใหภาพจากแมพิมพแตละสีซอนทับและไดภาพสีเหมือนตนฉบับ

• การแยกสีตองใชอุปกรณหลายอยาง เชน สแกนเนอร (ท้ังแบบทรงกระบอกหรือแทนราบ) คอมพิวเตอร ซอฟตแวรสําหรับแยกสี เคร่ืองพิมพปรูฟสี และอิมเมจเซตเตอร (หรือเพลตเซตเตอร)

• หลังจากแยกสีแลว ตองถายสกรีนองศาของแตละสีใหแตกตางกันเพ่ือไมใหเม็ดสกรีนแตละสีทับกัน • องศาของเม็ดสกรีน คือมุมของเสนสกรีน สําหรับระบบการ

พิมพออฟเซต การตั้งมุมของเม็ดสกรีนใหมีองศาตางกันจะชวยใหจุดสีท่ีเกิดจากเม็ดสกรีนท้ังสี่ผสมกลมกลืนจนดูเปนเนื้อเดียวและลดการเกิดลายเส่ือใหมากท่ีสุด

• มุมหรือองศาท่ีใชกันท่ัวไปคือ C105, M75, Y90, K45 แตเนื่องจากมุม 105 เทากับ 15 เพราะเม็ดสกรีนเปนสี่เหลี่ยม มุม 90 ก็เทากับ 0 ฉะนั้น มุมหรือองศาของเม็ดสกรีนเหลานี้ จึงเรียกอีกอยางไดวา C15, M75, Y0, K45

• ลายเส่ือคือขอบกพรองท่ีพบในการประกอบภาพดิจิทัลหรือ ภาพกราฟก เมื่อองคประกอบในภาพทับซอนกันไมสนิท ในการพิมพออฟเซตสี่สีซึ่งประกอบดวยการซอนภาพฮาลฟโทน (เม็ดสกรีน) ของแมสีท้ังสี่ จึงมีโอกาสท่ีเม็ดสกรีนจะ ไมทับกันสนิท การตั้งองศาเม็ดสกรีนและปรับความถี่ของ ฮาลฟโทนอาจชวยลดการเกิดลายเสื่อได

การเซฟไฟลและความละเอียดของภาพ

• งานพิมพเก็บไดหลายรูปแบบ แตโรงพิมพสวนใหญรับงานพิมพจากโปรแกรม Adobe เชน Illustrator, InDesign, PhotoShop, Acrobat PDF

• ภาพสําหรับงานพิมพควรมีความละเอียดสูง ดูจากจุดสีซึ่งมีหนวยเปน dpi (dots per inch) ตัวเลขยิ่งสูง ความละเอียดและคุณภาพก็ยิ่งสูง ภาพจึงควรมีความละเอียดอยางนอย 266 หรือ 300 dpi ขึ้นอยูกับกระดาษและขนาดภาพ ตามปกติควรใชภาพขนาดเทาจริง หรือใหญกวาจริง ไมควรขยายภาพ

• ถาภาพท่ีใชมีความละเอียดต่ํา ภาพอาจไมชัดหรือขอบแตก ภาพท่ีดูชัดบนหนาจออาจพิมพออกมาไมไดคุณภาพ เพราะจอ (และตา) รับภาพความคมชัดท่ี 72 dpi แตงานพิมพตองการความละเอียดสูงกวานั้น

การเก็บภาพในระบบคอมพิวเตอรมี 2 รูปแบบ

• บิตแมป (Bitmap)ประกอบดวยจุดสีขนาดเล็กหรือพิกเซล (pixel) ท่ีมีจํานวนคงท่ีตายตัว (Resolution Dependent) ใหภาพสีท่ีละเอียดสวยงาม แตไมสามารถขยายไดมากนักเพราะเกรนของภาพจะแตกเปน Pixelated ความละเอียดของภาพสงผลตอขนาดภาพ ถาเพ่ิมความละเอียดมากๆ ไฟลจะมีขนาดใหญ เปลืองหนวยความจํา เหมาะสําหรับภาพท่ีตองการระบายสี สรางสี หรือกําหนดสีท่ีตองละเอียด สวยงาม ไฟลภาพประเภทนี้ ไดแก .BMP, .PCX,.TIF, .GIF, .JPG, MSP, .PCD, .PCT เปนตน และโปรแกรมสรางภาพไดแกโปรแกรมระบายภาพ เชน Paintbrush, Photoshop,Photostyler เปนตน

