12
1 รูเทาทันการสื่อสารมวลชนยุคใหม Social Networking Social Networking กับการประชาสัมพันธองคกร กับการประชาสัมพันธองคกร ทวีศักดิกออนันตกูล และ บุญเลิศ อรุณพิบูลย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ความเปนมา ในปจจุบัน ความสนใจของประชาชนผานสื่อแบบตางๆ ไดเปลี่ยนไปมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และความ สะดวกในการสื่อสารสวนบุคคล ซึ่งไปหลอมรวมกับสื่อสารมวลชน และมีวิธีการใหมเกิดขึ้นมากมาย ทั้งนีผลกระทบตางๆ ไดขยายผลไปถึงการทํางานขององคกรและวิธีการที่องคกรสามารถ ขายตรงขอมูลขาวสารไปยังมวลชนดวยตนเองได โดยใชอินเทอรเน็ต ดังนั้น จึงเปนเรื่องสําคัญที่นักประชาสัมพันธ นักการตลาด และผูที่ทํางานดานสื่อสารองคกรตองมา เรียนรูวิธีการใหมๆ และยกเลิกความรูสึกเกาๆ เพื่อทําความเขาใจกับอานุภาพของระบบสื่อสารสมัยใหม ที่เราเรียกกันวา เครือขายสังคม (social networks) โลกเปลี่ยนไปมาก จากการศึกษาเกี่ยวกับการบริโภคสื่อในอเมริกาเมื่อเร็วๆ นีตางก็มีผลออกมาคลายกัน คือ เยาวชนใชเวลาอยูหนา จอคอมพิวเตอรและจอของอุปกรณเคลื่อนที่มากขึ้น โดยที่ไดแซงการใชเวลาหนาโทรทัศนไปแลว คือประมาณ 12.5 ชั่วโมง/สัปดาห (มีการดูโทรทัศนเพียง 10.7 ชั่วโมง/สัปดาห ) เหตุผลที่สําคัญของการใชอินเทอรเน็ตก็คือ เพื่อการติดตอ สื่อสารกับเพื่อนผานทางระบบ email, webboard, blog และ social networks ซึ่งไมใชเว็บธรรมดา แตเปนสิ่งใหมที่เรียก กันวา เว็บ 2.0 การศึกษาที่ยุโรป รายงานวา ในป 2010 บริษัทไมโครซอฟตคาดการณวา คนยุโรป จะใชเวลากับอินเทอรเน็ต มากกวาโทรทัศนในป 2010 คือใชชีวิตเฉลี่ยสัปดาหลง 14.2 ชั่วโมงกับอินเทอรเน็ต เทียบกับ 11.5 ชั่วโมงกับโทรทัศน การใชเวลากับอินเทอรเน็ต รวมถึงเวลาที่บริการบันเทิงออนไลน เชน เกม การดูหนังฟงเพลง ชมการถายทอดสด กีฬา และการแสดงดวย นอกจากนีไดมีการประเมินวา ภาพยนตเกาๆ แทบทุกเรื่อง กําลังจะยายวิกมาใหสามารถชมไดที่บานทางออนไลน ตามเวลาที่เราสะดวก ซึ่งเปนสิ่งที่ทีวีทั่วไปและเคเบิ้ล ไมสามารถทําแขงได ทั้งนี้การชมไมไดจํากัดอยูที่จอภาพ คอมพิวเตอรอีกตอไป ทุกคนสามารถชมผานอินเทอรเน็ตไดดวยตนเอง

NECTEC Social Network

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: NECTEC Social Network

1

รูเทาทันการสือ่สารมวลชนยุคใหมSocial Networking Social Networking กับการประชาสัมพนัธองคกรกับการประชาสัมพนัธองคกร

ทวีศักด์ิ กออนนัตกูล และ บญุเลศิ อรณุพิบลูยสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแีหงชาติ

