18

Assignment 9-Digital Book

Embed Size (px)

DESCRIPTION

หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง สัตว์ป่าสงวน โดย จินตะนา ดีนาง 52030583001 เทคโนโลยีการศึกษา พ.22 อุดรธานี

Citation preview

Page 1: Assignment 9-Digital Book
Page 2: Assignment 9-Digital Book

สัตวปาสงวน( Reserved Animals ) หมายถึง สัตวปาที่หายาก กําหนดตามบัญชีทายพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2503 จํานวน 9 ชนิด เปนสัตวปาเลี้ยงลูกดวยนมทั้งหมด ไดแก แรด กระซู กูปรี ควายปา ละองหรือละมั่ง สมัน เนื้อทราย เลียงผา และกวางผา

สัตวปาสงวนเปนสัตวหายาก ,ใกลจะสูญพันธุ หรืออาจจะสูญพันธุไปแลว จึงจําเปนตองมีบทบัญญัติเขมงวดกวดขัน เพื่อปองกันไมใหเกิดอันตรายแกสัตวปาที่ยังมีชีวิตอยูหรือซากสัตวปา ซึ่งอาจจะตกไปอยูยังตางประเทศดวยการซื้อขาย ตอมาเมื่อสถานการณของสัตวปาในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป สัตวปาหลายชนิดมีแนวโนมถูกคุกคามเสี่ยงตอการสูญพันธุมากยิ่งขึ้น ประกอบกับเพื่อใหเกิดความสอดคลองกับความรวมมือระหวางประเทศในการ ควบคุมดูแลการคาหรือการลักลอบคาสัตวปาในรูปแบบตาง ๆ ตามอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศวาดวยชนิดสัตวปาและพืชปาหรือ CITES ซึ่งประเทศไทยไดรวมลงนามรับรองอนุสัญญาในป พ.ศ. 2518 และไดใหสัตยาบัน เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526 นับเปนสมาชิกลําดับที่ 80 จึงไดมีการพิจารณาแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิมและตราพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ข้ึนใหมเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535

สัตวปาสงวนตามในพระราชบัญญัติฉบับใหม หมายถึง สัตวปาที่หายากตามบัญชีทายพระราชบัญญัติฉบับนี้และตามที่กําหนดโดยตราเปนพระราชกฤษฎีกา ทําใหสามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตวปาสงวนไดโดยสะดวกโดยออกเปนพระราชกฤษฎีกาแกไขหรือเพิ่มเติมเทานั้น ไมตองถึงกับตองแกไขพระราชบัญญัติอยางของเดิม ทั้งนี้ไดมีการเพิ่มเติมชนิดสัตวปาที่มีสภาพลอแหลมตอการสูญพันธุอยางยิ่ง 7 ชนิด และตัดสัตวปาที่ไมอยูในสถานะใกลจะสูญพันธุ เนื่องจากการที่สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุไดมาก 1 ชนิด คือ เนื้อทราย รวมกับสัตวปาสงวนเดิม 8 ชนิด รวมเปน 15 ชนิด ไดแก

1. นกเจาฟาหญิงสิรินธร 2. แรด 3. กระซู 4. กูปรี

Page 3: Assignment 9-Digital Book

5. ควายปา 6. ละองหรือละมั่ง 7. สมัน 8. เลียงผา 9. กวางผา 10. นกแตวแลวทองดํา 11. นกกระเรียน 12. แมวลายหินออน 13. สมเสร็จ 14. เกงหมอ 15. พะยูน

Page 4: Assignment 9-Digital Book

1. แมวลายหนิออน

ชื่อสามัญ Marble Cat

ชื่อวิทยาศาสตร Pardofelis marmorata

ลักษณะ เปนแมวปาขนาดกลาง น้ําหนักประมาณ 4 - 5 ก.ก. อาศัยอยูในปาดงดิบและปาดิบชื้น สวนใหญมักอยูบนตนไม ชอบออกหากินในเวลากลางคืน อาหารไดแก แมลง งู นก หน ูและลิงขนาดเล็ก

Page 5: Assignment 9-Digital Book

2. พะยูน

ชื่อสามัญ Dugong

ชื่อวิทยาศาสตร Dugong dugon

ลักษณะ ไมใชปลาแตเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิดหนึ่ง ที่อาศัยอยูตามทองทะเลชายฝง ไมมีครีบหลัง น้ําหนักประมาณ 300 ก.ก. อยูรวมกันเปนครอบครัว หลายครอบครัวจะมาหากินรวมกันเปนฝูงใหญ กินพืชจําพวกหญาทะเลตามชายฝง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ใชเวลาตั้งทองประมาณ 1 ป