Page 7: 210 printing-otherstuff

• ภาพแบบเวกเตอร (Vector) หรือ Object-Oriented Graphics สรางจากคอมพิวเตอรท่ีทําใหแตละสวนเปนอิสระตอกัน (Resolution-Independent) โดยแยกชิ้นสวนของภาพท้ังหมดออกเปนเสนตรง รูปทรง หรือสวนโคง ซึ่งอางอิงตามความสัมพันธทางคณิตศาสตรหรือการคํานวณโดยมีทิศทางการลากเสนไปในแนวตางๆ จึงเรียกวา Vector graphic หรือ Object-Oriented ขอดีคือเปลี่ยนขนาดไดโดยไมลดความละเอียดของภาพ สามารถเปลี่ยนแปลงได มีขนาดไฟลเล็กกวา สรางจากโปรแกรมการวาด เชน Illustrator, CoralDraw ตัวอยางไฟล eps, wmf, cdr, ai, cgm, drw, plt

วัตถุประสงคในการใชสี

• เรียกความสนใจจากผูอาน สีดึงดูดความสนใจไดมากกวา นานกวา และดีกวาการพิมพขาวดํา • ใหภาพเหมือนจริงและสมจริงกวาภาพขาวดํา เพราะสิ่งแวดลอมรอบตัวเรามีสี การพิมพสีธรรมชาติจึง

สรางภาพท่ีเหมือนบริบทแวดลอมไดมากกวา สินคาบางชนิดมีสีเปนสาระสําคัญ จึงตองพิมพดวยส ี• สรางความเขาใจและการจดจําได ทําใหคนเขาใจชัดเจนกวา และเมื่อเขาใจ ก็จะจดจําไดนานกวาไปดวย • กอความประทับใจและสรางภาพลักษณท่ีดี ดูสวยงามนาจับตอง

การใชสี

• ความกลมกลืนของสี (Harmony) มีหลายอยาง เชน 1. การกลมกลืนกันของสีท่ีอยูใกลเคียงกันในวงจรสี (Adjacent) 2. การกลมกลืนกันของสีเพียงสีเดียว แตมีหลายน้ําหนัก (Monochrome) 3. สีท่ีอยูตรงขามกันในวงจรสี (Contrast) การใชสีตัดกันตองใชไมมากเกินไป การใชสีตรงขามใน

ปริมาณเทากันตองลดความเขมของสีใดสีหนึ่งลง โดยวิธีลดคาความเขมของสี (Brake) เชน ผสมสีตรงขามเล็กนอย ผสมดํา และการไลน้ําหนักของสี

• การใชระยะใกล-ไกล ของท่ีอยูใกลจะมีขนาดใหญกวาของท่ีอยูไกล สีและน้ําหนักจะชัดเจนกวากัน • การใชคาของสี (Value) การทําใหสิ่งของดูเปนมวล (Mass) ตองใสแสงเงาใหถูกตอง ดังนี ้

– ดานท่ีถูกแสงมากๆ จะเห็นสีสด ดานท่ีไมถูกแสงจะเห็นเปนสีเขม – ดานโคงจะมีลักษณะผสมน้ําหนักออนไปแก – วัตถุ 2 ชิ้นจะมีสีเดียวกันเมื่ออยูในระยะเดียวกัน และถาระยะหางกัน วัตถุท่ีอยูไกลจะมีสีจางลง

• balance สมดุล หรือ contrast ความขัดกันของสี จะเกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับสีอื่น สีสมดุลยึดความสนใจไดนาน ดูแลวไมเบื่อ สีตรงขามดึงดูดใจในระยะสั้น แตยึดความสนใจไดไมนาน เดี๋ยวก็เบื่อ ใชเรียกความสนใจชวงแรกเทานั้น ตองใชควบคูกันท้ังสีสมดุลและสีขัดกันเพ่ือสรางความสนใจและความตรึงใจ

• น้ําหนัก (Tone) ในท่ีนี้หมายถึงความออน กลาง และแก ในภาพ • ภาพท่ีนาประทับใจหรือภาพท่ีดีควรมีน้ําหนักจากเขมสุด (มืด) ไปจนออนสุด(สวาง) ภาพท่ีดีควรมี

น้ําหนัก ขาว–เทาออน เทาแก–ดํา จึงทําใหภาพเกิดมิติสี (Color) การตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ

• และเม็ดสกรีน ถาสีไมสม่ําเสมอ ภาพจะเลอะ ไมนุมนวล ไมสะอาดตา ใชแวนขยายสองดูจะเห็นได • ความเหมาะสมของกระดาษพิมพ • ความคลาดเคลื่อนของการพิมพหลายสี ซึ่งอาจทําใหภาพมัว ไมคมชัด • ความสะอาดของงานพิมพ รอยเลอะจากหมึกและน้ําไมสมดุล (สกัม) ขี้หมึกอุดตันทําใหภาพไมเต็ม

รอยขูดขีดแบบขนแมวจากหมึกท่ีแหงไมสนิท หรือรอยท่ีภาพสไลด หรือรอยท่ีเพลต • ในกรณีท่ีภาพประกอบเปนภาพถายหรือฟลมสไลด ตองคุมใหการถายเพลตแยกสีจากฟลมทําไดถูกตอง

และควบคุมน้ําหนักของสีหรือปริมาณสีท่ีจะพิมพในแตละเพลตใหด ี

Page 8: 210 printing-otherstuff

3. กระดาษกับการใชงาน • กระดาษเปนวัสดุแบนราบเปนแผนบางๆ มีสองมิติ เปนสิ่งสําคัญในกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ เปนสิ่งท่ี

รองรับสีหรือหมึกพิมพใหปรากฏเปนภาพหรือขอความตามแมพิมพ เยื่อกระดาษทําจากเสนใยพืช แมวาการพิมพจะพัฒนาไปไกลจนพิมพลงบนวัสดุอื่นๆได แตกระดาษก็ยังไดรับความนิยม

• ชาวจีนใชไมไผมาเหลาใหมีขนาดเทากัน นํามาเรียงตอกัน เชื่อมดวยตอกหรือหวายเพ่ือจดบันทึกขอความตางๆ ชาวซุเมเรียนใชดินเหนียวมาปรับเปนแผนแบน บันทึกอักษรลิ่ม ชาวยุโรปใชหนังสัตว (คัมภีรไบเบิลเกาแกท่ีสุดจารึกบนหนังวัวแดงสมัยกอธิก) ชาวอียิปตใชตนกกชนิดหนึ่งชื่อปาไปรัส (Papyrus) เปนวัสดุรองเขียน เชื่อกันวาเปนท่ีมาของคําวา เปเปอร

• สมัยสุโขทัยใชวิธีจารขอความบนแผนหิน ซึ่งก็คือศิลาจารึก ตอมาจึงไดจารึกคาถาและพระธรรมบนใบลาน หนังสือใบลานเกาแกท่ีสุด ไตรภูมิพระรวง

• สมัยอยุธยา มีการทํากระดาษสา (ทําจากใยของเปลือกสา) และกระดาษขอย ทําใหมีกระดาษใช พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ เขียนบนกระดาษขอย (ปจจุบันเก็บรักษาไวท่ีหอสมุดแหงชาติ)

• กระดาษสันนิษฐานมาจากคําวา Cartas (ภาษาโปรตุเกส) ซึ่งเขามาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา • ท้ังกระดาษขอยและกระดาษสา ซึ่งทําดวยมือ มีปริมาณไมเพียงพอ ตองนําเขากระดาษและหาทางศึกษา

เพ่ือผลิตกระดาษใชในประเทศ การผลิตกระดาษระบบโรงงานเร่ิมขึ้นเมื่อป 2460 ตอมาในป 2466 จึงตั้งโรงงานผลิตกระดาษชื่อโรงงานกระดาษไทย หรือโรงงานกระดาษสามเสน

รายละเอียดเกี่ยวกับกระดาษ

• น้ําหนักกระดาษ substance เรียกไดหลายแบบ เชน เรียกเปนกรัม (น้ําหนักกระดาษท่ีมีขนาด กวาง 1 เมตร ยาว 1 เมตร หรือมีเนื้อท่ี 1 ตร.ม. เรียกเปนรีม (กระดาษมาตรฐาน 500 แผน) เรียกเปนยก (กระดาษ 16 หนาเทากับ 1 ยก) หรือเรียกเปนตันเมื่อซื้อขายเยอะๆ

• ขนาด size กระดาษมวนเรียกตามหนากวางของมวนและเสนผานศูนยกลางของมวน (ฟุต, นิ้ว หรือเมตร) กระดาษแผนนับขนาดเปนนิ้ว/ฟุต

o อื่นๆ เชน ส ีการตบแตงสําเร็จรูป เชน เคลือบผิว ขัดมัน ลายน้ํา และรายละเอียดทางเทคนิค การจําแนกชนิดกระดาษ