ความเปนมา

ในปจจบุัน ความสนใจของประชาชนผานส่ือแบบตางๆ ไดเปลี่ยนไปมาก เนือ่งจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และความสะดวกในการส่ือสารสวนบุคคล ซึ่งไปหลอมรวมกับส่ือสารมวลชน และมีวิธีการใหมเกิดขึ้นมากมาย ทั้งนี้ ผลกระทบตางๆไดขยายผลไปถึงการทํางานขององคกรและวิธีการที่องคกรสามารถ “ขายตรง” ขอมูลขาวสารไปยังมวลชนดวยตนเองไดโดยใชอินเทอรเน็ต ดังนัน้ จึงเปนเรื่องสําคัญที่นกัประชาสัมพันธ นกัการตลาด และผูที่ทํางานดานส่ือสารองคกรตองมาเรียนรูวิธีการใหมๆ และยกเลกิความรูสึกเกาๆ เพือ่ทําความเขาใจกับอานุภาพของระบบส่ือสารสมัยใหม ที่เราเรยีกกันวาเครือขายสังคม (social networks) 

โลกเปลี่ยนไปมาก

จากการศึกษาเกี่ยวกับการบริโภคส่ือในอเมริกาเม่ือเรว็ๆ นี้ ตางก็มผีลออกมาคลายกัน คอื เยาวชนใชเวลาอยูหนาจอคอมพิวเตอรและจอของอุปกรณเคลือ่นที่มากขึ้น โดยท่ีไดแซงการใชเวลาหนาโทรทัศนไปแลว คอืประมาณ 12.5ชั่วโมง/สัปดาห (มีการดูโทรทัศนเพียง 10.7 ชั่วโมง/สัปดาห)  เหตุผลที่สําคัญของการใชอินเทอรเนต็ก็คือ เพือ่การติดตอส่ือสารกับเพื่อนผานทางระบบ email, web‐board, blog และ social networks ซึง่ไมใชเว็บธรรมดา แตเปนส่ิงใหมที่เรียกกันวา เว็บ 2.0 

การศึกษาท่ียโุรป รายงานวา ในป 2010 บริษัทไมโครซอฟตคาดการณวา คนยุโรป จะใชเวลากับอนิเทอรเน็ตมากกวาโทรทัศนในป 2010 คอืใชชวิีตเฉล่ียสัปดาหลง 14.2 ชั่วโมงกับอนิเทอรเน็ต เทียบกับ 11.5 ชั่วโมงกับโทรทัศน

การใชเวลากับอินเทอรเน็ต รวมถึงเวลาที่บริการบันเทิงออนไลน เชน เกม การดูหนงัฟงเพลง ชมการถายทอดสดกีฬา และการแสดงดวย

นอกจากนี้ ไดมีการประเมินวา ภาพยนตเกาๆ แทบทุกเรื่อง กําลังจะยายวิกมาใหสามารถชมไดที่บานทางออนไลนตามเวลาที่เราสะดวก ซึ่งเปนส่ิงที่ทีวีทั่วไปและเคเบิ้ล ไมสามารถทําแขงได ทัง้นี้การชมไมไดจํากัดอยูที่จอภาพคอมพิวเตอรอีกตอไป ทุกคนสามารถชมผานอนิเทอรเน็ตไดดวยตนเอง

Page 2: NECTEC Social Network

2

แนวโนม 5 ประการของไมโครซอฟต

บริษัทไมโครซอฟต ไดทํานายแนวโนมของการใชคอมพิวเตอรไว 5 เรื่องดังนี้ (A Window into your Digital

Future)

1. จอสามจอ – เราจะเหน็วาคนจะชินกับจอภาพหลักสามจอ ที่ทําหนาที่ปนกันอยางราบรืน่ – PC, TV และ mobile

2. บริการบันเทิงแบบเชื่อมตอกันหมด

3. เว็บทั้งหมดกลายเปนเครือ่งมือทางสังคม

4. อนิเทอรเน็ตสามมิติ ‐ โลกเสมือนกลายเปนความจรงิ ซื้อของได เที่ยวได พบเพื่อนไดและเลนเกมเสมือนจริงได

5. โทรศัพทเคลื่อนที่จะเปน Smartphone 

วยัรุนอเมริกันใชเวลาดโูทรทศันและออนไลนเพ่ิมข้ึนทุกป แตในป 2007 สถิตขิองการใชเวลาออนไลนไดแซงการใชเวลาหนาจอทีวีไปแลว หากวาเวลาหนาทวีีเพ่ิมข้ึน เวลาอะไรที่หายไป?  เยาวชนอานหนังสอืนอยลงมาก ภาพน้ีแสดงใหเหน็วาเม่ือคนมาพบกัน สวนใหญจะมีเครื่องมือสือ่สารสวนตัวมาดวยเสมอ และใชงานไประหวางที่มีการสงัสรรคกัน [MediaWeek](Photo by Derek Baird)

