46
ความเองนเยวบกฎหมาย () ชาคต ทเวช chacrit.wordpress.com Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ชาคริต สิทธิเวช

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

Page 2: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย

ขอบเขตการใช้บังคับกฎหมาย

ประเภทของกฎหมาย

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

2

Page 3: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

– a law maxim

Ubi societas, ibi iusWherever there is a society, there is law.

ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

3

Page 4: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย

รัฐ

กฎหมายตามเนื้อความ

กฎหมายตามแบบพิธี

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

4

Page 5: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

รัฐ

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

Image courtesy: http://wwwnc.cdc.gov/travel/images/map-thailand.png

chacrit.wordpress.com

อำนาจอธิปไตย

อาณาเขต

ราษฎร

5

Page 6: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย

รัฐ

กฎหมายตามเนื้อความ

กฎหมายตามแบบพิธี

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

6

Page 7: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

กฎหมายตามเนื้อความ

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

ผลร้าย

มนุษย์

ความประพฤติ

รัฐ

ข้อบังคับ

อำนาจอธิปไตย

อาณาเขต

ราษฎร

7

Page 8: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

กฎหมายตามแบบพิธี

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

8

Page 9: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

อำนาจอธิปไตย

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

อำนาจตุลาการ

อำนาจบริหาร

อำนาจนิติบัญญัติ

chacrit.wordpress.com

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗

“มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”

9

Page 10: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

กฎหมายตามแบบพิธี

อำนาจตุลาการ

อำนาจบริหาร

อำนาจนิติบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (ม. ๑๔ และ ม. ๑๕)

พระราชกำหนด (ม.๒๑)

พระราชกฤษฎีกา (ม.๒๒)กฎกระทรวงข้อบัญญัติท้องถิ่น

10

chacrit.wordpress.com

Page 11: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

พระราชบัญญัติ

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

คณะรัฐมนตรี, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

รัฐสภา

พระมหากษัตริย์

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

11

chacrit.wordpress.com

Page 12: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

พระราชกำหนด

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

รัฐมนตรีผู้จะรักษาการตามพระราชกำหนดนั้น

คณะรัฐมนตรี

พระมหากษัตริย์

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

12

chacrit.wordpress.com

Page 13: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

พระราชบัญญัติ V พระราชกำหนด

chacrit.wordpress.com

13

Page 14: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

พระราชกฤษฎีกา

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

รัฐมนตรีผู้จะรักษาการพระราชกฤษฎีกานั้น

รัฐมนตรี

พระมหากษัตริย์

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

14

chacrit.wordpress.com

Page 15: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

กฎกระทรวง

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวงนั้น

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวงนั้น

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวงนั้น

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

15

chacrit.wordpress.com

Page 16: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ข้อบัญญัติท้องถิ่น

เทศบัญญัติ (พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖)

ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘)

ข้อบัญญัติเมืองพัทยา (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด (พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล (พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗)

16

chacrit.wordpress.com

Page 17: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

17

Page 18: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ขอบเขตการใช้บังคับกฎหมาย

เมื่อใด?

ที่ไหน?

แก่ใคร?

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

18

Page 19: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ประเภทของกฎหมาย

กฎหมายทั่วไปกับกฎหมายพิเศษ

บทหลักกับบทยกเว้น

กฎหมายมหาชนกับกฎหมายเอกชน

กฎหมายภายในกับกฎหมายระหว่างประเทศ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

19

Page 20: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การใช้กฎหมาย

การตีความกฎหมาย

การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย

การร่างกฎหมาย

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

20

Page 21: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

– a law maxim

Ubi societas, ibi iusWherever there is a society, there is law.

ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

21

Page 22: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การใช้กฎหมาย

หมายถึง การออกกฎหมาย

หมายถึง การนำกฎหมายมาใช้แก่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไป

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

22

Page 23: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

๑. การใช้กฎหมาย หมายถึง การออกกฎหมาย

มีกฎหมายแม่บทให้อำนาจออกได้

ขัดกับกฎหมายแม่บทไม่ได้ มิฉะนั้น ใช้บังคับมิได้ (เท่ากับไม่มีกฎหมายนั้นอยู่เลย)

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

23

Page 24: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

๒. การใช้กฎหมาย หมายถึง การนำกฎหมายมาใช้แก่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไป

ศาล

เจ้าพนักงาน

ราษฎร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

24

Page 25: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

๒. การใช้กฎหมาย หมายถึง การนำกฎหมายมาใช้แก่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไป: แนวทาง

เรื่องอะไร

มีหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นหรือไม่ อย่างไร

ข้อเท็จจริงต้องกับหลักเกณฑ์ของกฎหมายเหล่านั้นหรือไม่ อย่างไร

เกิดผลอย่างไรImage courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

25

Page 26: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Page 27: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย

การค้นคว้าหาความหมายของกฎหมายที่มีถ้อยคำไม่ชัดเจน

เมื่อมีข้อสงสัยในความหมายของกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

27

Page 28: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: หลัก

การตีความตามตัวอักษร

การตีความตามเจตนารมณ์

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

28

Page 29: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: การตีความตามตัวอักษร

ภาษาธรรมดา

ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

นิยามเพื่อให้ถ้อยคำบางคำมีความหมายพิเศษไปกว่าที่เข้าใจกันในภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

29

Page 30: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: การตีความตามเจตนารมณ์

เพื่อทราบความหมายของถ้อยคำในกฎหมายจากเจตนารมณ์หรือความมุ่งหมายของกฎหมายนั้นๆ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

30

Page 31: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: การตีความตามเจตนารมณ์

ทฤษฎี

Subjective Theory (เจตนารมณ์ของผู้ออกกฎหมาย)

Objective Theory (เจตนาของกฎหมายนั้นๆ)

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

31

Page 32: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: การตีความตามเจตนารมณ์

วิธีการ

พระราชปรารภ

บันทึกหลักการและเหตุผล

สภาพการณ์ที่เป็นอยู่ก่อนวันใช้บังคับกฎหมายนั้นๆ

ศึกษาเทียบเคียงกฎหมายหลายๆ ฉบับหรือหลายๆ มาตราในเรื่องเดียวกัน

ต้องถือว่ากฎหมายมีความมุ่งหมายในทางที่จะใช้บังคับได้

ต้องถือว่ากฎหมายออกมาเป็นข้อยกเว้นหลักทั่วไป

ต้องถือว่ากฎหมายที่จำกัดหรือตัดสิทธิหรือเสรีภาพของราษฎร ไม่มีความมุ่งหมายจะให้ขยายความออกไป

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

32

Page 33: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: กรณีตัวอักษรกับเจตนารมณ์ขัดแย้งกัน

ความมุ่งหมายอันแท้จรง

พิจารณาตัวอักษรกับเจตนารมณ์ประกอบกันไป

เจตนารมณ์เป็นใหญ่กว่าตัวอักษร เพราะเป็นการตีความไปในทางได้ผลสมความมุ่งหมายของกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

33

Page 34: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: ผล

ตรงกับภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

กว้างกว่าภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

แคบกว่าภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

34

Page 35: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การตีความกฎหมาย: ผู้ตีความกฎหมาย

ศาล

เจ้าพนักงาน

นักนิติศาสตร์

ราษฎร

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

35

Page 36: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Page 37: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย

ช่องว่างแห่งกฎหมาย หมายถึง กรณีที่ไม่มีกฎหมายที่จะนำมาใช้

ผู้ออกกฎหมายบกพร่อง

ผู้ออกกฎหมายไม่ทราบหรือคาดไม่ถึงมาก่อน

ผู้ออกกฎหมายเห็นว่ายังไม่สมควรมีบทบัญญัติที่ตายตัว เพราะยังขาดความชัดเจนแน่นอน

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

37

Page 38: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

ช่องว่างแห่งกฎหมาย

ทราบได้ด้วยการตรวจค้นกฎหมาย

ทราบได้จากการตีความกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

38

Page 39: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย

กฎหมายกำหนดไว้

ใช้หลักเกณฑ์ทั่วไป

ในทางอาญา การอุดช่องว่างแห่งกฎหมายจะเป็นไปในทางที่จะลงโทษบุคคลให้หนักขึ้นไม่ได้

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

39

Page 40: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

40

Page 41: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การร่างกฎหมาย

นโยบาย

แนวนโยบายแห่งรัฐ

นโยบายของพรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาล

หลักการที่รัฐบาลมอบหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

41

Page 42: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การร่างกฎหมาย: การใช้ถ้อยคำ

ธรรมดา กระทัดรัด

เทคนิค หรือวิชาการ

นิยาม

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

42

Page 43: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การร่างกฎหมาย: แนวทาง

กฎหมายไทย

สภาพของประเทศไทย

กฎหมายต่างประเทศ

การตีความกฎหมาย

ช่องว่างแห่งกฎหมาย

ราษฎร

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

43

Page 44: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

44

Page 45: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

เอกสารอ้างอิง

ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ แก้ไขเพิ่มเติม (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๙) ๑๖๗-๑๗๕ และ ๑๙๙-๒๐๐.

หยุด แสงอุทัย แก้ไขปรับปรุงโดยสมยศ เชื้อไทย, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒๐ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๙) หน้า ๑๑๑-๑๔๔ และ ๑๖๗-๒๑๖.

chacrit.wordpress.com

45

Page 46: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

คราวหน้าความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม

chacrit.wordpress.com

46