• แบงตามลักษณะผิวกระดาษ เชน – ไมเคลือบผิว uncoated paper – เคลือบดาน matte coated paper – เคลือบเรียบดาน dull coated paper – เคลือบมันวาว glossy coated paper

• แบงตามน้ําหนักมาตรฐาน – กระดาษพิมพไบเบิล 26-35 กรัมตอตร.ม. – กระดาษพิมพน้ําหนักเบา 35-60 กรัมตอตร.ม. – กระดาษพิมพท่ัวไป 60-90 กรัมตอตร.ม. – กระดาษแข็ง 220 กรัมตอตร.ม.

กระดาษท่ีใชในงานพิมพ

กระดาษท่ีใชในงานพิมพมีท้ังเปนแผนและเปนมวน และมีหลายประเภท ดังนี ้• กระดาษหนังสือพิมพ newsprint หรือกระดาษปรูฟ มีราคาถูกเพราะตนทุนต่ํา เปนกระดาษท่ีมีสารเคมี

ผสมนอยท่ีสุด สีคล้ํา หยาบ ไมเหนียว เปลี่ยนสีเร็ว เก็บไวนานๆจะกรอบแตกและเปนสีเหลือง ไมเหมาะกับงานพิมพสอดสีคุณภาพสูง กระดาษหนังสือพิมพมาเปนมวน ชั่งเปนน้ําหนัก มี 3 ชนิด ปรูฟเหลือง (หนังสือพิมพรายวัน สําเนาใบเสร็จ แผนปลิว) ปรูฟขาว (สิ่งพิมพท่ัวไป) ปรูฟมัน (หนังสือท่ัวไป)

Page 9: 210 printing-otherstuff

• กระดาษปอนด fine paper, wood free paper สวนใหญทําจากเยื่อเคมีฟอกขาว โดยในไทยทําจากเยื่อฟางขาว ชานออย และไมไผเปนหลัก มีคุณสมบัติตางไปตามการใชงาน กระดาษพิมพและกระดาษเขียนจะมีน้ําหนัก 50, 60, 70, 80, 100 กรัมตอตร.ม. นิยมใชพิมพหนังสือท่ัวไป ราคาสูงกวากระดาษปรูฟ

• กระดาษวาดเขียน drawing paper กระดาษปอนดขาวท่ีมีเนื้อกระดาษคอนขางหนา สําหรับเขียนภาพและระบายสี อาจใชทําปกหนังสือบางอยาง

• กระดาษพิมพไบเบิล bible printing paper หรือกระดาษอินเดีย india paper เปนกระดาษพิมพพิเศษชนิดบาง สําหรับพิมพหนังสือท่ีมีขอความมากและตองการใหมีน้ําหนักนอย เชน พระคัมภีร พจนานุกรม

• กระดาษบอนด bond paper กระดาษคุณภาพสูง ทําจากเยื่อผาขี้ร้ิวหรือผสมเยื่อเคมีประเภทซัลไฟต ฟอกขาวพิเศษ ใชพิมพงานมีคา เชน ธนบัตร ประกาศนียบัตร

• กระดาษอารต art paper หรือกระดาษเคลือบผิว มีสีขาว เรียบ เนื้อแนนเปนมัน เหมาะกับการพิมพส ี • กระดาษการดหรือกระดาษปก cover paper ผิวละเอียด เรียบ เหมาะกับงานท่ีตองการความแข็งแรง

ทนทาน นํามาทําการด ปกหนังสือ แผนพับ กลองบรรจุภัณฑ เปนตน น้ําหนักเกิน 100/150/180/210/ 240/270 กรัมตอตารางเมตร กระดาษการดท่ีขัดผิวใหเรียบและมันเรียกวาการดอารต ปก น้ําหนักกระดาษ 200 กรัมขึ้นไป (250-260 กรัม) เนื้อใน ถาพิมพสองหนาไมควรบางกวา 60 กรัม

• กระดาษแข็ง hard paper เปนกระดาษทําปกแข็ง เวลาใชงานตองมีกระดาษอื่นมาหุม นิยมความหนาเปนเบอร 10/16/20/22/24/32 (220 กรัมขึ้นไป) ยิ่งตัวเลขมาก ความหนายิ่งมากขึ้นตามลําดับ

