33
บทที5 ความเทากันทุกประการ (14 ชั่วโมง) 5.1 ความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิต (2 ชั่วโมง) 5.2 ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม (1 ชั่วโมง) 5.3 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน มุม ดาน (3 ชั่วโมง) 5.4 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม ดาน มุม (3 ชั่วโมง) 5.5 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน ดาน ดาน (2 ชั่วโมง) 5.6 การนําไปใช (3 ชั่วโมง) เนื้อหาสาระที่นําเสนอในบทนีตองการใหนักเรียนเขาใจและสามารถใชบทนิยามและสมบัติตาง เกี่ยวกับความเทากันทุกประการในการใหเหตุผลเบื้องตนทางเรขาคณิต โดยเสนอในลักษณะเชื่อมโยงกับ ความรูเรื่องการแปลงทางเรขาคณิตที่นักเรียนไดเรียนแลว ในเรื่องความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม มีจุดประสงคใหนักเรียนสามารถบอกไดวามีเงื่อนไขอยางไร รูปสามเหลี่ยมสองรูปจึงจะเทากันทุกประการ ในขั้นแรกจะใชวิธีลอกรูปไปทับกัน เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจวาการที่รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเทากัน ทุกประการไดนั้น รูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปจะตองทับกันสนิท ในขั้นตอไปจึงจะกลาวถึงเงื่อนไขที่จะบอก ใหทราบวารูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการหรือไม โดยไมตองอาศัยการลอกรูปหรือนํารูปไปทับกัน แตจะอาศัยความสัมพันธตามเงื่อนไขที่กําหนดของดานและมุมของรูปสามเหลี่ยมสองรูปในการพิจารณา การใชสัญลักษณแสดงความสัมพันธของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่จะนําไปสรุปเปนความเทากัน ทุกประการ จะตองเปนไปตามเงื่อนไขของความสัมพันธของรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้น จะเขียนสลับตําแหนง กันไมได เชน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ ดาน มุม ดาน เขียนแทนดวย ... จะ เขียนเปน ... ไมได เพราะไมเปนไปตามขอตกลง การนําเสนอเนื้อหาในบทนี้ยังมีตัวอยางใหนักเรียนเห็นความเชื่อมโยงของบทเรียนกับชีวิตจริง เพื่อ นําสาระความรูไปอธิบายและแกปญหาได ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. ระบุดานและมุมคูที่มีขนาดเทากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการ 2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน มุม ดาน เทากันทุกประการ 3. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม ดาน มุม เทากันทุกประการ 4. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน ดาน ดาน เทากันทุกประการ 5. ใชสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการใหเหตุผลได

Basic m2-1-chapter5

  • Upload
    -

  • View
    74

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Basic m2-1-chapter5

บทที่ 5ความเทากันทุกประการ (14 ชั่วโมง)

5.1 ความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิต (2 ช่ัวโมง) 5.2 ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม (1 ช่ัวโมง) 5.3 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน (3 ช่ัวโมง)

5.4 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม (3 ช่ัวโมง)5.5 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน (2 ช่ัวโมง)

5.6 การนําไปใช (3 ช่ัวโมง)

เนื้อหาสาระที่นําเสนอในบทนี้ ตองการใหนักเรียนเขาใจและสามารถใชบทนิยามและสมบัติตาง ๆเกี่ยวกับความเทากันทุกประการในการใหเหตุผลเบื้องตนทางเรขาคณิต โดยเสนอในลักษณะเชื่อมโยงกับความรูเร่ืองการแปลงทางเรขาคณิตที่นักเรียนไดเรียนแลว ในเรื่องความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมมีจุดประสงคใหนักเรียนสามารถบอกไดวามีเงื่อนไขอยางไร รูปสามเหลี่ยมสองรูปจึงจะเทากันทุกประการในขั้นแรกจะใชวิธีลอกรูปไปทับกัน เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจวาการที่รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเทากันทุกประการไดนั้น รูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปจะตองทับกันสนิท ในขั้นตอไปจึงจะกลาวถึงเงื่อนไขที่จะบอกใหทราบวารูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการหรือไม โดยไมตองอาศัยการลอกรูปหรือนํารูปไปทับกันแตจะอาศัยความสัมพันธตามเงื่อนไขที่กําหนดของดานและมุมของรูปสามเหลี่ยมสองรูปในการพิจารณา

การใชสัญลักษณแสดงความสัมพันธของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่จะนําไปสรุปเปนความเทากันทุกประการ จะตองเปนไปตามเงื่อนไขของความสัมพันธของรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้น จะเขียนสลับตําแหนงกันไมได เชน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน เขียนแทนดวย ด.ม.ด. จะเขียนเปน ด.ด.ม. ไมได เพราะไมเปนไปตามขอตกลง

การนําเสนอเนื้อหาในบทนี้ยังมีตัวอยางใหนักเรียนเห็นความเชื่อมโยงของบทเรียนกับชีวิตจริง เพื่อนําสาระความรูไปอธิบายและแกปญหาได

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป 1. ระบุดานและมุมคูที่มีขนาดเทากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการ 2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน เทากันทุกประการ 3. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม เทากันทุกประการ 4. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน เทากันทุกประการ 5. ใชสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการใหเหตุผลได

Page 2: Basic m2-1-chapter5

74

แนวทางในการจัดการเรียนรู

5.1 ความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิต (2 ชั่วโมง)จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปเรขาคณิตสองรูปเทากันทุกประการได 2. บอกสมบัติของความเทากันทุกประการได

