8

2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

  • Upload
    -

  • View
    113

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
Page 2: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

64

แตละมหาวิทยาลัย จะทำใหคุณภาพการประเมินดีขึ้น ทั้งนี้ เบื้องหลังที่แทจริง คือ เปนหวง ปอมท. สมัยหนึ่งที่มีการเขาพบคุณเสนาะ เทียนทอง ผมกลัววาจะทำใหบทบาทของ ปอมท. เปลี่ยนแปลงไป และอยากให ปอมท. มีบทบาทหนาที่ที่ดี เหมือนสมัยที่ผมเคยเปนประธาน ปอมท. มากอน โดย ปอมท. ชุดนั้น มีความสนใจเฉพาะในเรื่องวิชาการถือเปนบทบาทที่ถูกตอง ผลงานที่สำคัญ คือ มาตรา 36 เกี่ยวกับการใหมหาวิทยาลัยที่มีความพรอมเทานั้น ที่จะออกนอกระบบได เปนตน เรื่องมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้น ตองยกให ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เพราะเปนคนเขาใจในความรูสึกของอาจารยไดดีในเรื่องมหาวิทยาลัยจะออกนอกระบบ คาดวาในระยะเวลาไมเกิน 6 เดือน นาจะสามารถผลักดันใหมหาวิทยาลัยที่มีความพรอมออกนอกระบบได ขณะนี้ มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยทักษิณ นาเปนหวงมาก เพราะถูกระงับเรื่องออกนอกระบบไวนานพอสมควรแลว คิดวามหาวิทยาลัย 3 แหงนี้ นาจะถูกนำขึ้นมาพิจารณาเปนลำดับแรกๆ ผมคิดวารัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการคนใหมนี้ นาจะชวยผลักดันใหไดอยางมาก เพราะทานรูดีที่สุดในเรื่องนี้ และปจจุบันนี้ ก็มีสภานิติบัญญัติเพียงแหงเดียว การพิจารณาจึงไมนาจะยุงยากนัก

ในการประเมินกระทรวงศึกษาธิการสมัยรัฐบาลชุดที่ผานมา ซึ่งขณะนั้นมีคุณจาตุรนต ฉายแสง เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ อาจารยวิจิตรเขามาทำงานกับ สมศ. เปนปแรก ผมเปนปที่สอง วันหนึ่งอาจารยวิจิตรก็เอยขึ้นมาวา หากวันที่ 18 ผมเปลี่ยนสถานะจากผูประเมินเปนผูถูกประเมินบางจะเปนยังไงนะ ผมก็บอกวายิ่งดีสิ จะทำใหงายไมตองเจรจามากมาย เพราะทานอาจารยไดเห็นตรงกันและตกลงรวมกันมากอนแลว ไมวาจะเปนเรื่องกระจายอำนาจสูสถานศึกษา เรื่องสถาบันพัฒนาครูอาจารยเปนองคการมหาชน เรื่อง O-NET เปนตน สำหรับเรื่องการกระจายอำนาจนั้น ปกอนๆ เราไปเชื่อกระทรวงศึกษาธิการวาใหไปประเมินระดับแพงมากเกินไป แตสำหรับปที่ผานมาเราเห็นวาตองประเมินระดับกระทรวง รัฐมนตรีกระทรวง ซึ่งศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน และคุณจาตุรนต ฉายแสง รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการสมัยนั้น ก็เห็นดวย สำหรับการประเมินสภามหาวิทยาลัยนั้น ก.พ.ร. จะประเมินมหาวิทยาลัยปละ 1 ครั้ง สวน สมศ. จะประเมินมหาวิทยาลัย 5 ป ตอครั้ง ถาสภาคณาจารยนำวิทยายุทธจากสหวิทยาการจากหลายสาขา และมองมหาวิทยาลัยตัวเองเชิงประเมินที่ลุมลึกและมีขอเสนอที่ดี สมศ. ก็อาจจะนำมาใสเพ่ือ endorse ในรายงาน แลวก็ recommendation ใหกับมหาวิทยาลัย ขณะเดียวกัน หากมหาวิทยาลัยมีขอเสนอแนะในฐานะจากภายในที่คิดจะปรับปรุง อันนี้มันเรียกวา win and win เราก็มีเงินจำนวนหนึ่งสนับสนุนเรื่องนี้ เพราะเทาที่ดูมหาวิทยาลัยราชภัฏแลว นากลัวจะอีกยาวไกล หากเทียบกับ series ของการมองในระดับนี้ มันจะดีมากเลยในสวนตรงนี้ นี่คือความคิดเบื้องหลัง ก็ดีใจที่ทานประธาน ปอมท. มีความสนใจ และจะเปนประวัติศาสตรจากศิลปากรสูพัทยาและมาเอเชียอะไรอยางนี้ นี่จะเปนอีกหนึ่งเรื่องที่มันมีวิวัฒนาการเพิ่มเติม ผมคิดวาเบื้องหนา-หลังก็เปนแบบนั้น สวนเรื่องวิจัยจะเปนอยางไร เมื่อเห็นหนาผูชวยศาสตราจารย ดร.จุมพล พูลภัทรชีวิน ก็ยิ่งดีใจเมื่อรูวาอาจารยเปนประธานสภาคณาจารยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาจารยเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องนี้อยูดวย จะทำใหการวิจัยหรือการประเมินในเรื่องนี้