• กระดาษกรีนรีด green paper/recycle paper เปนการนําเยื่อกระดาษมารีไซเคิลใหม แตราคายังแพง • กระดาษเหนียวหรือกระดาษสีน้ําตาลหอของ kraft paper มีเนื้อเหนียว ทํากลอง ถุงใสสินคา • กระดาษแอรเมล หรือกระดาษแมนิโฟลด manifold paper เปนกระดาษบาง เหนียว น้ําหนัก

28/30/35/40 กรัมตอตารางเมตร พิมพใบเสร็จ กระดาษเขียนจดหมาย • กระดาษเคมี หรือกระดาษไรคารบอน carbonless ใชเคมีเปนสวนผสม เมื่อเขียนหรือถูกแรงกดจะ

ถายทอดรูปแบบสูสําเนา มีความหนาคงท่ี ระหวาง 50-55 กรัมตอตารางเมตร • กระดาษพิเศษอื่นๆ ไมนิยมผลิตท่ัวไป ตองสั่งพิเศษ เชน กระดาษกลองหนาเดียว กระดาษปรูฟสี

กระดาษปอนดสี กระดาษลายหนังชาง กระดาษลายหนังไก กระดาษแลกซีน เปนตน ปจจัยในการเลือกกระดาษและขนาดกระดาษ

• วัตถุประสงคของส่ิงพิมพ (เพ่ือการอาน/โชว/โฆษณา ตองสอดคลองกับปริมาณเนื้อหาและกลุมผูอาน) • ความประหยัด (พิจารณาจากราคากระดาษ จํานวนพิมพ และขนาดกระดาษท่ีตัดลงพอดี ไมเหลือเศษ) • คุณสมบัติของกระดาษ (ความเหนียว ความแข็งออน ความสามารถในการดูดซับหมึก ผิวกระดาษ

ความทึบแสงของกระดาษ ความหนาของกระดาษ สีของกระดาษ เปนตน) เชน การพิมพสีควรใชกระดาษท่ีมีความทึบสูง โดยเฉพาะการพิมพ 3 สีขึ้นไป

• ขนาดของเครื่องพิมพท่ีใชพิมพสงผลตอขนาดกระดาษโดยปริยาย ขนาดกระดาษ

• ระบบกระดาษมาตรฐาน หรือระบบไอเอสโอ (ISO : International Standard Organization) มีการแบงขนาดกระดาษมาตรฐานออกเปน 3 ชุด คือ ชุด A ชุด B และชุด C เปนระบบกระดาษมาตรฐานสากลจัดขึ้นเพ่ือความสะดวกและความเปนระบบ เร่ิมประกาศนํามาใชในภาคพ้ืนยุโรปเปนกลุมแรกเปนเวลานานกวา 40 ป ปจจุบันนิยมใชในเกือบทุกพ้ืนท่ีท่ัวโลก

• ระบบไอเอสโอจะกําหนดขนาดของกระดาษแผนหนึ่งใหมีขนาดท่ีตัดแบงคร่ึงแผนแลวมีรูปรางคงท่ีตลอดไป นั่นคือมีอัตราสวนของดานกวางและดานยาวสัมพันธกันเสมอ อัตราสวนท่ีไดจะเปนดังนี ้

– ถา ก = ดานกวาง และ ข = ดานยาว อัตราสวนของ ก: ข = √2: 1 = 1.414

Page 10: 210 printing-otherstuff

กระดาษกับการพิมพ • กระดาษแผนใหญท่ีนิยมใชในวงการพิมพของไทยมีอยู 3-4 ขนาด คือ

ขนาด 31" x 43” เปนกระดาษมาตรฐานแผนใหญ ซึ่งใชกันโดยท่ัวไป ขนาด 24” x 35” กระดาษมาตรฐานของ ISO (ชุด A) ขนาด 25” x 36” กระดาษหนาสําหรับทําปกหนังสือท่ีทํามาจากกระดาษขนาด 24” x 35” ขนาด 28” x 40” มาตรฐานใหมสุดสําหรับขึ้นแทนพิมพตัดสองรุนใหมๆ กระดาษมวน หนากวาง 31 นิ้ว มักเปนกระดาษปรูฟและซื้อขายกันเปนตันหรือคร่ึงตัน