Page 6: Assignment 9-Digital Book

3. เกงหมอ

ชื่อสามัญ Fea's Barking Deer

ชื่อวิทยาศาสตร Muntiacus feai

ลักษณะ ลักษณะคลายเกงธรรมดา แตสีลําตัวคล้ํากวา หางสั้น ดานบนสีดําตัดกับสีขาวดานลางชัดเจน ชอบอาศัยอยูเดี่ยวในปาดงดิบตามลาดเขา จะอยูเปนคูเฉพาะในฤดูผสมพันธุเทานั้น ชอบกินใบไม ใบหญาและผลไม ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนาน 6 เดือน

Page 7: Assignment 9-Digital Book

4. นกกระเรียน

ชื่อสามัญ Sarus Crane

ชื่อวิทยาศาสตร Grus antigone

ลักษณะ เปนนกขนาดใหญที่เคยพบตามทองทุงที่ชื้นแฉะ และหนอง บึง เมื่อยืนมีความสูงราว 150 ซ.ม. ออกหากินเปนคูและกลุมครอบครัว และจะจับคูอยูดวยกันตลอดชีวิต มีความผูกพันกับคูสูงมาก ชอบกินแมลง สัตวเลื้อยคลาน สัตวน้ํา เมล็ดขาว และหญาออน วางไข ครั้งละ 2 ฟอง

Page 8: Assignment 9-Digital Book

5. เลียงผา

ชื่อสามัญ Serow

ชื่อวิทยาศาสตร Capricornis sumatraensis

ลักษณะ เปนสัตวกีบคูมีเขาจําพวกแพะ ความสูงที่ไหล 85 - 94 ซ.ม. หนักประมาณ 85 - 140 ก.ก. อาศัยอยูตามภูเขาที่มีหนาผา หรือถ้ําตื้น วองไวและปราดเปรียวมาก สามารถวายน้ําขามระหวางเกาะ และแผนดินได มีประสาทตา หู และรบักลิ่นไดดีมาก ชอบกินพืชตางๆ ออ กลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนาน 7 - 8 เดือน

Page 9: Assignment 9-Digital Book

6. กวางผา

ชื่อสามัญ Goral

ชื่อวิทยาศาสตร Naemorhedus griseus

ลักษณะ มีลักษณะคลายแพะ ความสูงที่ไหล 50 - 70 ซ.ม. หนักประมาณ 22 - 32 ก.ก. มีขาที่แข็งแรง สามารถกระโดดตามชะงอนผาไดอยางวองไว พบตามยอดเขาสูงชันจากระดับน้ําทะเลมากกวา 1,000 เมตร ซึ่งมีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดป อาหารไดแก พืชตามสันเขาและหนาผาหิน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนาน 6 - 8 เดือน มีอายุประมาณ 8 - 10 ป

Page 10: Assignment 9-Digital Book

7. ละองหรือละม่ัง

ชื่อสามัญ

Eld's Deer ชื่อวิทยาศาสตร

Cervus eldi ลักษณะ

ความสูงที่ไหล 1.2 - 1.3 เมตร หนักประมาณ 95 - 150 ก.ก. ชอบอยูรวมกันเปนฝูง เล็ก ๆ ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน กินใบหญาใบไมและผลไมเปนอาหาร ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนานประมาณ 7 - 8 เดือน

Page 11: Assignment 9-Digital Book

8. สมัน

ชื่อสามัญ Schomburgk's Deer

ชื่อวิทยาศาสตร Cervus schomburgki

ลักษณะ เปนกวางขนาดกลาง และไดชื่อวามีเขาสวยงามที่สุด ความสูงที่ไหล 1 เมตร การแตกแขนงของเขา แขนงทั้ง 2 จะทํามุมแยกออกไปเทากับลํากิ่งเดิม คลายสุม ชาวบานจึงเรียกวา "กวางเขาสุม" ชอบอยูรวมกันเปนฝูงเล็ก ๆ และอยูเฉพาะในทุงโลง ไมอยูตามปาทึบ เพราะเขาจะเกี่ยวพันเถาวัลยไดงาย ชอบกินยอดหญาออน ผลไมและใบไม