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนเรื่องการแปลงทางเรขาคณิตเกี่ยวกับการสะทอน การเลื่อนขนาน และการหมุน ซ่ึงเปนตัวอยางของการเคลื่อนที่รูปเรขาคณิตบนระนาบ โดยที่ระยะหางระหวางจุดสองจุดใด ๆ ของรูปนั้นไมเปลี่ยนแปลง เพื่อนําเขาสูบทนิยามของความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิตบนระนาบ ซ่ึงกลาววา“รูปเรขาคณิตสองรูปเทากันทุกประการ ก็ตอเมื่อ เคลื่อนที่รูปหนึ่งใหทับอีกรูปหนึ่งไดสนิท” การนําบทนิยามนี้ไปใชตรวจสอบความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิต จึงอาจทําไดโดยใชกระดาษลอกลายลอกรูปหนึ่งแลวนําไปทับอีกรูปหนึ่ง 2. เพื่อเสริมสรางความเขาใจเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิต ครูอาจใชตัวอยางที่มีอยูในชีวิตจริง เชน รูปที่ไดจากการถายเอกสาร รูปเรขาคณิตสองรูปในแตละขางของแกนสมมาตรของรูปสมมาตรบนเสน ซ่ึงสามารถตรวจสอบความเทากันทุกประการไดโดยการพับรูปตามแนวแกนสมมาตรไดดังรูป

3. สมบัติของความเทากันทุกประการของสวนของเสนตรงและความเทากันทุกประการของมุมเปนพื้นฐานที่สําคัญของการศึกษาเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ในเรื่องสมบัติของความเทากันทุกประการของสวนของเสนตรง ครูควรย้ําใหนักเรียนเห็นวา“ถาสวนของเสนตรงสองเสนเทากันทุกประการ แลวสวนของเสนตรงทั้งสองเสนนั้นยาวเทากัน และถาสวนของเสนตรงสองเสนยาวเทากัน แลวสวนของเสนตรงทั้งสองเสนนั้นเทากันทุกประการ” ในการนําสมบัตินี้ไปใช จึงไดวา AB ≅ CD และ AB = CD สามารถใชแทนกันได สําหรับในเรื่องสมบัติของ

Page 3: Basic m2-1-chapter5

75

ความเทากันทุกประการของมุม ครูควรย้ําใหนักเรียนเห็นวา “ถามุมสองมุมเทากันทุกประการ แลวมุมทั้งสองมุมนั้นมีขนาดเทากัน และ ถามุมสองมุมมีขนาดเทากัน แลวมุมทั้งสองมุมนั้นเทากันทุกประการ”และครูควรชี้แจงขอตกลงเกี่ยวกับการใชสัญลักษณแทนความเทากันของขนาดของมุมวา ตอไปนี้จะใช ∧A =

∧B แทน )Am(

∧ = )Bm(

4. กิจกรรม “สมบัติอ่ืน ๆ ของความเทากันทุกประการ” เปนการแสดงใหเห็นวาความเทากันทุกประการเปนความสัมพันธสมมูล (eguivalence relation) กลาวคือมีสมบัติสะทอน สมบัติสมมาตรและสมบัติถายทอด ซ่ึงเปนพื้นฐานสําคัญที่นําไปใชในการพิสูจนทางเรขาคณิตเกี่ยวกับความเทากันทุกประการ

5. หลังจากที่นักเรียนไดศึกษาตัวอยางหนา 205 – 206 และทําแบบฝกหัด 5.1 แลว นักเรียนจะไดแนวคิดวา “รูปเรขาคณิตสองรูปเทากันทุกประการ ก็ตอเมื่อรูปเรขาคณิตทั้งสองรูปนั้น มีรูปรางเหมือนกัน(same shape) และมีขนาดเทากัน (same size)” ความรูความเขาใจในเรื่องนี้ นกัเรยีนสามารถนาํไปใชตรวจสอบความเทากนัทกุประการของรปูสามเหลีย่มและรูปหลายเหลีย่มอืน่ ๆ โดยการพจิารณาจากรปูรางและขนาดของรูป 6. ครูอาจจัดกิจกรรมเพิ่มเติมที่เปนการนําความรูเกี่ยวกับความเทากันทุกประการมาใช เชนการสรางรูปใหเทากันทุกประการโดยเขียนรูปที่ตองการบนกระดาษแผนหนึ่งเพื่อเปนแบบ แลวนํากระดาษแผนนั้นไปวางซอนบนกระดาษอีกแผนหนึ่ง เมื่อตัดกระดาษตามแบบที่เขียนไว จะไดรูปสองรูปที่เทากันทุกประการ

Page 4: Basic m2-1-chapter5

76

5.2 ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม (1 ชั่วโมง)จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการ ก็ตอเมื่อ ดานคูที่สมนัยกันและมุมคูที่สมนัย กันของรูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปนั้น มีขนาดเทากันเปนคู ๆ 2. บอกดานคูที่ยาวเทากันและมุมคูที่มีขนาดเทากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการ ได

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจเริ่มตนบทเรียนโดยทบทวนบทนิยามของความเทากันทุกประการของรูปเรขาคณิต เพื่อนํามาใชสํารวจ คนหา สมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม จากการลงมือปฏิบัติโดยใชกระดาษลอกลายลอกรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งไปทับรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง จากสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ครูควรเชื่อมโยงใหนักเรียนเห็นวาการตรวจสอบความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูป ในเบื้องตนนี้เราตองตรวจสอบความเทากันถึง 6 คู ไดแก การตรวจสอบวาดานคูที่สมนัยกัน 3 คู แตละคูยาวเทากันหรือไม และมุมคูที่สมนัยกัน 3 คู แตละคูมีขนาดเทากันหรือไม ครูอาจหาตัวอยางเพิ่มเติม โดยกําหนดรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการใหสองรูป แลวใหนักเรียนคะเนดวยสายตาเพื่อหาดานคูที่สมนัยกัน และมุมคูที่สมนัยกัน เพื่อนําเขาสูการทําแบบฝกหัด 5.2ขอ 1 เชน

จากรูปมีดานคูที่สมนัยกันยาวเทากันและมุมคูที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน ดังนี้ AB = CD, BD = DB, DA = BC

DBA∧

= BDC∧

, ADB∧

= CBD∧

และ BAD∧

= DCB∧

2. ครูย้ําเกี่ยวกับการเขียนสัญลักษณแสดงรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการ ซ่ึงนิยมเขียนตัวอักษรเรียงตามลําดับของมุมคูที่สมนัยกันและดานคูที่สมนัยกัน เพื่อใหนักเรียนเกิดความเคยชินในการเขียนและการนําไปใช เชน