Page 3: NECTEC Social Network

3

จอสามจอ เชื่อมตอกันหมด

จากคําทํานายแนวโนมของบรษัิทไมโครซอฟตผสานกับขอมูลเทคโนโลยีในปจจุบนั พบวาการหลอมรวมของเทคโนโลยีส่ือสาร คอมพิวเตอรและขอมูลมัลติมเีดีย ทําใหเกิดบริการใหมๆ คอมพิวเตอรเร็วขึ้น จอภาพสีแบบ LCD ราคาตํ่าลง ภาพสวยงาน เปนทีแ่พรหลาย โทรทัศนผลติดวยกลองแบบดิจิทัล สถานีทํางานเปนดิจทิัล ออกอากาศแบบดิจิทัล ส่ิงที่สามารถพบเปนไดทั่วไป คอื

• รายการโทรทัศนเสนอขาวที่มาจากเว็บ

• ดูวิดีโอ ทีวี ไดทางเว็บ

• พูดโทรศัพททางอินเทอรเน็ตไดฟรี หรอืเกือบฟรี

• ดูหนงัฟงเพลงผานมอืถือ

• สงขอความส้ันใหเพือ่นผานเว็บฟรี

• สงภาพจากกลองมือถอืไปออกในโทรทัศน

การใชอนิเทอรเนต็ของยคุ พ.ศ. 2552 มักจะควบคูกับการใชโทรศัพทมอืถือที่สงขาวส้ันไปยงัคนตางๆได และลาสุด การสงขอความจะไมสงผาน SMS อีกตอไป แตเปนการสงระบบอนิเทอรเน็ต (ใช GPRS คิดเงนิเปนรายเดือน) สงไดไมอั้น ไมตองเสียเงินขอความละสามบาทตอไป สงผลใหเกิดระบบส่ือสารมวลชนแบบสื่อสวนบุคคล และส่ือแบบมีสวนรวมเหน็ไดชัดจากท่ีเกิดเว็บไซตใหมๆ จากมือสมัครเลนแตมีผลงานระดับมอือาชีพนําเสนอขาวสาร สาระความรู บางเว็บมีความเร็ว ทนัสมยัมากกวาเว็บส่ือสารมวลชนที่มีอยูเดิม นอกจากนีห้นวยงานท่ีทําหนาที่ส่ือสารมวลชนหลายแหงก็ใหผูชมมีสวนรวมในการสรางสรรคขาว นําเสนอขาวผานระบบกลองถายภาพท่ีมาพรอมกบัโทรศัพทมอืถอืแลวสงตรงไปยังสถานีกระจายสัญญาณไดทันที

ผลสํารวจของ Pew Internet & American Life Project พบวา รอยละ 57 ของวัยรุนอเมริกนัเปนผูสรางเนือ้หาสารพัดบนอนิเทอรเน็ต ต้ังแตขอความ รูปภาพ ดนตร ีไปจนถึงวิดีโอ การปฏิวัติส่ือครั้งนี้จะทําใหเรากาวเขาสูยุคแหงความร่ํารวยทางวัฒนธรรม ความคิดสรางสรรค และความหลากหลาย ตลอดจนการมีทางเลือกท่ีมากมายมหาศาลอยางที่เราไมเคยพบมากอนในประวัติศาสตร และสื่อยุคใหมที่ผลิตโดยคนทั่วไปจะกลายเปนพลังที่สําคญัที่สุดของอุตสาหกรรมส่ือในยุคหนา

เครื่องมือเพื่อการใชอินเทอรเน็ตสมัยใหม

ภาพของการใชอนิเทอรเน็ตในสมัยแรกๆ คอืการใช email และการเขาชมเว็บ แตในปจจุบนั มีส่ิงใหมๆ เกิดขึ้นมากมาย สวนใหญจะเปนระบบที่ชวยใหเราสามารถโตตอบส่ือสารกับคนท้ังแบบสวนตัว และกับคนหมูมากไดงายขึ้น รวมทั้งการเขียนลงไปในเว็บไดโดยตรง กิจกรรมการเขยีนลงเว็บในฐานะผูใชอยางสะดวก มชีื่อเรยีกวา เว็บ 2.0   สวนความสามารถในการติดตอกับคนจํานวนมาก โดยมีวิธีการ “สมัครเปนเพื่อน” หรือ “ขอติดตามขาว” จะเรียกวาเปน เครือขายสังคม (social network)