• กระดาษ 31" x 43” เรียกวากระดาษขนาดตัด 1 เมื่อนําไปตัดคร่ึง เรียกขนาดตัด 2 (21.5*31 นิ้ว) เมื่อนําไปตัดอีกคร่ึง เรียกขนาดตัด 4 (21.5*15.5 นิ้ว) นิยมเรียกสิ่งพิมพท่ีมีขนาดใหญ เชน โปสเตอรขนาดตัดสอง / ขนาดตัดสี่ กระดาษตัด 4 หรือกระดาษ 1 ยกพิมพ คือกระดาษท่ีใชในการพิมพสิ่งพิมพ หากนํามา

พับ 1 คร้ัง ได 4 หนา เรียกกระดาษสี่หนายก ขนาด 14.5*22.5 นิ้ว (หนังสือพิมพ) พับ 2 คร้ัง ได 8 หนา เรียกกระดาษแปดหนายก (เอสี่) ขนาด 7.25*10.25 นิ้ว (นิตยสาร) พับ 3 คร้ัง ได 16 หนา เรียกกระดาษสิบหกหนายก พ็อกเก็ตบุก (เอหา) 5.75*8.25 นิ้ว พับ 4 คร้ัง ได 32 หนา (ขนาดเอหก) ขนาดประมาณ 3*4.5 นิ้ว

• ขนาด 24” x 35” กระดาษท่ีสอดคลองกับขนาดมาตรฐาน ISO เรียกวา กระดาษขนาดตัด 2 พิเศษ มีขนาดใหญกวาขนาดมาตรฐานตัด 2 (21.5” X 31”) เมื่อพับเปนรูปเลมจึงมีขนาดใหญกวาเล็กนอย

พับ 8 หนา เรียกขนาด 8 หนายกพิเศษ หรือ A4 = 8.5” X 11.5” พับ 16 หนา เรียกขนาด 16 หนายกพิเศษ หรือ A5 = 5.5 “ X 8.5” โปสเตอร ขนาด 24"x 35" และ 17" x 24“ แผนปลิว ขนาด A4 (210 มิลลิเมตร x 297 มิลลิเมตร)

การพิมพเปนยกหรือกนก ในการพิมพหนังสือจํานวนมาก จะไมพิมพทีละหนาเพราะเสียเวลาและคาใชจาย จึงมักพิมพมากกวาหนึ่งหนาโดยอาจเปน 2, 4, 6, 8 และ 16 หนาเปนตนไป และจะพิมพดานละกี่หนาก็ขึ้นอยูกับขนาดหนังสือและขนาดของแทนพิมพ เมื่อพิมพครบสองหนาแลว จึงนํามาพับใหไดรูปเลมตามตองการ แผนท่ีพิมพครบสองหนาแลวพับนี้เรียกวา “ยก” หรือ Signature

• กระดาษ 8 หนายก คือกระดาษท่ีเขาเคร่ืองพิมพดานละสี่หนา 2 ดาน เทากับแปดหนา เมื่อนํามาพับตั้งฉากกันสองคร้ังก็จะได 8 หนา ความหมายของ “ยก” ก็คือจํานวนหนาหนังสือท่ีพิมพไดบนกระดาษแผนใหญ 1 แผนรวมกันท้ังสองหนา

การทําเลมหนังสือ

เมื่อพิมพเสร็จแลว กระดาษทุกยกจะตองนํามาทําเลม โดยพับยก เก็บเลม เย็บเลม เขาปก และตัดเจียน กระบวนการเหลานี้สามารถทําไดดวยมือ แตระบบอุตสาหกรรมท่ีผลิตปริมาณมากในเวลาอันรวดเร็วทําใหเกิดการคิดคนเคร่ืองจักรชวยในกระบวนการเหลานี้ขึ้นหลายชนิด

การพับ หนังสือใชกระดาษขนาดใหญพิมพท้ังแผน โดยพิมพทีละหลายๆหนา การพิมพจึงตองมีการกําหนดและวางแผนไวกอนแลววาเมื่อพิมพเสร็จจะพับอยางไร พับกี่คร้ัง จึงจะไดการเรียงหนาตามลําดับท่ีถูกตองตามขนาดกระดาษท่ีตองการ การวางหนาใหถูกตองจึงมีความสําคัญในการพิมพ นอกจากการเรียงลําดับหนาแลว ยังตองดูใหการพับไดฉากตรงกันดวย • การพับ อาจพับดวยมือหรือดวยเคร่ือง การพับดวยเคร่ืองมีสองแบบ