A B

CD

Page 5: Basic m2-1-chapter5

77

ในที่นี้ควรเขียน ∆ ABC ≅ ∆ DEF หรืออยางใดอยางหนึ่งคือ ∆ BCA ≅ ∆ EFD และ∆ CAB ≅ ∆ FDE 3. ในการทําแบบฝกหัดขอ 2 หนา 210 อาจแนะใหนักเรียนเขียนดานคูที่สมนัยกันยาวเทากันและมุมคูที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน โดยไมตองเขียนรูปกอน เพื่อเปนการฝกการนึกภาพในจินตนาการ ถาทําไมไดจึงใหเขียนรูป เชน เมื่อกําหนดให

∆ EAT ≅ ∆ FAT

จะได ∆ EAT ≅ ∆ FAT ดานคูที่สมนัยกัน คือ EA = FA, AT = AT และ TE = TF

และมุมคูที่สมนัยกันคือ TAE∧

= TAF∧

, ETA∧

= FTA∧

และ AET∧

= AFT∧

ซ่ึงสามารถเขียนแสดงตัวอยางของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการไดดังนี้

4. กิจกรรม “ความเทากันทุกประการของรูปหลายเหลี่ยม” เปนการขยายฐานความรูจากความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมไปสูรูปหลายเหลี่ยมอื่น ๆ

5.3 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน (3 ชั่วโมง)จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน เทากันทุกประการ 2. นําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน ไปใชอางอิงในการพิสูจน

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรย้ําใหนักเรียนเห็นวาการตรวจสอบความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปตองตรวจสอบการเทากันของความยาวของดานที่สมนัยกัน 3 คู และการเทากันของขนาดของมุมคูที่สมนัย

A B

C

D E

F

E F

A

T

Page 6: Basic m2-1-chapter5

78

กันอีก 3 คู และแนะนําวาในบทเรียนตอไปนี้เราสามารถตรวจสอบการเทากันของความยาวของดานหรือขนาดของมุมเพียง 3 คู ตามเงื่อนไขที่กําหนด ก็เปนการเพียงพอที่จะสรุปวารูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเทากันทุกประการ

ครูแนะนํารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – มุม – ดาน โดยใชกิจกรรม “สํารวจดาน – มุม – ดาน” ใหนักเรียนสํารวจวารูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการหรือไม จากการลงมือปฏิบัติโดยใชวิธีลอกรูปไปทับกันเพื่อเชื่อมโยงสูกรณีทั่วไปที่วา “รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบดาน – มุม – ดาน จะเทากันทุกประการ” ครูควรย้ําวา “รูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปดังกลาวนี้ มีดานยาวเทากันสองคู และมุมที่มีขนาดเทากันนั้นตองเปนมุมที่อยูในระหวางดานคูทีย่าวเทากนั จงึจะเปนเงือ่นไขที่เพยีงพอทีจ่ะสรปุวารูปสามเหลีย่มสองรปูนัน้เทากนัทกุประการ” ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีดานยาวเทากันสองคู และมุมที่มีขนาดเทากันไมเปนมุมที่อยูในระหวางดานคูที่ยาวเทากัน เชน

จากรูป เห็นไดชัดวา ∆ ABC และ ∆ DEF ไมเทากันทุกประการ2. ในหัวขอนี้นักเรียนจะฝกการใหเหตุผลแบบนิรนัยดวยการพิสูจนอยางเปนแบบแผน โดยไม

เนนการใชตาราง จากโจทยปญหาการพิสูจนครูอาจแนะนําใหดําเนินการดังนี้ 1) นักเรียนอานและทําความเขาใจโจทยปญหา ดวยการพิจารณาวาโจทยกําหนดอะไรใหบางและโจทยตองการใหพิสูจนอะไรโดยนํามาเขียนแสดงใน “กําหนดให” และ “ตองการพิสูจนวา” ตามลําดับ 2) ในการพิสูจน ครูอาจใชคําถามใหนักเรียนวิเคราะหยอนกลับจาก “ตองการพิสูจนวา”ผนวกกบั “บทนยิาม/สมบตั”ิ เพือ่หาเหตผุลเชือ่มโยงยอนกลับสู “กาํหนดให” การตอบคาํถามของนกัเรยีนจะทําใหไดแนวทางในการเขียนแสดงการพิสูจน ซ่ึงนักเรียนจะตองพิจารณาวา มีขอมูลใดบางจากที่ระบุใน“กําหนดให” ที่นํามาใชไดผนวกกับ “บทนิยาม/สมบัติ” ที่นักเรียนเคยศึกษามาแลว นํามาเขียนอธิบายเชื่อมโยงสูขอสรุปตามที่ระบุไวใน “ตองการพิสูจนวา” ขอแนะนําดังกลาวขางตนแสดงไดดวยแผนภาพ ดังนี้

F

D EA B

C

Page 7: Basic m2-1-chapter5

79

การวิเคราะหยอนกลับ การเขียนแสดงการพิสูจน

ตัวอยาง จากแบบฝกหัด 5.3 ขอ 6 ขอมูลจากโจทยนํามาเขียน “กําหนดให” และ “ตองการพิสูจนวา”ไดดังนี้ กําหนดให BC = AD และ CBA∧ = DAB∧

ตองการพิสูจนวา AC = BD และ CAB∧ = DBA∧

ในการวิเคราะหยอนกลับ ครูใชการถามตอบจาก “ตองการพิสูจนวา” ไปสู “กําหนดให” และสมบัติของรูป ไดดังแผนภาพตอไปนี้

A B

DC

กําหนดให

วิเคราะห “เหตุ” ที่ทําใหเกิด “ผล”

บทนิยาม/สมบัติขอสรุปตามที่ระบุในตองการพิสูจนวา กําหนดให

อธิบาย ใหเหตุผล

บทนิยาม/สมบัติ

ขอสรุปตามที่ระบุในตองการพิสูจนวา

BC = ADCBA

= DAB∧

และ AB เปนดานรวม

กําหนดให กําหนดให

∆ ABC ≅ ∆ BAD

AC = BDCAB

= DBA∧ ตองการพิสูจนวา

Page 8: Basic m2-1-chapter5

80

จากแผนภาพขางตน เขียนแสดงการพิสูจนจาก “กําหนดให” ไปสู “ตองการพิสูจนวา” ไดดังนี้พิสูจน พิจารณา ∆ ABC และ ∆ BAD BC = AD (กําหนดให) CBA∧ = DAB∧ (กําหนดให) AB = BA ( AB เปนดานรวม) ดังนั้น ∆ ABC ≅ ∆ BAD (ด.ม.ด.) จะได AC = BD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน) และ CAB∧ = DBA∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)