มันสมบูรณ ลุมลึก และเปนประโยชน และเปนศักดิ์ศรีของสภาคณาจารย ซึ่งสภาคณาจารยก็นาจะดูในแงของตัวเอง ดูจากสภามหาวิยาลัย ดูจากมหาวิทยาลัยโดยรวม และดูจากประเทศ ในแงของ สมศ. ก็จะเปนผูที่จะนำไปใช เรากน็าจะประเมินใหลุมลึกยิ่งขึ้นและเปนประโยชนตอมหาวิทยาลัยยิ่งขึ้น นี่คือสิ่งที่คิดวาอยากจะมาเลาใหฟง และหากมีประเด็นอะไรที่อยากรู ผมก็คิดวานาจะเปด dialogue กอนที่รัฐมนตรีฯ จะมา หากไมมีอะไรผมก็จะพูดตอ..ความจริงผมพูดไดทั้งวัน ยิ่งมาอยูตรงนี้เหมือนเปนศิราณีทางการศึกษาไปโดยปริยาย

คนเขียนจดหมายพรอมหลักฐานเขามาหาเยอะมาก ซึ่งพรอมที่จะฟองมหาวิทยาลัยไดทันที แตสุดทายได ป.ล.ไววา “ผอ.เขียนมาเพื่อใหรู และรูสึกสงสาร ผอ. กลัววาจะถูกมหาวิทยาลัยหลอก แตอยาไปเปนหลักฐานฟองนะ เพราะจะทำใหเขาเดือดรอน เพราะเขาเปนอาจารยหรือสามีเปนอาจารยอยูที่นี่” ยกตัวอยางเรื่องแรก เขาบอกวามีการหลอก สกอ. ไดสำเร็จ ดวยการเปด

หลักสูตรที่ใชหองทดลองเพียงหองเดียว แตเปลี่ยนชื่อไปเรื่อยๆ โดยคอมพิวเตอรเครื่องเดียวแตเปลี่ยนปายใหมแตละหลักสูตร เพราะฉะนั้นก็จะดูเหมือนมีหองทดลองคอมพิวเตอรในทุกหลักสูตร แตความจริงมีเพียงหองเดียว เรื่องที่สอง สมศ. กำหนดรอย

ละของอาจารยที่จะจบปริญญาเอก เขาบอกวา มีแตชื่อแตไมมีตัวตน ดังนั้น ผมจึงตองคิดหัวแทบแตก พอดีอาจารยที่คณะศิลปกรรมศาสตร เขาดูดวงผมตอนที่ผมเปนรองอธิการบดีวา ผมจะเปนรองอธิการบดีไมครบเทอม จะไปรับตำแหนงใหม ซึ่งจะ

Page 3: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

65

สรางชื่อเสียงใหมากแตตองใชไหวพริบในการทำงานมาก การประเมินจากภายนอก ภายใตวัฒนธรรมผักชีนั้นยากมาก อันนี้ เลย convince วา จะตองหาองคกรขางในที่จะเปนพันธมิตรกับ สมศ. คิดวาคงจะเปน ปอมท. เพราะผมเองก็เคยเปนประธานสภาคณาจารยมากอน ผมรูวาขุมกำลังคอนขางเยอะ แตวาประเด็นที่สำคัญคือตองใชวิธีคอมมิวนิสต การบริหารบุคคลในมหาวิทยาลัยมันเชย แตวิธีคอมมิวนิสตนี่ไดผลกวา วิธีนี้คือจะตอง mobilise ความคิดใหไดกอน ตองเห็นพองรวมกันวาเรื่องนี้ตองทำ ไมทำก็ตาย วิธี mobilise ความคิด ตัวอยางเชน เว็บไซตของคุณมีชัย ฤชุพันธ ถาใครอานก็คงตองบอกวา จะตองเปลี่ยนรัฐบาลๆๆๆ เปนตน อีกวิธีหนึ่งก็คือ คนที่ใกลชิดกันเขาก็คอยๆ กระซิบบอกกันไปเรื่อยๆ อยางเชน คุณอานันท ปนยารชุน ผมก็ถามทานวา “จะทำอยางไรเพื่อบานเมือง” ทานตอบวา ”อาจารยอยาถามผม..ผมอยากตาย” วิธีคิดแตละคนไมเหมือนกัน ไอเดียคุณตองไปคิดเอง เปนตน เพราะฉะนั้น จึงเปนประเด็นที่เราจะตองสรางความคิด ทีนี้ในมหาวิทยาลัยเรานั้นยังไมมีใครไปชวยสรางความคิดรวมกัน ความจริงแลวสภาคณาจารยนั้นมีโอกาสสูงในการสรางความคิดรวมกันในการสรางความดีงามและคุณภาพการศึกษาใหมหาวิทยาลัย สามารถขับเคลื่อนประชาธิปไตยในมหาวิทยาลัยรวมกัน ไมใชปลอยใหเปนงอยทั้งประชาธิปไตยของอาจารยและนิสิต นี่เปนโจทยที่ทำใหคณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตองหยุดสอนเพราะเหตุวา ทำไมประชาธิปไตยในการเลือกตั้งของอาจารยและนิสิตถึงไดคอนขางกระทอนกระแทนมาก นี่เปนโจทยที่สำคัญมาก และผมคิดวาเราควรนำความรูจากการสอนในคณะรัฐศาสตรหรือคณะตางๆ มาชวยแกไขปญหานี้ใหได เพราะฉะนั้น sanction ที่สำคัญของประชาธิปไตยก็คือวา ประชาธิปไตยจะ work เมื่อคนมีการศึกษาระดับสูง และการมีสวนรวมโดยไมมีเรื่องการเมืองมาเกี่ยวของ ซึ่งเปนหลักที่สำคัญของการบริหารบานเมืองและการปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้ ถาในมหาวิทยาลัยยังไม work โรงเรียน วิทยาลัย กระทรวง คงไมตอง