พับดวยลูกกลิ้ง roller folding พับดวยใบมีด knife folding

Page 11: 210 printing-otherstuff

การเก็บเลม gathering หนังสือท่ีไดมาท้ังหมดจะตองนํามาเก็บเรียงลําดับใหเปนเลมตามลําดับของหนาหนังสือ ขั้นตอนนี้จะใชคนหรือเคร่ืองก็ได เคร่ืองเก็บเลมมีสองลักษณะ คือสําหรับหนังสือเย็บอกท่ีมีรูปเลมบาง กับหนังสือเย็บสันซึ่งมีความหนามาก ใชในโรงพิมพขนาดใหญท่ีผลิตหนังสือปริมาณสูงๆ

การเขาเลม (binding) แบงเปนการเขาเลมแบบปกออนและการเขาเลมแบบปกแข็ง โดยปกออนจะใชกระดาษท่ีมีน้ําหนักมากกวาเนื้อในราวสองเทา การเขาเลมสวนใหญเปนการใชกับหนังสือปกออน • เย็บอก เย็บมุงหลังคา saddle stitching

เปนการเขาเลมเย็มพรอมกันท้ังปกและเนื้อในบริเวณสันกลางดวยลวดหรือเชือก ตั้งแตสองจุดขึ้นไป ระยะหางของลวดเย็บขึ้นอยูกับความสูงของลวด หรือความหนาของหนังสือ เหมาะสําหรับหนังสือความหนาไมมาก (ไมเกิน 100 หนา หรือหนาไมเกิน 1 นิ้ว) หรือถาใชกระดาษปอนด 70 กรัม ไมควรเกิน 40 หนา เพราะเย็บยากและหนังสือไมปดสนิท แตถือวางายและตนทุนต่ําท่ีสุด มีสองแบบคือแบบมาตรฐาน standard stitching กับแบบหวง loop stitching

• การเย็บแบบเกลียวลวด spiral wire binding เปนการเจาะรูแลวใสเกลียวลวดพลาสติก หรือกระดูก

งูพอหลวมๆ สามารถเปดหนังสือไดโดยไมมีอาการสันแตกหรือเปนรอย เหมาะกับสิ่งพิมพหนาๆ ท่ีไมสามารถเขาเลมแบบอื่นได เชน รายงาน สมุด แบบฝกหัด เอกสารประกอบ การอบรม เปนตน

• เย็บสัน, เย็บขาง stabbing เหมาะสําหรับหนังสือหนา 0.55-1.5 นิ้ว การเย็บสันดวยลวดหางจากสัน

ประมาณ 3-5 มิลลิเมตร เย็บเฉพาะเนื้อในดวยลวด (ลวดกลมและลวดแบน) หรือเชือก จากนั้นจึงนําปกมาหุมและผนึกกาวท่ีสันเพ่ือปดรอยลวด ใชกับหนังสือหนาๆท่ีตองการใสขอความท่ีสันปก ควรใชกับหนังสือท่ีหนาเกิน 100 หนาขึ้นไป แตไมเกิน 1 เซนติเมตร เพราะตองใชลวดขนาดใหญ ปจจุบันไมคอยนิยมเพราะสันไมเรียบ หลุดงาย เปดอาไดไมเต็มท่ี (ตองเผ่ือขอบ) มีสองแบบคือ แบบมาตรฐานและแบบเย็บสันสองดาน stab stitching สําหรับหนังสือท่ีมีความหนามากกวาลวดเย็บ โดยผูออกแบบจะตองเผ่ือขอบวางดานในใหมากขึ้น เพราะจะเสียพ้ืนท่ีไปกับการเย็บ

Page 12: 210 printing-otherstuff

ท • ไสกาว ไสสัน ทากาว เขาสัน

การเขาเลมโดยใชตะไบหรือกระดาษทรายขูดหรือเคร่ืองทําเลมกรีดสันโดยเคร่ืองจะเลื่อยใหเปนรองตัววี (v-shape) ซึ่งปรับจํานวนแฉกและความลึกของรองได แตปกติจะอยูท่ี1/4-1/2 มม. และหางกัน 6-8 มม. เพ่ือใหกาวเขาไปยึดติดกระดาษเนื้อใน แลวจึงใชปกหุมผนึกดวยกาว ถาหนังสือคอนขางหนา จะตองเร่ิมดวยการไสสันหรือใหหยาบหรือปรุสันกอน เพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีรับกาวใหมากท่ีสุด หลังจากเสร็จแลว ตองเคลื่อนยายดวยความระมัดระวัง เพราะอยูในชวงท้ิงใหกาวอยูตัวซึ่งจะสงผลตอคุณภาพหนังสือ หนังสือหนาๆบางเลม อาจใชเวลาสองวันกวากาวจะแข็งตัวสูงสุด