3. ครูควรฝกใหนักเรียนใชการวิเคราะหยอนกลับในการพิสูจนทางเรขาคณิต ซ่ึงสวนใหญจะทําใหนักเรียนสามารถพิสูจนไดดวยตนเอง การฝกดังกลาวในระยะแรก ครูควรใชการถามตอบเพื่อเปนแนวทางกอน หลังจากนั้นจึงใหนักเรียนวิเคราะหดวยตนเอง

5.4 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม (3 ชั่วโมง)จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม เทากันทุกประการ 2. นําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม ไปใชอางอิงในการพิสูจน

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูแนะนํารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม และใหนักเรียนสํารวจวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเทากันทุกประการหรือไม โดยใชกิจกรรม “สํารวจมุม – ดาน – มุม” กิจกรรมนี้จะทําใหนักเรียนคุนเคยกับรูปสามเหลี่ยมที่สัมพันธกันแบบ ม.ด.ม. และเชื่อมโยงสูสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมที่วา “รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม – ดาน – มุม จะเทากันทุกประการ” ซ่ึงเปนอีกเงื่อนไขหนึ่งในการตรวจสอบความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ที่พิจารณาจากความเทากันของขนาดของมุมสองคู และความยาวของดานซึ่งเปนแขนรวมของมุมทั้งสองเทานั้น

Page 9: Basic m2-1-chapter5

81

5.5 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน (2 ชั่วโมง)จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน เทากันทุกประการ 2. นําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน ไปใชอางอิงในการพิสูจน

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูแนะนํารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน และใหนักเรียนสํารวจวารูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเทากันทุกประการหรือไม โดยใชกิจกรรม “สํารวจดาน – ดาน – ดาน” เพื่อใหนักเรียนคุนเคยกับรูปสามเหลี่ยมที่สัมพันธกันแบบ ด.ด.ด. และเชื่อมโยงสูสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมที่วา “รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน จะเทากันทุกประการ” ซ่ึงเปนอีกเงื่อนไขหนึ่งในการตรวจสอบความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากความยาวที่เทากันของดานสามคูเทานั้น โดยไมตองพิจารณาจากขนาดของมุม

5.6 การนําไปใช (3 ชั่วโมง)จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วได 2. นําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบใดแบบ หนึ่งคือ ดาน – มุม – ดาน มุม – ดาน – มุม และดาน – ดาน – ดาน ไปใชอางอิงในการ พิสูจนและแกปญหาได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 5.6

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ครูควรยกตัวอยางรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่อยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว เพื่อนําเขาสูบทนิยามของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วบนระนาบ ที่กลาววา“รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว คือ รูปสามเหลี่ยมที่มีดานสองดานยาวเทากัน” 2. สําหรับกิจกรรม “สํารวจรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว” มีเจตนาใหนักเรียนสํารวจและคนหาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วดวยตนเอง โดยใชคําถามเปนกรอบในการกระตุนใหนักเรียนคนหาคําตอบ และนําสมบัติของความเทากันทุกประการมาใชในการอธิบายใหเหตุผล นอกจากนี้ครูควรแนะนําใหนักเรียนแยกแยะระหวางบทนิยามกับสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว เชน “มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมี

Page 10: Basic m2-1-chapter5

82

ขนาดเทากัน” เปนสมบัติไมใชบทนิยาม แตอยางไรก็ตามนักเรียนสามารถนําทั้งบทนิยามและสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วไปใชอางอิงในการพิสูจนได 3. ในตัวอยางที่ 2 ของหัวขอนี้ไดแสดงการนําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมไปใชในการพิสูจนการสรางพื้นฐานบางขอทางเรขาคณิตที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว เพื่อเปนการยืนยันวาผลจากการสรางนั้นเปนจริง รูปแบบการเขียนแสดงคําตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับการสรางในช้ันนี้จะประกอบดวย รูปที่สราง กําหนดให ตองการสราง วิธีสราง ตองการพิสูจนวา และ พิสูจน สําหรับการพิสูจน ขอมูลที่นํามาใชอางเหตุผลในโจทยปญหาเกี่ยวกับการสรางมีความแตกตางจากโจทยปญหาการพิสูจนทั่วไป กลาวคือ สามารถนํากําหนดให บทนิยาม/สมบัติ และ ขั้นตอนในวิธีสรางมาเชื่อมโยงเปนเหตุผล เพื่อนําไปสูขอสรุปตามที่ตองการ 4. เพื่อใหนักเรียนเห็นความเชื่อมโยงของเนื้อหาสาระเรื่องความเทากันทุกประการกับชีวิตจริง ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 5.6 เพิ่มเติม

คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรมคําตอบกิจกรรม “สมบัติอื่น ๆ ของความเทากันทุกประการ”

1. เทากันทุกประการ2. เทากันทุกประการ3. เทากันทุกประการ

คําตอบกิจกรรม “ทําอยางไร”

Page 11: Basic m2-1-chapter5

83

80o

30o

A

70o

B C

D80o

30o70o

E F

คําตอบแบบฝกหัด 5.1

1. เปนจริง เพราะ ความเทากันทุกประการ มีสมบัติถายทอด2. เปนจริง เพราะ ความเทากันทุกประการ มีสมบัติสมมาตร3. เปนจริง เพราะ รูปสี่เหล่ียมจัตุรัสสองรูปนั้น มีรูปรางเหมือนกัน มีดานยาวเทากัน วางทับกันได สนิท จึงเปนรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสที่เทากันทุกประการ4. ไมเปนจริง เพราะ รูปสี่เหล่ียมผืนผาสองรูปที่มีพื้นที่เทากันอาจมีความกวางและความยาวไมเทากัน จึงไมจําเปนตองเปนรูปที่เทากันทุกประการดังตัวอยาง ABCD และ PQRS