หวังที่จะทำอะไรตอไป เสียเงินเปลาๆ ผมคิดวาถาเราจุดประเด็นแบบนี้ขึ้น โดยไมตองไปยกตัวอยางปญหาบานเมือง โดยเอาสิ่งที่มันเกิดขึ้นในมหาวิทยาลัย และ improve ได โดยใชสติปญญาของเรา ผมจึงอยากจะใหสภาคณาจารยทุกแหงหันมองดูสิ่งนี้ เรื่องนักวิจัยก็เหมือนกัน ผมไปดูงานที่ประเทศเกาหลีใตเพิ่งกลับมาตามที่สภาวิจัยแหงชาติเชิญใหไปดู ซึ่งตองขอขอบคุณสภาวิจัยอยางยิ่ง จริงๆ แลวเขาจะใหเราไป 2 ประเทศ คือ ประเทศเกาหลีใต และประเทศสิงคโปร ซึ่งทีมนักวิจัยของเราไดประชุมกันแลว จึงขอไมไปที่ประเทศสิงคโปร โดยทำหนังสือถึงเลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติเพื่อขอไปเพียงประเทศเดียว คือ ประเทศเกาหลีใต โดยจะขอดูงานอยางละเอียดเฉพาะประเทศนี้ ไมไปประเทศสิงคโปร ซึ่งเลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติก็ไดอนุมัติตามที่ขอไป ตอนนั้นเรารูสึกโกรธประเทศสิงคโปรมากเกี่ยวกับเรื่องกองทุนเทมาเสก คิดวาทำไมจะตองไปดูประเทศเขา ซึ่งเมื่อไดไปดูงานที่ประเทศเกาหลีใตแลว ผมไดรับบทเรียนที่สำคัญมากเลย เมื่อไดไปดูสถาบัน 2 แหงที่เขาตั้งขึ้น คือ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ซึ่งเขามีประสบการณที่สำคัญคือ เมื่อเริ่มใหมีการผลิตบัณฑิต เพื่อจะตั้งเปนมหาวิทยาลัยในอนาคตนั้น บทสรุปที่เขาไดคือไม work อันนี้มีนัยยะกระทบกระเทือนมหาวิทยาลัยไทยเยอะมาก ถาวิเคราะหตามนัยยะนี้แลว ซึ่งผมไดทำรายงานเสนอสภาวิจัยแหงชาติไปแลว บทสรุปของประเทศเกาหลีใตตองพูดดวยความเสียใจวา เขาไมไดหวังผลการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเพื่อนำมาพัฒนาประเทศเลย แตเขาหวังเรื่องคุณภาพของบัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัยมากกวา การทำวิจัยนั้นเขาหวังวาจะชวยพัฒนาคุณภาพบัณฑิตใหดีขึ้น แตการพัฒนาประเทศสวนใหญมาจากผลการวิจัยของสถาบันวิจัย ผมไดไปดูสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรเทคโนโลยีของเขา โดยเฉพาะทางดานสังคมและวิทยาศาสตร เขามีสภาวิจัย 4 สภา ซึ่งใน 3 สภาของเขานั้น จะเปนสภาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน สภาวิทยาศาสตร fundamental สภาวิทยาศาสตร apply สภาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมและเทคโนโลยี เปนตน และภายใตสภาเหลานี้ ยังมีสถาบันวิจัยระดับชาติ และมีสภาที่ 4 ที่เรียกวา “สภาวิจัยดานเศรษฐศาสตร มนุษยศาสตร และสังคมศาสตร” สภานี้ จะมีสถาบันวิจัยอยูภายใตอีก 23 แหง เปนองคการมหาชนทั้งหมด ไมมีแหงใดเปนสวนราชการเลย ทั้งนี้ การวิจัยจะถูกกำหนดทิศทางโดยรัฐบาลซึ่งไดจัดเงินมาให ดังนั้น 90% ของเงินวิจัยมาจากรัฐบาล สวนเอกชนเขาก็ทำวิจัยของเขาดวยเชนกัน และชวยเงินสนับสนุนรัฐบาล 10% อีก 90 % เปนเงินงบประมาณแผนดิน แตมี mission ชัดเจนวา ทำเรื่องอะไร อยางไร และเขาจะไดประโยชนอยางไร ผมจึงไดความคิดวา ถาเราจะทุมพัฒนามหาวิทยาลัยและคาดหวังวาการวิจัยของมหาวิทยาลัยจะชวยพัฒนาประเทศไทยนั้น สงสัยจะตองทบทวนใหม แตที่นาสนใจ คือ ผมไดเสนอไปวาใหดึงสถาบันวิจัยออกจากมหาวิทยาลัยและกระทรวงใหหมด เพื่อเปนสถาบันวิจัยระดับชาติไปเลย เพราะสถาบันวิจัยในมหาวิทยาลัยมันเปน second-class citizen ดังนั้น อนาคตของนักวิจัยในสถาบันวิจัยโดยทั่วไป จึงคิด

แตเพียงวาถามีที่ไปที่ดีกวาก็จะไป แตนักวิจัยของเกาหลีใตไมเปนอยางนั้น เพราะเขาไดรับเงินเดือนสูงกวาพวก professor ถึง 3 เทา เพราะฉะนั้น first-class จึงอยูที่สถาบันวิจัยทั้งหมดเลย professor เลยกลายเปน second-class ในแงของคุณภาพคน