• เย็บกี่ หรือการรอยดวยดาย (หนังสือเลม) เย็บกี่-ไสกาว

ใชดายเย็บระหวางยกพิมพตอกันท้ังเลมหลายๆจุด (แลวแตความหนาและขนาด) จากนั้นจึงนําไปเขาปก ซึ่งเปนปกออนหรือปกแข็งก็ได วิธีนี้ดีท่ีสุด แข็งแรงท่ีสุด แพงท่ีสุด และทําไดโดยพิมพหนังสือเปนยกๆ จัดเปนกี่ (หนึ่งกี่อาจประกอบดวย 2-4 ยก เย็บเขาดวยกันดวยเชือก โดยจํานวนเข็มเย็บก็แลวแตขนาดหนังสือ หนังสือขนาด A4 อยูท่ี 4-5 เข็ม หนังสือขนาด A5 อาจเย็บแค 3-4 เข็ม ความถี่ของการเย็บอยูท่ีความแข็งแรงท่ีตองการ) นอกจากนี้ ระหวางการเย็บยังนําผาโปรงตาขายหรือผากอซบุติดกับสันยกพิมพเพ่ือใหสันหนังสือสวยงามและทนทานขึ้น แลวจึงนําแตละกี่มาเย็บรวมกันเปนเลม กอนจะทากาวปดท่ีสัน นิยมใชกับหนังสือท่ีมีหลายยกพิมพ คือ ตั้งแต 15 ยกขึ้นไป เปนตน

Page 13: 210 printing-otherstuff

การเย็บเลมปกแข็ง • แยกเนื้อในออกมาเย็บดวยการเย็บกี่หรือไสสันทากาวกอน แลวจึงนําไปเขาปกท่ีเปนกระดาษแข็งเบอรท่ี

ตองการ หุมดวยกระดาษอารตท่ีใชพิมพปกหรือผาไหม ผาแล็กซีน หรือกระดาษสี แลวนํามาเขาเลม ปกจะใหญกวาเนื้อในจากขนาดมาตรฐานประมาณ 2-5 มิลลิเมตรท้ังสามดานเพ่ือปองกันเนื้อในใหคงทน

• เมื่อเขาเลมเสร็จเรียบรอย จะตองผนึกกระดาษ end paper ปดทับปกหนา-หลังดานในกับใบรองปกใหสนิท อาจใชผาผนึกยึดดานบนและลางของเลมหนังสือหรือตอนกลางของเลมเพ่ือเปนกําลังยึดตัวเลมหนังสือกับปกใหแข็งแรง เมื่อผนึกกระดาษ end paper แลว ก็จะไดหนังสือปกแข็งตามตองการ

• วัสดุทําปกท่ีผนึกกับกระดาษแข็งอาจเปนกระดาษธรรมดาท่ีไมไดพิมพอะไรเลย หรือเปนกระดาษ หนังเทียม หนังแท พลาสติก ท่ีจัดทําพิเศษเพ่ือหุมปก เชน เคลือบสี เคลือบน้ํายาเคมี และอัดลวดลายในลักษณะดุนนูนหรือเดินทองก็ได ปกผาทนกวาปกกระดาษและแพงกวา

การตัดเจียน trimming หนังสือปกออนท่ีเก็บเลมแลวจะนํามาตัดเจียนเปนขั้นสุดทาย โดยจะตัดสามดานคือดานบน ดานลาง และดานตรงขามกับสัน เพ่ือใหขอบทุกดานเรียบเสมอกันและเปดไดทุกแผน สวนหนังสือปกแข็งตองตัดเจียนกอนนําไปเขาเลมทําปก

• เคร่ืองตัดกระดาษจะมีลักษณะคลายกีโยตีน มีใบมีดอยูดานบน เมื่อจะตัดก็นํากระดาษท้ังรีมมาวางบนแทนตัดใหตรงรอยท่ีตองการ โดยจะมีฉากกั้นสําหรับตั้งใหไดฉาก เมื่อวางตามรอยท่ีตองการแลว จะมีหัวเหล็กเลื่อนลงมากด กระดาษไมใหขยับ กอนท่ีใบมีดซึ่งมีความคมมากจะกดลงมา สามารถตัดไดทีละดาน แตไดคร้ังละหลายรอยแผน

+++