5. ไมเปนจริง เพราะ รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเทากันสามคู ไมจําเปนตองมีความยาว ของดานเทากัน ดังตัวอยาง ∆ ABC และ ∆ DEF

6. เปนจริง เพราะ รูปสามเหลี่ยมดานเทาสองรูปนั้น มีรูปรางเหมือนกัน มีดานยาวเทากัน วางทับกันไดสนิท จึงเปนรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ7. เปนจริง เพราะ รูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทาสองรูปนั้น มีรูปรางเหมือนกัน มีดานยาวเทากันกับ รัศมีของวงกลมเดียวกัน วางทับกันไดสนิท จึงเปนรูปหกเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ8. ไมเปนจริง เพราะ รูปสี่เหล่ียมสองรูปที่มีดานยาวเทากันทั้งสี่ดานอาจเปนรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสและเปน รูปสี่เหล่ียมขนมเปยกปูน ซ่ึงมีขนาดของมุมไมเทากัน จึงไมจําเปนตองเปน รูปสี่เหล่ียมที่เทากันทุกประการ

20 ตารางหนวย 4

5P Q

RS

20 ตารางหนวย 210A B

CD

Page 12: Basic m2-1-chapter5

84

คําตอบแบบฝกหัด 5.21. 1) AB กับ XY

A กับ ∧

X BC กับ YZ และ

B กับ ∧

Y AC กับ XZ

C กับ ∧

Z

2) PQ กับ PS RQP∧

กับ RSP∧

PR กับ PR และ RPQ∧

กับ RPS∧

QR กับ SR QRP

กับ SRP∧

3) MP กับ NP OMP∧

กับ ONP∧

PO กับ PO และ MOP∧

กับ NOP∧

MO กับ NO OPM

กับ OPN∧

4) XO กับ YO OXA∧

กับ OYB∧

AO กับ BO และ AOX∧

กับ BOY∧

AX กับ BY OAX∧

กับ OBY∧

2.1) AB = ED CAB

= FED∧

BC = DF และ CBA

= FDE∧

AC = EF BCA

= DFE∧

2) TO = GU PTO∧

= NGU∧

OP = UN และ POT

= NUG∧

TP = GN OPT

= UNG∧

3) BI = BO GBI∧

= YBO∧

IG = OY และ GIB

= YOB∧

BG = BY IGB

= OYB∧

Page 13: Basic m2-1-chapter5

85

4) CA = RA TCA∧

= TRA∧

AT = AT และ TAC

= TAR∧

TC = TR ATC

= ATR∧

คําตอบกิจกรรม “ความเทากันทุกประการของรูปหลายเหลี่ยม”

AC กับ RS ∧

A กับ ∧

R CK กับ SE

C กับ ∧

S KB กับ EH และ

K กับ ∧

E BL กับ HO

B กับ ∧

H LA กับ OR

L กับ ∧

O

คําตอบกิจกรรม “สํารวจ ดาน – มุม – ดาน”

รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่กําหนดใหในแตละขอเทากันทุกประการ

คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 5.3

1. เทากันทุกประการ เพราะ ∆ WSN และ ∆ ENS มีความสัมพันธแบบ ด.ม.ด.

2.

เนื่องจาก PS = RS (กําหนดให) QPS

= QRS∧

(กําหนดให) PQ = RQ (กําหนดให) ดังนั้น ∆ PQS ≅ ∆ RQS (ด.ม.ด.)

N E

SW

S Q

P

R

Page 14: Basic m2-1-chapter5

86

3.

เนื่องจาก AC = DO (กําหนดให) BCA

= EOD∧

(กําหนดให)BC = EO (กําหนดให)

ดังนั้น ∆ ACB ≅ ∆ DOE (ด.ม.ด.)

4.

เนื่องจาก NK = LM (ดานของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสยาวเทากัน) LKN

= NML∧

(มุมภายในแตละมุมของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส มีขนาด 90o)

KL = MN (ดานของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสยาวเทากัน)ดังนั้น ∆ NKL ≅ ∆ LMN (ด.ม.ด.)

5.

เนื่องจาก AD = BC (ดานของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสยาวเทากัน) DAM

= CBM∧

(มุมภายในแตละมุมของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส มีขนาด 90o)

AM = BM (กําหนดใหจุด M เปนจุดกึ่งกลางของ AB )จะได ∆ ADM ≅ ∆ BCM (ด.ม.ด.)

A

D

EO

CB

K L

MN

A M B

CD

Page 15: Basic m2-1-chapter5

87

ดังนั้น DM = CM (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

และ MDA ∧ = MCB ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)

6. ดูรายละเอียดหนา 80 – 81

7.

เนื่องจาก AP = CP (กําหนดให BD แบงครึ่ง AC ที่จุด P) BPA

= DPC∧

(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม มีขนาดเทากัน)

BP = DP (กําหนดให AC แบงครึ่ง BD ที่จุด P)จะได ∆ ABP ≅ ∆ CDP (ด.ม.ด.)

ดังนั้น AB = CD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

และ PBA∧

= PDC∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) ในทํานองเดียวกันจะพิสูจนไดวา AD = CB และ PAD

= PCB∧

8. 12 เซนติเมตร จากกําหนดใหจะพิสูจนไดวา ∆ AIP ≅ ∆ ARL (ด.ม.ด.) จะได AP = AL เนื่องจาก AP = 12 เซนติเมตร ดังนั้น AL = 12 เซนติเมตร

A B

CD

P

A

P R I L

Page 16: Basic m2-1-chapter5

88

คําตอบกิจกรรม “สํารวจ มุม – ดาน – มุม”

รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่กําหนดใหในแตละขอ เทากันทุกประการ

คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 5.4

1. เทากันทุกประการ เพราะ ∆ ABC และ ∆ DEF มีความสัมพันธแบบ ม.ด.ม.

2.

เนื่องจาก TRA∧

= CIP∧

(กําหนดให) RT = IC (กําหนดให)

RTA∧

= ICP∧

(กําหนดให) ดังนั้น ∆ ART ≅ ∆ PIC (ม.ด.ม.)

3.