Page 4: NECTEC Social Network

4

เทคโนโลยี 2.0 เปนคําที่ใชเรยีกภาพรวมของการใชเทคโนโลยีอินเทอรเนต็และเวบ็จากเดิม สูรปูแบบใหม ทีอ่ยูบนพืน้ฐานของ Web as an applications platform, Democratizing the Web และ Employing new methods to distribute

information ตามแนวคิดของ Tim O'Reilly นับเปนคําเรียกแทนยคุใหมของเว็บนั่นเอง ในยุคแรกของเว็บ ผูเขียนก็คือผูเขียน ผูอานก็คอืผูอาน เว็บเหมือนกับวิทยุหรอืโทรทัศน คอืเปนส่ือทางเดียว แตในยคุท่ีสอง เว็บ 2.0 คอืเครือ่งมือส่ือสารสองทาง ผูชมรวมเขียนได บางเว็บ ผูสรางจดัใหแตเวที ใหผูใช เปนทัง้ผูอานและผูเขียนทั้งหมด จนตองมีคําใหมๆ เกิดขึน้เชน เครอืขายสังคม (social networks) เว็บสังคม (social webs) เปนตน ตามภาพและคําอธิบายขางลาง

แตเดิมการพฒันาเว็บไซตมักจะมาจากความตองการของหนวยงาน และ/หรือผูพฒันาเว็บไซต การนําขอมูลจากบุคลากรตางๆ ในหนวยงานเผยแพรผานเว็บผานการควบคมุดวยหัวหนา หรอืผูดูแลเว็บ แมกระทั่งเจาของเนื้อหาก็ยงัตองผานผูดูแลเว็บเปนผูนําเขาให อีกท้ังการเชื่อมตอเนื้อหากับเว็บอืน่ๆ เปนไปไดยาก หรอืซับซอน ดังนัน้เว็บไซตใดท่ีมีลักษณะขางตน มักจะเรียกวาเว็บยุคแรก หรือ 1.0 ดวยเครือขายอนิเทอรเน็ตที่มผีูใชมากขึน้ มกีารนํามาใชเชงิธุรกิจมากขึน้ ความเร็วของการส่ือสารเพิ่มขึน้ รวมทั้งเครือ่งคอมพวิเตอรที่ราคาถูกลง ทําใหการพัฒนาเว็บไซตมีการปรบัเปลี่ยนรปูแบบไปอยางมาก คลายๆ กับการกาวสูยุคใหม จงึมกีารต้ังชื่อวา เว็บ 2.0 ซึง่การสรางเว็บ จะเนนการทําใหผูใชสามารถปรับแตงเว็บไดเอง ผูพัฒนาจะปรบัความสามารถของเว็บไปตามความนิยมของผูใช เชน เปดโอกาสใหทุกคนหรอืผูใชมีสิทธ์ิเขียน ปรบัแกไขเนื้อหาไดอิสระ ดังเชน เว็บไซตสารานุกรมออนไลนขนาดใหญของโลก คือ Wikipedia ซึง่เปนตนแบบเว็บ 2.0 ที่นาสนใจ เนื่องจากเปดระบบใหทุกคนทัง้ที่เปนสมาชิกและไมเปนสมาชิกเขาไปสราง แกไขเนื้อหาไดอิสระ โดยอยูบนความเชื่อที่วา ทุกคนมีอิสระเสรใีนการสรางสรรคเนื้อหา แสดงความคิดเห็น และทุกคนเปนผูรวมตรวจสอบเนื้อหาใหถูกตองภายใตแนวคิดประชาธิปไตยออ นไลนอยางเต็มรปูแบบ