Page 4: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

66

และเมื่อเขาทำวิจัยแบบนวัตกรรมอยางนี้ได เขาก็สามารถผลิตสินคาขายไดเงิน เมื่อไปสัมภาษณทานทูตทานก็บอกวา เราแทบไมมีวันแขงกับเขาไดเลย แตที่นาสนใจมากกวานั้น คือ เขาตั้งองคการมหาชนที่เรียกวา research fund เปนมูลนิธิจากเงิน

สนับสนุนวิจัย ซึ่งเราไดไปดูงานและผมไดคุยกับประธานบอรดดังกลาว ทราบวาเขาเคยเปนอดีตรัฐมนตรีเกาหลีใตมากอน ดังนั้น พวกรัฐมนตรีของประเทศซึ่งสวนใหญเปนนักวิชาการ เมื่อออกจากการเมืองแลวก็จะมารวมกันทำงานตรงนี้ เพื่อหาเงินชวยงานวิชาการเปนสวนใหญ สวนประเทศเราไมใชอยางนั้น รัฐมนตรีสวนใหญเมื่อหมดสภาพจะกลับไปเลี้ยงหลาน แตเขาไมใชอยางนั้น เขาโยงไปถึงระดับ policy และพอไดอานงานวิจัย IREP ของประเทศฝรั่งเศส เขาเรียกวา “การวิจัยกอรูป” ซึ่งเปนการโยงระหวาง policy กับ research และของเกาหลีใต สาธิตตรงนี้ไดเห็นชัดเจน และเขาประเมินกันอยางจริงจังเหมือน ก.พ.ร. บานเรา คือทุกปเขาจะประเมินสถาบันวิจัย แลวจะมีผลตอการขึ้นเงินเดือนหรือถอดถอนผูอำนวยการสถาบัน หากทำไมไดตามเปาหมายและระบบของเขา ผมไดถามสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรเทคโนโลยีของเขาวา เมื่อรอบปที่ผานมาไดจดลิขสิทธิ์ทั้งหมดไวจำนวนเทาไหร เขาบอกวาระดับประเทศ 398 เรื่อง ระดับนานาชาติ 167 เรื่อง โดยผลประโยชนที่ไดจากลิขสิทธิ์ 50 % จะใหกับนักวิจัย และไดถามตอวา ทำไมสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรเทคโนโลยีถึงปรับลดการผลิตดุษฎีบัณฑิตลง เขาบอกวาจะทำให quality research ของเขาลดลง เขาจึงคิดวาควรมีจำนวนนอยประมาณไมเกิน 2 คน เพื่อใหมาชวยสรางนักวิจัยรุนใหม ซึ่งแตเดิมเขาเคยผลิตประมาณ 10 คน แตภาระงานหลักของนักวิจัยกลายเปนงานสอนมากกวาทำวิจัย จึงทำใหคุณภาพงานวิจัยแยลง เขาจึงลดการผลิตลง ในที่สุดเกาหลีใตไดจัดใหมีหนวยงานทางดานการพัฒนาคนขึ้น คือมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีหนาที่สรางคนใหมีคุณภาพและถืองานวิจัยเปนสวนชวยในการปฏิบัติภารกิจ สวนสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรเทคโนโลยีจะเนนสรางผลงานวิจัยเปนหลัก จะเห็นวามีการแบงหนาที่อยางชัดเจน ซึ่งอันนี้ก็นาคิดมาปรับใชกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เชน มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ นิดา มหาวิทยาลัยเหลานี้ไดเปรียบมหาวิทยาลัยอื่นมาก เพราะเขาไมมีภาระเรื่องปริญญาตรีหรือถามีก็ไมมากนัก นอกจากนี้ ปญหาใหญอยางหนึ่งที่ตองแกไข คือ ครูที่เขาสูวงการศึกษา content คอนขางออนแอมาก ดังนั้น การศึกษาขั้นพื้นฐานจะออนแอ และมหาวิทยาลัยที่รับเด็กเขามาก็จะออนแอลงไปดวย สิ่งนี้เปนปญหาใหญที่ตองแกไข

อาจารยชัยนรินท จันทวงษโส

(ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี) การประเมินเทาที่ผานมา หลายๆ มหาวิทยาลัยมองวา ภารกิจที่พวกเราตองทำมีอยู 3 ภารกิจ คือ 1.การเรียนการสอน 2.ตองทำงานวิจัย 3.การบริการวิชาการ แตทัศนคติของมหาวิทยาลัยไมไดเนนที่จะเปนมหาวิทยาลัยวิจัย และในขณะเดียวกันการประเมินของ สมศ. ก็นับเรื่องของงานวิจัยไปดวย ผมจึงเริ่มเกิดความสับสนในสิ่งที่อาจารยกำลังบอกเลามาวา จริงๆ แลวจุด

สำคัญที่พวกเราจะตองมุงเนนคืออะไร สวนที่สองคือ ผมเขาใจวาสภามหาวิทยาลัยของผมเองก็มีมุมมองอยางที่อาจารยพูด แตดวยเงื่อนไขในเรื่องวัฒนธรรมองคกรที่ผานมาหรือตัวมหาวิทยาลัยเอง อาจจะทำใหความมุงมั่นของอาจารยที่จะไดกำกับดูแลนโยบายดวยตัวเอง อาจทำไมไดเต็มที่ หรือเพราะเงื่อนไขเหลานี้ จึงทำใหไมประสบความสำเร็จในการบริหารงานของ