เนื่องจาก OAB∧

= OCD∧

(กําหนดให) AO = CO (กําหนดให)

BOA∧

= DOC∧

(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม มีขนาดเทากัน) จะได ∆ AOB ≅ ∆ COD (ม.ด.ม.) ดังนั้น BO = DO (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

A

C

B

E

F

D

IAPR

T C

OA

B D

C

Page 17: Basic m2-1-chapter5

89

4.

เนื่องจาก EDA∧

= SKA∧

(กําหนดให) AD = AK (กําหนดให)

EAD∧

= SAK∧

(กําหนดให) จะได ∆ ADE ≅ ∆ AKS (ม.ด.ม.) ดังนั้น AE = AS (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

5.

เนื่องจาก TQP∧ = SRP

(กําหนดให) PQ = PR (กําหนดให)

TPQ∧

= SPR∧

( TPQ∧

เปนมุมรวม) ดังนั้น ∆ PQT ≅ ∆ PRS (ม.ด.ม.)

6.

เนื่องจาก BDA∧ = ACB

(กําหนดให) DB = CA (กําหนดให)

DBA∧

= CAB∧

(กําหนดให)

D E S K

A

P

S T

RQ

D C

BA

Page 18: Basic m2-1-chapter5

90

A B

E

CFD

50o

50o

30 ซม.

30 ซม.

จะได ∆ ADB ≅ ∆ BCA (ม.ด.ม.)

ดังนั้น BAD∧

= ABC∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)

7.

เนื่องจาก FAD∧ = EAB

(กําหนดให) AD = AB (ดานของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสยาวเทากัน)

FDA∧

= EBA∧

(มุมภายในแตละมุมของรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส มีขนาด 90 องศา) จะได ∆ ADF ≅ ∆ ABE (ม.ด.ม.) ดังนั้น AF = AE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

8. ความคิดของรานคาถูกตอง

เมื่อให ∆ ABO และ ∆ DCO แทนรูปใบพัด แตละขางและจุด O เปนจุดหมุนของใบพัด

OBA∧

= OCD∧

= 50o (กําหนดให) BO = CO = 30 ซม. (กําหนดให)

BOA∧

= COD∧

(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม มีขนาดเทากัน) ดังนั้น ∆ ABO ≅ ∆ DCO (ม.ด.ม.) นั่นคือ แบบใบพัดสองขางมีขนาดเทากัน

BO

AC

D

Page 19: Basic m2-1-chapter5

91

คําตอบกิจกรรม “สํารวจ ดาน – ดาน – ดาน”

รูปสามเหลี่ยมสองรูปในแตละขอเทากันทุกประการ

แนวการพิสูจนแบบฝกหัด 5.5

1.

เนื่องจาก AB = CD (กําหนดให) DA = BC (กําหนดให)

BD = DB ( BD เปนดานรวม)จะได ∆ ABD ≅ ∆ CDB (ด.ด.ด)ดังนั้น BD แบงรูปสี่เหล่ียม ABCD ออกเปนรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากัน

ทุกประการ

2.

เนื่องจาก AC = BD (กําหนดให) BC = AD (กําหนดให)

AB = BA ( AB เปนดานรวม)จะได ∆ ABC ≅ ∆ BAD (ด.ด.ด)

ดังนั้น BCA∧

= ADB∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)

D

CB

A

C

A B

D

Page 20: Basic m2-1-chapter5

92

3.

เนื่องจาก AB = AC (กําหนดให) BD = CD (กําหนดให)

AD = AD ( AD เปนดานรวม)จะได ∆ ABD = ∆ ACD (ด.ด.ด)

ดังนั้น DAB∧

= DAC∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) นั่นคือ AD แบงครึ่ง CAB

4.

เนื่องจาก CT = MN (กําหนดให) AT = AN (กําหนดให)

AC = AM (กําหนดให)จะได ∆ ACT ≅ ∆ AMN (ด.ด.ด)

ดังนั้น TAC∧

= NAM∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)

A

D

B C

C

T

A

N

M

Page 21: Basic m2-1-chapter5

93

5.

เนื่องจาก PS = QR (กําหนดให) PR = QS (กําหนดให)

SR = RS (SR เปนดานรวม)จะได ∆ PSR ≅ ∆ QRS (ด.ด.ด)

ดังนั้น RSP ∧ = SRQ ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) เนื่องจาก RSP ∧ = 100o (กําหนดให) ดังนั้น SRQ ∧ = 100o (สมบัติถายทอด)

คําตอบกิจกรรม “สํารวจรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว”

กิจกรรมที่ 11. เทากันทุกประการ เพราะ มีความสัมพันธแบบ ด.ม.ด.2. เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน3. เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน4. เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน5. เทากัน 6. 180o เพราะ BDA

+ CDA∧

= CDB∧

ที่เปนมุมตรงมีขนาด 180 o

7. BDA∧

= 90o เพราะ เนื่องจาก BDA

= CDA∧

จะได B)D2(A∧

= BDA∧

+ CDA∧

= 180 o (สมบัติของการเทากัน)

ดังนั้น BDA∧

= 2180 = 90 o

8. AD ตั้งฉากกับ BC เพราะ BDA∧

มีขนาด 90 o

Q

S R

P

Page 22: Basic m2-1-chapter5

94

กิจกรรมที่ 21. ∆ ABD ≅ ∆ ACD เพราะ มีความสัมพันธแบบ ด.ด.ด.2. เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน3. AD ตั้งฉากกับ BC เพราะ ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว และ AD แบงครึ่ง CAB

ที่เปนมุมยอด จึงมีผลเปนไปตามขอ 8 ของกิจกรรมที่ 1

คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 5.6

1. 13, 13 เซนติเมตร หรือ 10, 16 เซนติเมตร แนวคิด กรณีท่ี 1 ถาใหฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วยาว 10 เซนติเมตร จะไดความยาวของดานประกอบมุมยอดแตละดานเปน 13 เซนติเมตร

กรณีท่ี 2 ถาใหดานประกอบมุมยอดของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วยาวดานละ 10 เซนติเมตร จะไดความยาวของฐานเปน 16 เซนติเมตร

2. 64, 64 องศา หรือ 52, 76 องศา แนวคิด กรณีท่ี 1 ถาใหมุมยอดของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด 52 องศา

จะไดมุมที่ฐานมีขนาดมุมละ 252 180 − = 64oA

52o

B C

A

B C10 ซม.