ตัวอยางของเว็บไซตที่เปนเว็บ 2.0 มหีลายแหง เชน Youtube เปนที่สําหรบัใหทุกคนสงภาพวิดีโอของตนเองหรอืขององคกรไปฝาก แลวใหคนทุกคนเขามาชม ผูใชแตละคน สามารถสราง “สถานีโทรทัศน” (channel) ของตนเองไดสามารถมีแฟนคลับของตนเองได ผูทีแ่วะมาชมเรือ่งหนึ่งเรือ่งใด ก็สามารถเขียนความเหน็ หรือสงวิดีโอตอบกลับมาเสริมหรือแสดงความขัดแยงได Facebook เปนทีร่วมภาพหนาของนกัศึกษา ใชแทนสมุดรวมภาพถาย แตขยายเปนเว็บไซตที่ใหญโตมาก เพราะใชแทนการทําหนังสือรุนของทุกสถาบันทั่วโลกไดเลย ขณะนี้ (กรกฎาคม 2552) มีผูใชบริการกวา 250ลานคน หากเทียบเปนประเทศแลว ก็จะเทากับอันดับที่ 5 ของโลก (อยูระหวางอันดับ 4 ประเทศสหรฐัอเมริกา 307 ลานคนกับอนัดับ 5 ประเทศอินโดนีเซยี 230 ลานคน) 

เทคโนโลยีเว็บ 2.0 และเครือขายสังคมที่อยูบนฐานของไอซีที สงผลใหเกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนการรับรู การเรียนรู การมีสวนรวม และการแลกเปล่ียนขอความ เนือ้หา ความคิดเหน็ ทัศนคติซึ่งกันและกันเปนไปไดอยางรวดเร็วโดยมีการพัฒนาซอฟตแวรและเครื่องมือชวยเหลือที่หลากหลาย ทั้งที่เปนเครื่องมอืฟร ีและที่ตองใชเงินจัดหาพัฒนา

Page 5: NECTEC Social Network

5

ทามกลางส่ิงใหมๆ จํานวนมาก เอกสารนี ้จะพยายามนําเสนอใหรูหลกัการของเครอืขายสังคมอยางงายที่เราพอจะเริ่มตนไดไมยากเกินไป ทั้งนี้ทานผูอานอาจจะตองใชเวลาทําความเขาใจ รวมท้ังไปลองทําเอาเองทางคอมพิวเตอร เพื่อใหเกิดความคุนเคยเบื้องตน แตรับรองวางายมาก เพราะเด็กๆ ก็ทํากันไดเองอยูแลว

เริ่มที่การใชจดหมายอิเลก็ทรอนิกส

จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Email) ส่ือพืน้ฐานของการใชอนิเทอรเน็ตที่มีการใชกันอยางกวางขวาง และยาวนานมาแลวอยางไรก็ดีเราควรใหความสําคญักับการเลือกใชอีเมลที่เหมาะสม หากมีการใชอเีมลเพื่อรับ/สงขอมูลหนวยงาน ควรใหความสําคัญกบัการใชระบบอีเมล ของหนวยงานมากกวาการใชอีเมลฟร ีรวมทัง้การประกาศ/เผยแพรบัญชกีารรับ/สงอีเมล(email account)  รวมทั้งประเด็นเพิ่มเติม ดังนี้

• การรบั/สงอีเมล ควรระบุชือ่/นามสกุลของผูรบัแทนที่จะระบุเฉพาะ email address 

• ควรมีการแสดงขอความกํากับทายจดหมายที่สง (Signature) 

• ควรกําหนดกลุมผูรับ (Group Mail) ใหเหมาะสม

• ควรใชภาษาที่เหมาะสม

Page 6: NECTEC Social Network

6

• ควรทําใหขอความส้ัน กระชับ

• ควรต้ังนาฬิกาของเครื่องใหเที่ยงตรง (ต้ังเวลากับ time server) 

• ควรแปลงไฟลแนบท่ีไมยาวนักเปนสวนหนึ่งของขอความหลักใน email 

• ไมควรสงขอความและไฟลแนบท่ีไมจําเปน

• ไมควรแนบไฟลขนาดใหญ (เกิน 5MB) เพราะอาจทําให inbox ผูรับลน ใหใชวิธี download แทนโดยใชบริการ Web 2.0 เชน http://www.4shared.com/ หรือ https://www.yousendit.com/