มหาวิทยาลัย

ศาสตราจารย ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน (ผูอำนวยการ สมศ.) ผมคิดวา บทเรียนในมหาวิทยาลัยในกำกับ เวลาเขาออกแบบเขาจะออกแบบอีกแบบหนึ่งในการวางตัวคนหรืออะไร

ก็ตาม ดวยความคิดวาจะมีอิสระคลองตัว นี่คือ กฎหมาย ก.พ.อ. แตกฎหมายฉบับนี้ไมเพียงแตครอบคลุมมหาวิทยาลัยในกำกับเทานั้น ยังครอบคลุมมหาวิทยาลัยทุกแหง แตผมเขาใจวาสภามหาวิทยาลัยบางแหง เชน มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยมาจากนักการเมือง โดยคิดวานักการเมืองจะชวยของบประมาณและอัตราใหเขาได เขาคิดแคนั้น แตเขาไมไดคิดวา

จะใหนายกสภามหาวิทยาลัยมาชวยคิดนโยบายใหกับมหาวิทยาลัยเลย หรือบางมหาวิทยาลัยในตางจังหวัดบางแหงก็เอาประธานวุฒิสภาเปนนายกสภามหาวิทยาลัย คือในที่สุดแลววิธีคิดของอธิการบดีและทีมงาน รวมถึงสิ่งแวดลอมเหลานั้น ทำใหเขา

คิดแตเพียงการแกไขปญหาเฉพาะหนา ซึ่งสภาก็เปนแบบนั้น และพอทำใหตองรับผิดชอบแบบนี้ ซึ่งผมเปนหวงมากและไมรูวาสภาเขารูหรือไม ดังนั้น จริงๆ แลว เงื่อนไขทั้งหลาย ถามวาโดยทฤษฎีกฎหมาย ก.พ.อ. ฉบับใหมที่ใชอยูในฉบับนี้ ไมใชเรื่องแปลกอะไร เปนเรื่องปกติตามสมัยสากล เพียงแตเรามาจัดสภามหาวิทยาลัยที่แปลกออกไปตามวิธีคิดของเราเอง และเราก็มอง

Page 5: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

67

วาอธิการบดีเปนใหญ ดังนั้น สภามหาวิทยาลัยจึงตองบริการอธิการบดีแลวแตจะชง ซึ่งสิ่งนี้อธิการบดีเปนคนในมหาวิทยาลัยจึงกลายเปนการมองจากขางในออกมาขางนอก แตโดยหลักการพัฒนาจะตองมองจากขางนอกมาขางใน ทีนี้ก็มาโยงกับมหาวิทยาลัยของอาจารย อาจารยก็ตองดูวามหาวิทยาลัยของอาจารยอยูในกลุมใด เชน กลุมหนึ่ง มหาวิทยาลัยวิจัย เนนการวิจัย เนนผลิตบัณฑิตควบคูการวิจัยใหเปนมหาวิทยาลัยสากล เปนตน นี่คือมติสภามหาวิทยาลัย เมื่อมีมติออกมาแบบนี้ การปรับตัวของมหาวิทยาลัยก็ตองเปนไปแบบนี้ และตองสงมาถึงอาจารยดวยวา ในเมื่อมหาวิทยาลัยอยูในกลุมหนึ่งแลว เราก็ตองทำใหประชาคมเขาใจวา มหาวิทยาลัยวิจัยคืออะไร ไมใชเปนมหาวิทยาลัยที่ปมงานวิจัยและตีพิมพเผยแพรเทานั้น มหาวิทยาลัยวิจัยคือมหาวิทยาลัยที่ทุกคนในมหาวิทยาลัยใชการวิจัยเปนวิถีชีวิตรวมถึงวิธีการทำงาน อยูกับงานวิจัยอยางสุขกายสบายใจ ไมใชอยูกับงานวิจัยดวยความทุกข ผมคิดวา ความเขาใจเรื่องมหาวิทยาลัยวิจัยยังมีความคลาดเคลื่อน เรายังคิดอยูแคเพียงการตีพิมพเอกสารนานาชาติมากๆ ก็เรียกมหาวิทยาลัยวิจัย ผมคิดวานั่นไมใชสาระสำคัญทั้งหมดของการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย นี่เปนประเด็นที่สำคัญ ถาสภาคณาจารยจะชวยสื่อสารในเรื่องนี้ในหมูอาจารยใหทราบเชนเดียวกับสภามหาวิทยาลัยที่ทราบเรื่องนี้ดี ก็จะเปนประโยชนอยางมาก และทำอยางไรเราจะอยูกลุมหนึ่ง และเราก็จะไปในทิศทางเดียวกัน สมศ.เวลาประเมินก็บอกวา เมื่อคุณประกาศวา เปนมหาวิทยาลัยวิจัย แนนอนวิจัยจะคูกับบัณฑิตศึกษา ดังนั้น ถาคุณมีนักศึกษาปริญญาตรีมาก คุณก็ตองลดสัดสวนปริญญาตรีลง เพราะนักวิจัยภาคบังคับที่ดีที่สุด คือ นิสิตบัณฑิตศึกษา มีคนถามวา ทำไม สมศ. ตองกำหนด KPIs เรื่องเผยแพรวิทยานิพนธดวย ทำไมตองบังคับใหเผยแพรวิทยานิพนธทั้งๆ ที่มหาวิทยาลัยก็ยังไมมีขอบังคับใหตองเผยแพร เปนตน ตองขอบอกวา เวลาที่วิทยานิพนธเสร็จแลว อาจารยจะเปนผูนำผลการวิจัยไปสูกลุมเปาหมาย ตัวอยางเชน เรื่องของการสอบ O-NET และเขามหาวิทยาลัย เปนผลงานวิจัยของนิสิตภาควิจัยเมื่อป 2513 มีอยู 6 เลม ซึ่งทำพรอมกัน พบวาการทำนายโดยใชคะแนนจบ ม.6 จะทำนายไดดีกวาคะแนนจากการสอบ entrance ซึ่งอันนี้เขาบอกวาเอาคะแนนเก็บจาก ม.6 มาเปนตัวทำนายเขามหาวิทยาลัยไดเลย เปนตน ซึ่งนับวาการนำวิทยานิพนธมาเผยแพรจะมีประโยชนอยางมาก ดังนั้น สมศ.จึงเห็นความสำคัญของวิทยานิพนธระดับปริญญาโท-เอก และอาจารยก็ไดตรวจทานไปเยอะในการควบคุมดูแล สิ่งนี้คิดวาการเผยแพรเรื่องนี้จะเปนเรื่องที่ดีมาก ดังนั้น คิดวาความเขาใจเรื่องมหาวิทยาลัยวิจัยก็ดี เปนสิ่งที่ตองสรางความเขาใจรวมกัน ไมใชวา KPIs มา แลวเราตองทำตาม KPIs ผมอยากใหสภาคณาจารยชวยบอกเบื้องหลังความสำคัญของ KPIs พวกนั้นได และชวยสื่อสารใหทราบโดยทั่วกัน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุมพล พูลภัทรชีวิน (ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)