B C10 ซม.

A

Page 23: Basic m2-1-chapter5

95

กรณีท่ี 2 ถาใหมุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาดมุมละ 52 องศา จะไดขนาดของมุมยอดเปน 180 – 2(52) = 180 – 104 = 76o

3. มี 3 รูป แนวคิด เนื่องจาก มีสมบัติประการหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมกลาววา “ผลบวกของความยาวของดานสองดาน ของรูปสามเหลี่ยมยาวกวาดานที่สาม” ดังนั้น ความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มีความยาวรอบรูป 16 หนวย จึงมีได ดังนี้

ความยาวของดานประกอบมุมยอด(หนวย)

ความยาวของฐาน(หนวย)

765

765

246

4.

1) เทากัน เนื่องจาก AC = AD (กําหนดให) จะได ∆ ACD เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มีดานยาวเทากันสองดาน) ดงันัน้ DCA

= CDA∧

(มมุทีฐ่านของรปูสามเหลีย่มหนาจัว่ มขีนาดเทากนั) DCA

= BCF∧

(ถาเสนตรงสองเสนตดักนัแลว มมุตรงขามมี และ CDA

= EDG∧

ขนาดเทากนั) นั่นคือ BCF

= EDG∧

(สมบัติถายทอด)

B E

A

C DF G

A

52o52o

B C

Page 24: Basic m2-1-chapter5

96

2) เทากัน เนื่องจาก ACB∧

+ DCA∧

= ADE∧

+ CDA∧

= 180o (แตละคูเปนมมุตรง มขีนาด 180 องศา) และ DCA

= CDA∧

(มมุทีฐ่านของรปูสามเหลีย่มหนาจัว่มขีนาดเทากนั)

ดังนั้น ACB∧

= ADE∧

(สมบตัขิองการเทากนั)

5.

เนือ่งจาก AB = AC (ดานของรปูสามเหลีย่มดานเทายาวเทากนั) จะได ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ดังนั้น CBA

= BCA∧

(มมุทีฐ่านของรปูสามเหลีย่มหนาจัว่มขีนาดเทากนั) ในทํานองเดียวกันจะได CAB

= BCA∧

ดังนั้น CBA∧

= CAB∧

= BCA∧

(สมบตัขิองการเทากนั) นั่นคือ มุมภายในแตละมุมของรูปสามเหลี่ยมดานเทามีขนาดเทากัน

6.

เนือ่งจาก DBA∧

= DBC∧

(กาํหนดให) BD = BD ( BD เปนดานรวม)

BDA∧

= BDC∧

= 90o (กาํหนดให) จะได ∆ ABD ≅ ∆ CBD (ม.ด.ม.) ดังนั้น AB = CB (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

นั่นคือ ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (บทนิยามของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว)

A

B C

C

D

A

B

Page 25: Basic m2-1-chapter5

97

7.

1) เนือ่งจาก AB = AC (กาํหนดให) DBA

= ECA∧

(กาํหนดให) DB = EC (กาํหนดให) จะได ∆ ABD ≅ ∆ ACE (ด.ม.ด.) ดังนั้น AD = AE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน)

2) เนือ่งจาก DB = EC (กาํหนดให) จะได DB + BC = EC + CB (สมบัติของการเทากัน)

ดังนั้น DC = EB เนื่องจาก AC = AB (กําหนดให) AD = AE (ผลที่ไดจากขอ 1)) จะได ∆ ACD ≅ ∆ ABE (ด.ด.ด.)

8.

เนือ่งจาก ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว และ CE เปนเสนแบงครึ่ง BCA

ที่เปนมุมยอด (กําหนดให) ดังนั้น CE แบงครึ่งและตั้งฉากกับฐาน AB (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว) จะได AE = BE และ CEA

= CEB∧

= 90o

เนื่องจาก DE = DE ( DE เปนดานรวม) จะได ∆ ADE ≅ ∆ BDE (ด.ม.ด.)

D

A

CB E

A BE

C

D

Page 26: Basic m2-1-chapter5

98

A

CB D

E

P

RQ M

N

ดังนั้น EDA∧

= EDB∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) และ AD = BD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน) นั่นคือ ∆ ADB เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มีดานยาวเทากันสองดาน)

9. กําหนดให CBA∧

มีขนาดพอสมควร ดังรูป

แนวการสราง RQP∧

ใหมีขนาดเทากับขนาดของ CBA∧

1. ลาก QR 2. ใชจดุ B เปนจดุศนูยกลาง รัศมพีอสมควร เขยีนสวนโคงตดั BC และ BA ทีจ่ดุ D และ จดุ E ตามลาํดบั 3. ใชจดุ Q เปนจดุศนูยกลาง รัศม ี BD เขยีนสวนโคงตดั QR ทีจ่ดุ M 4. ใชจดุ M เปนจดุศนูยกลาง รัศม ี DE เขยีนสวนโคงตดัสวนโคงในขอ 3 ทีจ่ดุ N 5. ลาก QP ผานจดุ N จะได RQP

มีขนาดเทากับขนาดของ CBA∧

Page 27: Basic m2-1-chapter5

99

แนวการพิสูจนวา RQP∧

= CBA∧

ลาก MN และ DE QM = BD (รัศมีของวงกลมเดียวกัน ยาวเทากัน)

QN = BE (รัศมีของวงกลมเดียวกัน ยาวเทากัน)MN = DE (รัศมีของวงกลมเดียวกัน ยาวเทากัน)

จะได ∆ MQN ≅ ∆ DBE (ด.ด.ด.)