• ใหความสําคญักับการใชคําศัพทที่ถกูตอง เชน Internet อนิเตอรเนต็ อนิเตอรเน็ท อินเตอรเนต ที่ถูกตองคอื อนิเทอรเน็ต Web site เว็ปไซต เว็บไซด ที่ถูกตองคือ เว็บไซต Electronics อิเลคทรอนิกส อิเลก็ทรอนิค อเิล็กทรอนกิ อเิล็กทรอนคิส ที่ถกูตองคือ อิเล็กทรอนกิส Software ซอฟทแวร ที่ถกูตองคอืซอฟตแวร Column คอลัมภ ที่ถกูตองคอื คอลัมน และ Optic ออฟติก ออปติก ที่ถกูตองคอื อ็อปติกทั้งนีส้ามารถตรวจสอบเบือ้งตนไดที่ http://www.royin.go.th

การกําหนดช่ือ นามสกุลผูรับอีเมล กรณ ีhotmail

การกําหนดชื่อ นามสกุลผูรบอีเมล กรณีที่ใช hotmail ทําไดโดยล็อกอนิเขาสูระบบ hotmail แลวเมน ูContact Listเขาสูการสรางรายการใหม หรือแกไขรายการเดิม และระบุชือ่ นามสกุลผูรบักํากับ email address 

การกําหนดขอความทายจดหมาย กรณ ีhotmail

สําหรับขอความทายจดหมาย สามารถกําหนดไดโดยเลอืกรายการ Options, More Options, Personal e‐mail

signature จากนั้นปอนรายการขอความทายจดหมาย

Page 7: NECTEC Social Network

7

การกําหนดกลุมผูรับ (Group mail) กรณี hotmail

การรบัสงอเีมลไปยงับุคคลหลายๆ คน อาจจะสรางความยุงยาก และตกหลนไดในการสงครั้งตอๆ ไป วิธีการท่ีสะดวก รวดเรว็คือ การสรางกลุมผูรับ โดยแตละกลุมสามารถมี email address ไดหลายบญัชี โดยกําหนดกลุมผูรับอีเมลไดโดยเลือกเมน ูContact List, Categories, New Categories ระบุชื่อและคําอธิบายกลุมผูรบัอีเมล จากนั้นกลับมาที่ ContactList เลือกบัญชีผูรับที่ตองการ จากนัน้เลือก Categories และคลิกเลอืกกลุมผูรับที่ตองการ

การต้ังเวลาเครื่องคอมพิวเตอรใหเปนมาตรฐาน

กรมอุทกศาสตร กองทัพเรอื และ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (http://www.nimt.or.th) เปนหนวยงานของประเทศไทยที่มีอํานาจหนาที่ใหเวลามาตรฐานแกประเทศ ทั้งนี ้ในยุคคอมพิวเตอร การกําหนดเวลามาตรฐาน ไมไดเปนแบบสมัยกอน กลาวคือเครื่องคอมพิวเตอรของเรา สามารถขอเทียบเวลาผานระบบอินเทอรเน็ตไดเลย วิธีทํา ในวินโดวสใหเขาทาง Control Panel/Date & Time และใหระบชุื่อเครื่องคอมพวิเตอรอางอิง (Internet time server) เปนtime1.nimt.or.th หรือ time2.nimt.or.th หรือ time3.nimt.or.th (เลือกเอาช่ือเดียว) หรือจะอางองิตามขอกําหนดของหนวยงานตนสังกัด เชน ที่ สวทช. มีระบบนาฬิกาอางองิเปนของตนเอง และบรกิารใหกับสาธารณชนเชนกัน (ชือ่clock.nectec.or.th, clock.nstda.or.th)

Page 8: NECTEC Social Network

8

การเขียนขอความส้ันใหเปนประโยชนตอการสือ่สารที่มีประสิทธิภาพ

กระแสการสงขอความส้ันมมีานานแลวทั้งในรูปแบบขอความดวยคอมพิวเตอร เชน ICQ, MSN และผานโทรศัพทมือถอื เชน SMS ซึง่เปนการสงขอความส้ันไปยังบุคคล หรอืกลุมคนเพียงจํานวนไมมากในเวลาเดียวกัน แต ณ ขณะนี้การสงขอความส้ันที่สงไปยังคนนับพัน นับหมื่น ผานอปุกรณที่แตกตางกัน ไมจํากัดวาผูรบัจะตองใชเฉพาะโทรศัพทมือถอืหรือคอมพวิเตอร โดยเทคโนโลยีที่นยิมมากท่ีสุดในขณะนีเ้รียกวา Twitter (http://twitter.com) เปนรูปแบบการสงขอความส้ันความยาวไมเกิน 140 ตัวอักษร ผานเว็บไซตหรือโทรศัพทมอืถอืที่ลงทะเบียน Twitter ไปยังผูรบัที่มารวมตอบรับเครือขายไมจํากัดสถานท่ี และจํานวนไดอยางรวดเร็ว นบัเปนกระแสใหมของการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพสูงมาก แมกระท่ังยักษใหญวงการส่ิงพิมพอยาง CNN ยงัตองเลอืกใชบริการ Twitter 