ขอเสนอแนะที่อาจารยพูดไววา สภาคณาจารยควรมีบทบาทหลักในเรื่องของวิชาการและจะชวยสภามหาวิทยาลัยของตนเองไดเปนอยางดี ผมคิดวานาสนใจมาก เพราะบทบาทของสภาคณาจารยแตละแหงนั้น ถาเลนเรื่องวิชาการมากหนอย

และทำไดดีมีประโยชนจริงๆ ก็จะไดรับการยอมรับทั้งจากผูบริหารมหาวิทยาลัย และจากคณาจารยในมหาวิทยาลัยที่อยากจะเขามามีสวนรวมเพิ่มมากขึ้น เพราะหนาที่หลักๆ ทั่วไปของสภาคณาจารยอยางที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เราทำหนาที่เปนที่ปรึกษาของผูบริหาร ความหมายของที่ปรึกษาโดยเฉพาะในสถานศึกษาก็นาจะเชื่อมโยงเกี่ยวของไมมากก็นอยในเรื่องของวิชาการ ดังนั้น บทบาทตรงนี้จึงมีความนาสนใจ เมื่อนึกถึงวาตอนนี้เราเปน ปอมท. ถาหากเราเอาความเปนวิชาการของแตละแหงมารวมแลกเปลี่ยนเรียนรู องคกรตรงนี้ก็เปรียบเสมือนเปนซุปเปอรเบรนของประเทศได และเราก็หาวิธีนำเสนอฐานขอมูลเชิง

วิชาการมากหนอย แลวรวมกันผลักดันใหมหาวทิยาลัยเดินไปในทิศทางที่นาจะเปน คือคิดเชิง Pro-active มากหนอย มากกวาจะ re-act กับปญหาที่เกิดขึ้น ตรงนี้เปนประเด็นที่อาจารยไดฝากไวและคิดวา ปอมท.นาจะพิจารณาจุดนี้ใหมากหนอย นาจะเปนประโยชนกับ ปอมท. และเปนที่ยอมรับของวงวิชาการทั่วๆไป ในมหาวิทยาลัย ตองขอบคุณอาจารยมากที่มาจุดประกายประเด็น

นี้ใหกับ ปอมท. อีกจุดหนึ่งที่ผมสงสัยเปนกรณีพิเศษ ก็คือประเด็นที่อาจารยไดพูดขึ้นมาวา งานวิจัย โดยเฉพาะงานวิจัยของอาจารย ถาหากมีจุดมุงหมายหลักประการหนึ่งมุงไปที่คุณภาพของบัณฑิต ผมคิดวาจะเปนตัวเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการทำวิจัยของอาจารยคอนขางมาก ไมเชนนั้นบรรดาอาจารยจะมุงเนนเพียงเพื่อทำวิจัยใหไดตำแหนงทางวิชาการ โดยที่ลูกศิษยก็ยังย่ำแย

อยู ผมคิดวาอยางนอย 2 เรื่องนี้ เปนเรื่องที่สภาอาจารยแตละแหงนาจะนำไปพิจารณาใหดี อาจจะมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะในสวนของ ปอมท.

Page 6: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

68

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิบูลย ชลานันต (ประธานสภาขาราชการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร) ผมรูสึกติดใจเรื่องงานวิจัยโดยเฉพาะคำวาเผยแพรนั้น ระดับไหนจึงเรียกวา เผยแพร มีการตีความกันไปตางๆ นา นา บางครั้งตีความวา ตองตีพิมพจนเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และตรงนี้ก็เปนสวนหนึ่งของการประเมินที่จำนวนการตีพิมพในระดับนานาชาติ ดังนั้น ผมจึงอยากถาม สมศ. วาจะตองเผยแพรระดับไหนจึงจะเปนที่ยอมรับได วารสารเราเองก็มีนอยที่จะลงทุนไปพิมพขนาดนั้น จึงเกิดปญหาในเรื่องการเผยแพร