ดังนั้น NQM∧

= EBD∧

หรือ RQP

= CBA∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)

10. กําหนดให AB ยาวพอสมควร ดังรูป

แนวการสราง CD ใหแบงครึ่ง AB ที่จุด O 1. ใชจุด A และจุด B เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนสวนโคงตัดกันที่จุด C และจุด D 2. ลาก CD ตัด AB ที่จุด O จะได CD แบงครึ่ง AB ที่จุด O

แนวการพิสูจนวา CD แบงครึ่ง AB ที่จุด O

A B

D

C

A BO

Page 28: Basic m2-1-chapter5

100

ลาก AC , BC , AD และ BD เนื่องจาก AC = BC (รัศมีของวงกลมเดียวกัน ยาวเทากัน)

AD = BD (รัศมีของวงกลมเดียวกัน ยาวเทากัน)CD = CD ( CD เปนดานรวม)

จะได ∆ ACD ≅ ∆ BCD (ด.ด.ด.) ดังนั้น OCA

= OCB∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) CO = CO ( CO เปนดานรวม) และมีอยูแลววา AC = BC จะได ∆ AOC ≅ ∆ BOC (ด.ม.ด.) ดังนั้น AO = BO (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) ดังนั้น CD แบงครึ่ง AB ที่จุด O

11. ABCD เปนรูปสี่เหล่ียมรูปวาว ตามแนวการพิสูจน ดังนี้

เนื่องจาก AO = AO ( AO เปนดานรวม)

DOA∧

= BOA∧

= 90o (กําหนดให) DO = BO (กําหนดให) จะได ∆ ADO ≅ ∆ ABO (ด.ม.ด.) ดังนั้น AD = AB (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) ในทํานองเดียวกันจะพิสูจนไดวา CD = CB ดังนั้น ABCD เปนรูปสี่เหล่ียมรูปวาว

A

BD

C

O

Page 29: Basic m2-1-chapter5

101

11. สายลวดทั้งสองเสนยาวเทากัน และมุมที่สายลวด ทั้งสองเสนทํากับพื้นดินมีขนาดเทากัน ตามแนว การพิสูจนจากแบบจําลองดังนี้ สราง ∆ QPR โดยมี QS แทนเสาไฟฟาซึ่งตั้งฉาก กับ PR

เนื่องจาก PS = RS (กําหนดให)

QSP∧

= QSR∧

= 90o (กําหนดให) QS = QS ( QS เปนดานรวม) จะได ∆ PQS ≅ ∆ RQS (ด.ม.ด.) ดังนั้น PQ = RQ (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)

และ SPQ∧

= SRQ∧

(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) นั่นคือ สายลวดทั้งสองเสนยาวเทากัน และมุมที่สายลวดทั้งสองเสนทํากับพื้นดินมีขนาด เทากัน

คําตอบกิจกรรม “ทราบหรือไม”

ชางสํารวจใชความสัมพันธแบบ ม.ด.ม.

P R

Q

S

P R

Q

S

Page 30: Basic m2-1-chapter5

102

คําตอบกิจกรรม “โครงสรางของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม”

ตัวอยางคําตอบ ปฏิทินตั้งโตะ โครงสรางเสาไฟฟาแรงสูง โครงสรางสะพานขามแมน้ํา โตะรองรีดผา ฯลฯ

Page 31: Basic m2-1-chapter5

103

กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ

Page 32: Basic m2-1-chapter5

104

กิจกรรมเสนอแนะ 5.6

กิจกรรมนี้มีจุดประสงคใหนักเรียนสามารถนําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมไปใชแกปญหาและอธิบายเหตุการณในชีวิตประจําวัน

ปญหาที่ 1 ซอมผนังหอง ริมผนังหองแหงหนึ่งเวาแหวงหลุดหายไปเปน รูปสามเหลี่ยม ดังรูป ถาวัดความยาวของดานสองดานของชองรูปสามเหลี่ยม และมุมในระหวางดานสองดานนี้ จะไดขอมูลที่เพียงพอสําหรับ นําไปใชเพื่อตัดแผนไมรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการกับชอง

รูปสามเหลี่ยมไดหรือไม

ปญหาที่ 2 สรางโครงหลังคา ชางกอสรางสรางแบบของโครงหลังคาชุดหนึ่งไว แลวสรางโครงหลังคาชุดอื่น ๆ ดวยการวัดความยาวของทอเหล็ก สามชิ้นและตําแหนงบนทอที่จะนําทอเหล็กมาประกอบกันเปน โครงรูปสามเหลี่ยมเทานั้น โดยไมวัดขนาดของมุมเลย โครงหลัง คาที่สรางไดแตละชุดเทากันทุกประการกับแบบของโครงหลังคา หรือไม เพราะเหตุใด

ปญหาที่ 3 หาความกวางของสระน้ํา มีสระน้ําอยูกลางทุงนา ใหนักเรียนนําเสนอแนวคิด ในการหาความกวางของสระน้ํา (ตามแนวเสนประ) โดยใช สมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม

Page 33: Basic m2-1-chapter5

105

คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 5.6

ปญหาที่ 1 ซอมผนังหอง แผนไมรูปสามเหลี่ยมที่ตัดไดกับรูปสามเหลี่ยมบนผนังหองที่เวาแหวง เทากันทุกประการ ดวยสมบัติ ด.ม.ด.

ปญหาที่ 2 สรางโครงหลังคา โครงหลังคารูปสามเหลี่ยมเทากันทุกประการดวยสมบัติ ด.ด.ด.

ปญหาที่ 3 หาความกวางของสระน้ํา (ขนาดของ AB )ตัวอยางคําตอบ

1. ลาก AC ยาวพอสมควร ให O เปนจุดกึ่งกลางของ AC2. ลาก BO ตอ BO ถึง D ให BO = OD3. ลาก CD จะได AB = CD ซ่ึงสามารถหาความยาว CD ไดจากการวัดโดยตรง การแสดงวา AB = CD ทําไดโดยพิจารณา ∆ ABO และ ∆ CDO ซ่ึงมี AO = CO,

BOA ∧ = DOC∧ และ BO = DO จากการสราง ดังนั้น ∆ ABO ≅ ∆ CDO (ด.ม.ด.) ผลที่ตามมาคือAB = CD เพราะเปนดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ ตัวอยางคําตอบที่นําเสนอนี้ใชเพียงเครื่องมือวัดระยะทางโดยไมตองใชเครื่องมือวัดขนาดของมุมนักเรียนอาจนําเสนอคําตอบอยางอื่น เชน ใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่สัมพันธกันแบบ ม.ด.ม. โดยกําหนดให OBA∧ = ODC∧ และ BO = OD ก็เพียงพอตอการพิสูจนวา ∆ ABO ≅ ∆ CDO

A

B

O

D

C