6
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์ ) รายวิชา 20244 Flash สาระการเรียนรูFlash เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถในด้านการสร้างภาพเคลื่อนไหว ( Animation) ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดใน ปัจจุบันสามารถใช้ผลิตสื่อการสอนเชิงโต้ตอบ ( Interactive), สื่อPresentation, เกมส์ , แบบทดสอบ , E-Book, Website, Streaming Video, ฐานข้อมูล , งานกราฟิกและสร้างภาพเคลื่อนไหวหรือแม้แต่ภาพยนตร์การ์ตูนเอนิเมชั่นสามารถนาสื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่งกราฟิกเสียงภาพยนตร์และมัลติมีเดียแทบทุกประเภทมาประยุกต์ใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยสามารถ ควบคุมการทางานแบบพื้นฐานจนไปถึงการเขียนคาสั่งควบคุม ( Action Script) ให้โปรแกรม Flash แสดงผลตามที่เราต้องการ โดยเห็นได้ชัดจากเว็บไซต์ในปัจจุบันแทบทุกเว็บไซต์จะนา Flash เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มความน่าสนใจดูทันสมัยรวมทั้ง จัดการด้านข้อมูลมัลติมีเดีย วันและเวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท2 : วันศุกร์ คาบ 6-7 เวลา 13.50 15.35 . โปรแกรมที่ใช้ในการเรียน Adobe Flash CS6 เหมาะสาหรับ ผู้ที่สนใจการสร้างงานมัลติมีเดียจากโปรแกรม Adobe Flash CS6 ผู้สอน นายณัฐกานต์ เมยเค้า อาจารย์ประจาวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์ ) นางสาวนลิน คาแน่น นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Course Syllabus แฟลช

  • Upload
    nalin-k

  • View
    218

  • Download
    4

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Course Syllabus รายวิชา ง20244 แฟลช

Citation preview

Page 1: Course Syllabus แฟลช

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร)์

รายวิชา

ง 20244 Flash

สาระการเรียนรู้

Flash เป็นโปรแกรมท่ีมีความสามารถในด้านการสร้างภาพเคลื่อนไหว ( Animation) ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบันสามารถใช้ผลิตสื่อการสอนเชิงโต้ตอบ ( Interactive), สื่อPresentation, เกมส์, แบบทดสอบ , E-Book, Website, Streaming Video, ฐานข้อมูล , งานกราฟิกและสร้างภาพเคลื่อนไหวหรือแม้แต่ภาพยนตร์การ์ตูนเอนิเมชั่นสามารถน าสื่อต่างๆเช่นภาพนิ่งกราฟิกเสียงภาพยนตร์และมัลติมีเดียแทบทุกประเภทมาประยุกต์ใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยสามารถควบคุมการท างานแบบพ้ืนฐานจนไปถึงการเขียนค าสั่งควบคุม ( Action Script) ให้โปรแกรมFlash แสดงผลตามที่เราต้องการโดยเห็นได้ชัดจากเว็บไซต์ในปัจจุบันแทบทุกเว็บไซต์จะน า Flash เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มความน่าสนใจดูทันสมัยรวมทั้งจัดการด้านข้อมูลมัลติมีเดีย

วันและเวลาเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 : วันศุกร์ คาบ 6-7 เวลา 13.50 – 15.35 น.

โปรแกรมท่ีใช้ในการเรียน

Adobe Flash CS6

เหมาะส าหรับ

ผู้ที่สนใจการสร้างงานมัลติมีเดียจากโปรแกรม Adobe Flash CS6

ผู้สอน

นายณัฐกานต์ เมยเค้า

อาจารย์ประจ าวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)

นางสาวนลิน ค าแน่น

นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 2: Course Syllabus แฟลช

จุดประสงค์รายวิชา

1. เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโปรแกรม Adobe Flash CS6 (K)

2. เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Adobe Flash CS6 (K)

3. เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในการใช้โปรแกรม และสามารถประยุกต์ความรู้ต่างๆ ในการใช้เครื่องมือในโปรแกรมให้

สามารถสร้างสรรค์ผลงานของตนเองได้ (P)

4. เพ่ือให้นักเรียนสามารถค้นคว้าและฝึกปฏิบัติงาน และแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยเน้นการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียน

เป็นศูนย์กลาง (P)

5. เพื่อให้นักเรียนมีความตระหนักรู้ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และสามารถนาไปประยุกต์ใช้งานและแก้ไขปัญหาที่พบในชีวิตประจ าวันได้ (A)

วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. การบรรยายประกอบการสาธิต 2. การใช้ค าถามในการทดสอบความรู้ของผู้เรียน 3. การท าใบงาน 4. การฝึกปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. การสร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Adobe Flash รายบุคคล สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียน 2. โปรแกรม Adobe Flash CS6 3. Power Point ประกอบการเรียน 4. ตัวอย่างผลงาน

Page 3: Course Syllabus แฟลช

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา(คาบ) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฐมนิเทศ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 - ปฐมนิเทศรายวิชา เนื้อหา และข้อตกลงเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 รู้จักกับ Flash CS6 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 - โปรแกรม Flash คืออะไร