ตนกําเนิดของ Twitter เริ่มเมื่อป พ.ศ. 2551 โดย Jack Dorsey และกลุมเพือ่นวัย 30 เศษ พวกเขาเกิดปงไอเดียการสงขอความส้ันๆ ในหวัขอคําถาม “คุณกําลังทําอะไรอยู” กับเพื่อนฝงูและผูติดตามอาน Microblog มาจากการไปรวมงานเทศกาลแสดงดนตรีเซาทเวสต เมื่อเหลาแฟนเพลงใชรปูแบบการพูดคุย แสดงความคิดเห็นและนัดหมายระหวางกนัผานการส่ือสารในรูปแบบนี้

Page 9: NECTEC Social Network

9

นบัต้ังแตนั้นเปนตนไป Twitter ไดมีอิทธิพลแผขยายไปอยางรวดเร็ว ทําใหนักการตลาดหลายตอหลายคน หยิบฉวยใชเปนเครือ่งมือในการโฆษณาประชาสัมพันธอีกรูปแบบหนึง่ รวมทั้งนักการเมืองอยางนายบารัก โอบามาประธานาธิบดีสหรฐัอเมริกาคนปจจุบัน ก็ใชเปนเครือ่งมือหนึง่ในชวงการรณรงคหาเสียงเลอืกต้ังประธานาธิบดี จนตอนนี้ผูนําประเทศตางๆ ทัว่โลก และเหลานกัการเมือง ดารา นกัรอง โฮโซ ทั้งหลาย ตางรบีสมัครเปนสมาชิกของ Twitter สงผลใหบรรดาแฟนๆ สมัครตามกันเปนทวิแถวเพื่อขอเปนผูติดตาม (Follower) อานกิจกรรม ความคิดของเหลาคนดัง

การใช Twittter ยังรวมถึงการนําขอความจากเว็บไซตที่บริการ RSS มาแสดงและกระจายดวย โดยดึงมาเพียง 140ตัวอักษรพรอมทําจุดเชื่อม (Link) กลับไปตนแหลงขอมูล ผานบริการของ Twitterfeed.com ซึง่เหมาะสําหรบัการจดัทําชองทางประชาสัมพนัธจากเว็บไซตลูกของหนวยงานที่มจีํานวนเว็บไซตมาก และตองการเผยแพรขอมูลผานชองทางเดียวตัวอยางเว็บไซตของ สวทช.

การใชระบบสงขาวและรวมขาวอัตโนมัติ

ระบบสงขาวที่ไดรับความนยิม ยอมรับ และมีประสิทธิภาพสูงมากในปจจุบัน คงหนีไมพนระบบสงขาวแบบ RSS(Really Simple Syndication) ที่อยูบนพื้นฐานของเทคโนโลยี XML หลกัการของ RSS ก็คอื การนําเนือ้หาหรือขาวจากเว็บไซตแปลงใหเปนฟอรแมตเฉพาะดวยภาษา XML จากนั้นจึงเปดใหเครือ่งมืออานขาว หรอืที่รูจักกันในชื่อ RSS Readerมาดึงเนื้อหา/ขาวนั้นไปนําเสนอในรูปแบบส้ันที่มีคําอธิบายพอสมควร และมีจุดเชือ่มกลับมายังตนฉบับ

Page 10: NECTEC Social Network

10

ในอดีตการพัฒนา RSS อาจจะเสียเวลา แตดวยเทคโนโลยี CMS (Content Management System) และ Web 2.0