ศาสตราจารย ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน (ผูอำนวยการ สมศ.) ความจริงเราตองเขาใจเบื้องหลังวาเวลาที่เราทำงานวิชาการ การเผยแพรก็คือการใหประชาคมนักวิชาการไดตรวจสอบ สิ่งนี้เปนจุดสำคัญ พรอมใหแวดวงวิชาการไดตรวจสอบ ขณะเดียวกันเราก็ตองการใหประชาชนทั่วไปไดนำไปใชประโยชน ตรงนี้ สมศ. จึงไดใหความสำคัญวา เรื่องการเผยแพรและ/หรือใชประโยชน หรือถาไมไดเผยแพรแตไดใชประโยชนเราก็นับให ซึ่งอันนี้จะตางจากที่ สกอ. ทำ เพราะเราใหความสำคัญวา ถึงแมประเทศที่พัฒนาสูระดับสากล เขาเผยแพรใน referee journal ที่จะมี peer review ซึ่งแตเดิมเราใชวา per review นี้ จะมีกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกไมนอยกวา 50 % เราไปเอามาจาก สกว. ซึ่งตอนนี้เขาแจงมาวาเราใชมาตรฐานสูงเกินไป เราก็นำเขาพิจารณาในคณะกรรมการและไดลดเปน 25 % ตามเกณฑ สกอ. อยางนอยมีกรรมการที่บริหารวารสารเปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก 25 % เปนอยางต่ำ อันนี้เราลดลงให ดังนั้น การมีวารสารเผยแพรใน referee journal จึงตองมีการคัดกรอง โดยคณะกรรมการที่เชื่อถือได ในประเทศเกาหลีเขาก็ใชอยางนี้ เวลาเขารับรองรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เขาจะไมตั้งกรรมการ ถาคุณลงใน referee journal เขารับรองเลย ผมวาวิธีนี้ฉลาด นี่ก็คือมาตรฐานสากลที่ใช ทีนี้ ถาหากใน referee journal ไมไดลง เราก็เปดไปที่การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ แตจะตองมีรายงานสืบเนื่อง ถามีการลงในรายงานสืบเนื่อง ทั้งนี้ ตองไมใชบดคัดยอ ซึ่งรายงานสืบเนื่องนั้น จะตองมีคณะกรรมการกลั่นกรอง จะเห็นวาอุดมศึกษาจะตองเปนคนนำที่ทำทุกขั้นตอนประกันคุณภาพ จริงๆ แลวเรายังดีกวาประเทศอังกฤษอีก เพราะเรามาเพิ่มเติมวา ไมเผยแพรแบบนั้น แตนำไปใชประโยชนเพื่อการเรียนการสอนหรืออื่นๆ ก็นับให ดังนั้น ประเด็นนี้จึงเหมาะกับประเทศไทย เพราะเรายังไมมีความกาวหนาดานการวิจัยมากนัก ดังนั้น เราจึงใชคำวา “หรือ” การนำไปใชประโยชน คือ การเผยแพรโดยการนำไปใชประโยชนก็ได การเผยแพรโดยนำเสนอในที่ประชุมวิชาการและมีการกลั่นกรอง และตีพิมพในรายงานสืบเนื่องก็ใชได หรือในมาตรฐานสากลก็ได ซึ่งเราไดพิจารณาแลวเห็นวาเหมาะสม แตเราตองยอมรับวา อาจารยสวนใหญยังไมคอยเขาใจมากนัก ซึ่งเราไดทำการปรบัปรุงขอมูลในคูมือไปแลวสวนหนึ่ง และไดทำเรื่องคำถาม-คำตอบขึ้นเว็บไซต จะชวยใหเกิดความเขาใจไดมากขึ้น

รองศาสตราจารย ดร.จิราภา วิทยาภิรักษ (ผูอำนวยการฝายวิชาการ ปอมท.)

ในฐานะที่ตนเองเปนประธานคณะทำงานเพื่อทำการวิจัยเรื่องการประเมินสภาสถาบันอุดมศึกษาของที่ประชุม ปอมท. เกี่ยวกับเรื่องการประเมินสถาบันอุดมศึกษา เราทำงานอาจจะใชเวลามากหนอยในการเริ่มตน แตขณะนี้ทาง ปอมท.

ไดขับเคลื่อนไปมากพอสมควร และไดศึกษาหลายๆ เรื่อง เชน ดานเอกสาร ความคิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยเบ้ืองตนวา

เขารูจักสภามหาวิทยาลัยมากนอยแคไหน เปนตน เห็นไดจากการจัดการประชุมทางวิชาการของ ปอมท. ครั้งที่ผานมา พบวา บุคลากรมหาวิทยาลัยประเภทอาจารย รูจักสภามหาวิทยาลัยคอนขางนอยมาก ซึ่งเราคิดวาจะตองทำตรงนี้ตอไป ดิฉันตองขอ

ขอบพระคุณทานที่ทำใหพวกเราไดรูเรื่องนี้ เพราะสภามหาวิทยาลัยถือเปนหัวใจของการอุดมศึกษาที่เกิดขึ้นในขณะนี้ และในอนาคต ดิฉันก็จะทำตรงนี้ตอไปเรื่อยๆ คำถามอีกขอหนึ่ง อยากขอเรียนถามอาจารยเรื่องการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของ สมศ.