- ขั้นตอนการสร้างภาพเคลื่อนไหวหรือมูฟวี่ - เข้าสู่โปรแกรม Flash - ส่วนประกอบของ Flash - หน้าจอการท างาน (Workspace) - ทดลองใช้งาน Flash ครั้งแรก - การสร้างชิ้นงานใหม่

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวาดรูปลงสี 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 - รู้จักกับชนิดของภาพกราฟฟิก

- หลักการวาดภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ - การระบายสีด้วย Brush Tool - การเทลวดลายด้วย Deco Tool - การปรับแต่งวัตถุด้วย Selectionและ Subselection Tool - การเทสีพ้ืนภาพด้วย Paint Bucket Tool - การใส่สีเส้นขอบด้วย Ink Bottle Tool - การเลือกสีด้วย Eyedropper Tool - การลบส่วนที่ไม่ต้องการด้วย Eraser Tool

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการกับวัตถุ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 - เข้าใจการเลือกวัตถุ

- การเลือกวัตถุด้วย Selection Tool - เลือกวัตถุอิสระด้วย Lasso Tool - การจัดกลุ่มและแยกกลุ่มวัตถุ - การเคลื่อนย้าย คัดลอก และการลบวัตถุ - การวางซ้อน และจัดล าดับวัตถุ (Arrange) - การจัดเรียงวัตถุ (Align)

Page 4: Course Syllabus แฟลช

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา(คาบ) - การปรับวัตถุอย่างอิสระด้วย Free Transform Tool

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การสร้างข้อความ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 - รู้จักข้อความ

- ก าหนดรูปแบบของข้อความ - ตัวอย่างข้อความแบบต่างๆ - แก้ไขและย้ายต าแหน่งข้อความ - แยกส่วนข้อความเป็นรูปทรง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 Symbol และ Instance 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 - การสร้าง Symbol

- พาเนล Library ศูนย์รวมSymbol - การใช้ Instance - การแยก InstanceออกจากSymbol - การแก้ไข Symbol - ลบ Symbol ที่ไม่ใช้ - การน า Symbol จากแหล่งอื่นมาใช้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การใช้งานภาพ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 - ไฟล์ภาพที่น าเข้ามาใช้ใน Flash ได้

- การน าเข้าภาพ Bitmap - การน าเข้าภาพเวกเตอร์ - การแปลงภาพ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 พื้นฐานการสร้างงานแอนิเมชัน 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 - Timeline ส่วนควบคุมแอนิเมชัน

- รู้จักกับ Layer - เฟรมและหลักการสร้างภาพเคลื่อนไหว

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การสร้างงานแอนิเมชัน 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 - การสร้างงานแอนิเมชันแบบเฟรมต่อเฟรม (Frame by Frame)

- การสร้างแอนิเมชันแบบ Tween - การสร้างแอนิเมชันส าเร็จรูป (Motion Presents) - การสร้างแอนิเมชันด้วย Layer Mask - การสร้างงานแอนิเมชันด้วย Bone & Bind Tool

หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 มูฟว่ีคลิปและปุ่มกด 2 คาบ

Page 5: Course Syllabus แฟลช

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา(คาบ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 - การสร้างมูฟวี่คลิป

- การสร้างปุ่มกด หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 การใช้งานเสียง 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 - การน าเข้าไฟล์เสียง

- การน าเสียงมาใช้ในชิ้นงาน - การใช้งานเสียงส าเร็จรูป

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 Project 6 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 - การสร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Flash

การประเมินผล ลักษณะของวิชา 30249 มัลติมีเดีย เป็นวิชาที่เน้นการปฏิบัติ ดังนั้นการประเมินผลจึงเป็นการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ก าหนด โดยตรวจสอบการท างานของนักเรียนในขณะที่ปฏิบัติกิจกรรมและชิ้นงานที่ท าส าเร็จ โดยมีอัตราส่วนการประเมินแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี ้ ส่วนที่ 1 ชิ้นงานที่ปฏิบัติในแต่ละคาบ (ส่วนของคะแนนเก็บ 60 %) ส่วนที่ 2 พฤติกรรมนักเรียน (ส่วนของคะแนนพฤติกรรม 10%) ส่วนที่ 3 คะแนนงานโครงงาน (Project) (ส่วนของคะแนนสอบปลายภาค 30%)

การวัดและประเมินผล คะแนน ส่วนที่ 1 ชิ้นงานที่ปฏิบัติในแต่ละคาบ 1. การปฏิบัติงานและชิ้นงาน

60 คะแนน

ส่วนที่ 2 พฤติกรรมนักเรียน 1. การเข้าเรียน 2. การแต่งกาย,ความสนใจในการเรียน,พฤติกรรม

5 คะแนน 5 คะแนน

ส่วนที่ 3 คะแนนงานโครงงาน (Project) 1. รายงานความคืบหน้าครั้งท่ี 1 2. รายงานความคืบหน้าครั้งท่ี 2 3. การน าเสนองานโครงงาน (Project)

5 คะแนน 5 คะแนน 20 คะแนน

Page 6: Course Syllabus แฟลช

เกณฑ์การผ่านการประเมิน: มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80

ช่วงคะแนน เกรด ช่วงคะแนน เกรด 100-80 4 60-64 2 75-79 3.5 55-59 1.5 70-74 3 50-54 1 65-59 2.5 0-49 0