Page 12: Assignment 9-Digital Book

9. กูปรี

ชื่อสามัญ Kouprey

ชื่อวิทยาศาสตร Bos sauveli

ลักษณะ เปนสัตวปาตระกูลเดียวกับกระทิงและวัวแดง ความสูงที่ไหล 1.7 - 1.9 เมตร หนักประมาณ 700 - 900 ก.ก. อยูรวมกันเปนฝูง 2 - 20 ตัว มีนิสัยปราดเปรียว ตัวเมียจะเปนตัวนําฝูงหากินและหลบหนีศัตรู ตัวผูตัวใหญที่สุดจะเปนจาฝูง ชอบกินหญา ใบไม และดินโป งเปน ครั้งคราว ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนาน 9 - 10 เดือน

Page 13: Assignment 9-Digital Book

10. ควายปา

ชื่อสามัญ Wild Water Buffalo

ชื่อวิทยาศาสตร Bubalus bubalis

ลักษณะ รูปรางปราดเปรียวและขนาดลําตัวใหญกวาควายบาน ความสูงที่ไหล 1.6 - 1.9 เมตร หนักประมาณ 800 - 1,200 ก.ก. ชอบนอนแชปลักใหดินโคลนพอกลําตัว เพื่อปองกันแมลงรบกวน มีนิสัยชอบอยูเปนฝูง จะดุรายมากถาบาดเจ็บ กินใบไม หญา และหนอไม ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองประมาณ 10 เดือน

Page 14: Assignment 9-Digital Book

11. แรด

ชื่อสามัญ Javan Rhino

ชื่อวิทยาศาสตร Rhinoceros sondaicus

ลักษณะ เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ความสูงที่ไหล 1.60 - 1.75 เมตร น้ําหนัก 1,500 - 2,000 ก.ก. ชอบนอนในปลักโคลนตมหนองน้ํา เพื่อไมใหหนังแตกและถูกแมลงรบกวน มีสายตาไมคอยดีนัก แตมีประสาทสัมผัสในการรับกลิ่นดีมาก ชอบกินยอดไม ใบไม และผลไม ออกลูกครั้งล ะ 1 ตัว ตั้งทองนานประมาณ 16 เดือน มีอายุยืนประมาณ 50 ป

Page 15: Assignment 9-Digital Book

12. กระซู

ชื่อสามัญ Sumatran Rhino

ชื่อวิทยาศาสตร Didermocerus sumatraensis

ลักษณะ จัดเปนแรดที่พันธุเล็กที่สุด ความสูงที่ไหล 1 - 1.4 เมตร น้ําหนัก 900 - 1,000 ก.ก. มี 2 นอ ปนเขาไดเกง มีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก เมื่อพบสิ่งกีดขวางจะไมขาม และมักใชหัวดันใหพนทางเดิน ชอบกินกิ่งไม ใบไมและผลไม ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนาน 7 - 8 เดือน

Page 16: Assignment 9-Digital Book

13. สมเสร็จ

ชื่อสามัญ Malayan Tapir

ชื่อวิทยาศาสตร Tapirus indicus

ลักษณะ มีประสาทสัมผัสทางกลิ่นและเสียงดีมาก ชอบออกหากินในเวลากลางคืน มักมุดหากินตามที่รกทึบ ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งทองนาน 13 เดือน

Page 17: Assignment 9-Digital Book

14. นกแตวแลวทองดํา

ชื่อสามัญ Gurney's Pitta

ชื่อวิทยาศาสตร Pitta gurneyi

ลักษณะ ขนาดลําตัวยาว 21 ซ.ม. ชอบทํารังบนกอระกําและกอหวาย ซึ่งมีหนามแหลม ใกลลําธารเล็ก ๆ เพื่อสะดวกตอการหาอาหาร กินไสเดือน ตัวออนดวง ปลวก จ้ิงหรีด ตั๊กแตน หอยทาก และกบ เมื่อตกใจหรือมีอันตรายจะรอง "แตว...แตว..." เพื่อเปนสัญญาณเตือนนก ตัวอ่ืน วางไขคราวละ 3 - 4 ฟอง

Page 18: Assignment 9-Digital Book

15. นกเจาฟาหญิงสิรินธร

ชื่อสามัญ White-eyed River-Martin

ชื่อวิทยาศาสตร Pseudochelidon sirintarae

ลักษณะ นกนางแอนชนิดลําตัวยาว 15 ซ.ม. พบครั้งแรกในประเทศไทย ป 2511 ในบริเวณ บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค จะเกาะนอนอยูในฝูงนกนางแอนชนิดอื่น ๆ ตามใบออ และ ใบสนุน โฉบจับแมลงเปนอาหาร

ที่มาจากเว็บไซต : www.ku.ac.th/AgrInfo/wild/index.html