ศาสตราจารย ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน (ผูอำนวยการ สมศ.) โดยกฎหมายเราจะจัดกลุม แตเราจะไมจัดระดับ ทานอมเรศ ซึ่งเปนประธานคณะกรรมการฯ ทานไดเสนอไววา การจัดอันดับนั้น เราอยาไปจัดเอง ซึ่งทางสากลแลวเขาก็ไมจัดอันดับ ตัวอยางเชน ประเทศอังกฤษเขาก็ไมไดจัดอันดับ หนังสือพิมพอังกฤษเปนคนจัดอันดับเอง ซึ่งโดยกฎหมายแลว สมศ.จะประเมินทีละแหง และรายงานแหงนั้นในเชิงคุณภาพมี 7 มาตรฐาน เปนอยางไร ไดมาตรฐานหรือไม กลุมสาขามีกี่กลุม แตละกลุมไดมาตรฐานหรือไม จุดเดนอยูตรงไหน มีอะไรบาง เสร็จแลวเราก็

Page 7: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

69

รายงาน มีคะแนนเต็ม 160 คะแนน แตขอมูลเหลานี้จะมีระบบควบคุม เชน อยูในกลุมหนึ่งดวยกัน กลุมนี้มี 22 แหง ดังนั้น กลุมหนึ่งเมื่อมาเทียบกันก็เหมาะสมดีเพราะเราจะประเมินดวยระบบเดียวกัน แต สมศ. จะไมเทียบกัน แตหากหนังสือพิมพตางๆ ขอขอมูลเราก็ตองใหขอมูลเขาไปเทียบเอง เราคิดวาถาจะเทียบก็ควรเทียบเปนกลุมๆ อยาเทียบแบบ สกอ. ทำ เชน มหาวิทยาลัยราชนครินทรที่ทานรัฐมนตรีฯ เปนนายกสภามหาวิทยาลัยอยูนั้น ถาเรารูกอน เราจะไมใหเขาไปจัดอันดับ เพราะเรารูอยูแลววา เมื่อประเมินเสร็จก็จะไปอยูอันดับสุดทาย แตเมื่อหนวยงานราชการเขาขอมาเราก็ตองใหขอมูล เราก็ทำแบบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ ยินดีใหขอมูลแตกรุณาไมตองจัดอันดับ เพราะเปนเรื่อง option อยางนี้เปนตน ทั้งนี้ เพราะการจัดอันดับนั้น ยิ่งถาไมผูกโยงกับการพัฒนาที่เปนรูปธรรมจะเปนผลเสีย เรื่องนี้เปนสากลที่ตางประเทศยอมรับกัน เชนในประเทศอังกฤษ ประเทศอเมริกา หรือประเทศออสเตรเลีย มีปญหาคือเขาไมสามารถประเมินมหาวิทยาลัยไดครบพันธกิจ เขาจึงเลือกพันธกิจ 2 อยาง คือ เรื่องการวิจัยและเรื่องการสอน เขาก็มีปญหาอีกคือ ไมสามารถสงคนไปดูในเรื่องการเรียนการสอนได เขาจึงตองใชการประเมินจาก input สัดสวนอาจารยตอนักศึกษา โดยสันนิษฐานวา ถาสัดสวนอาจารยตอนักศึกษานอย อาจารยจะใกลชิดกับนักศึกษาไดมาก แบบนี้มหาวิทยาลัยเปดคงไมมีวันไดเขาอันดับแนนอน ตัวที่สอง คือ เงินที่ใสเขาไปในเรื่องการเรียนการสอน จะขึ้นอยูกับวาใสไวในสวนไหน อยางไร เหลานี้คือประเด็นที่เราจะตองพิจารณา ผมไมเชื่อวาถามีเงินใสเขาไปมาก มีนักศึกษามากกวาอาจารย และมีคนจบปริญญาเอกมากแสดงวาสอนดี ซึ่งตรงนี้ในตางประเทศเขายอมรับวาเปนจุดออน เขาไมรูวาจะเปรียบเทียบกันอยางไร แตในเมื่อเราคิดจะทำกันในประเทศ ทำไมเราจึงไมวัดใหมันลึกซึ้งกวานี้ และจริงๆ แลว สมศ. ก็มีขอมูลเรื่องนี้ทั้งหมด ตรงนี้ผมคิดวาเปนโจทยเรื่องหนึ่งที่ทานรัฐมนตรีฯ จะตองคิดแกไขตอไป เรื่องนี้เปนเรื่องที่ทำใหเราไดบทเรียนหนึ่งวา “กอนเกษยีณไมควรริเริ่มทำอะไร” เพราะถาริเริ่มทำอะไรใหมๆ เกินไป อาจจะไมรอบคอบเทาที่ควรได ที่จริงโดยหลักการแลวเปนเรื่องดีเปนที่ยอมรับ แตตองทำดวยระบบที่เปนที่ยอมรับและเปนธรรมกับมหาวิทยาลัย ไมใชนำมาเปรียบเทียบกันทุกกลุม ซึ่ง สมศ. จะทำการแบงเปนกลุมๆ วามหาวิทยาลัยใดควรอยูในระดับใดเทานั้น สวนใครจะนำไปเปรียบเทียบก็เอาขอมูลไปเปรียบเทียบเอาเอง

ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (ประธาน ปอมท.) ในนามของ ปอมท. ขอกราบขอบพระคุณทาน ศาสตราจารย ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ที่ไดใหเกียรติมาบรรยายพิเศษในวันนี้ ซึ่งทานเองเปนที่ปรึกษาของ ปอมท. ดวย และไดใหความกรุณาทุกครั้งที่พวกเราขอความชวยเหลือจากทาน ขอบคุณมากครับ.

*****************************************************************************

Page 8: 2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)

70

สมัยสามัญครั้งที่ 1/2550 วันที่ 28 มกราคม 2550

ณ ห้องปทุมวัน โรงแรมเอเชียราชเทวี กรุงเทพฯ