ทําใหเครือ่งมือท่ีนํามาออกแบบพัฒนาเว็บไซตสามารถแปลงเนือ้หา/ขาวที่นําเสนอผานเว็บ เปนฟอรแมตภาษา XML ตามขอกําหนดของ RSS ไดอัตโนมัติ โดยสังเกตไดจากสัญลักษณ

คุณลกัษณะเดนของ Web 2.0 และ Social Network 

งายตอการสรางและแลกเปลี่ยนเน้ือหา (Easy content creation & sharing)

การนําเนื้อหาข้ึนเว็บในชวงที่ผานมาอาจจะสรางภาระใหกับผูนําเขาหลายๆ ทาน และบอยครัง้ที่หนวยงานตองประสบปญหาทําใหขอมูลในเว็บแทบจะไมมีการปรับ ปรุง หรอืที่เรียกวา เว็บนิ่ง เนือ่งจากผูนําเขาจะตองศึกษาหาความรูหลากหลายดาน ทั้งภาษา HTML ที่จําไดยาก ปอนแลวแกไขยาก รวมทั้งตองใชโปรแกรมกราฟกจัดเตรียมภาพใหเหมาะสมกอนนําเขา การใชงานโปรแกรมโอนขอมูลเขาสูระบบ หรอือาจจะตองมคีวามรูถงึระดับโปรแกรมมิ่งบนเว็บเพื่อใหไดลูกเลนที่ตองการ ทําใหการนําเขาเนื้อหาบนเว็บ มกัจะผูกขาดที่กลุมคนกลุมหนึง่ ซึ่งก็คือ Web Master สงผลใหการนําเขาการปรับปรุงแกไข การออกแบบกราฟกเปนภาระหนักพรอมๆ กับการดูแลเว็บไซต เครื่องแมขายเว็บ และระบบตางๆ ที่

ตัวอยางเวบ็ไซตท่ีบริการ RSS

Page 11: NECTEC Social Network

11

ตองทํางานผสานกัน

แตดวยเทคโนโลยีเว็บ 2.0 ที่เหน็ถงึปญหาขางตน ผูออกแบบพัฒนาเว็บไซตและเครือ่งมือพฒันา/บริการตามเทคโนโลยีเว็บ 2.0 จะใหความสําคัญกับผูใชโดยเฉพาะเจาของเนือ้หามากขึน้ โดยเตรียมฟงกชนัการนําเขาเนื้อหาสะดวกไมยุงยากซบัซอน เรียนรูไดงาย รวดเร็ว เบ็ดเสร็จในตัว พรอมใชงาน

หากทานไดลองศึกษาและใชงานบรกิารของ Blog เชน blog.com หรือ wordpress.com จะพบวาเครื่องมอืนําเขาขอมลูเปนเครือ่งมือที่งายมากๆ รองรบัทั้งขอความ แฟมเอกสาร PDF แฟมภาพพรอมฟงกชันยอภาพ แฟมเสียง และวีดิทัศนฟอรแมตตางๆ

ทํางานรวมกนัแบบออนไลน (Online Collaboration)

การรวมกันสรางสรรคเนือ้หาใดๆ ในรูปแบบเว็บไซตอาจจะทําไดยาก เนือ่งจากผูสรางสรรคผูนําเขา และผูมีสวนรวมอืน่ๆ เชน ผูอานจะไมมีสิทธ์ิเขามาดําเนนิการปรับปรงุแกไขเนือ้หาได อนัเนือ่งจากระดับความรูทีแ่ตกตางกัน นโยบายเพื่อรักษาความปลอดภัย และอืน่ๆ ทําใหเนือ้หาที่นําเสนอผานเว็บไซตทั่วไปมักเปนเนื้อหาท่ีตองผานการทํางาน รวมกนัแบบปกติ ใหไดเนือ้หาสรุปกอนจึงจะนํามาเผยแพรผานเว็บ และหากมีการปรับแกไขก็ตองดําเนนิการแกไขเกอืบทั้งหมดหรอืทั้งหมดแทนที่ เนื้อหาเดิม อกีท้ังไมสามารถติดตามรุนของการแกไขได วิกิ (Wiki) นบัเปนซอฟตแวรที่มาปฏิวัติการสรางเนื้อหาไดอยางเหน็ไดชัดท่ีสุด เว็บไซตวิกิพีเดียสารานุกรมออนไลนขนาดใหญของโลก เกดิขึ้นจากความรวมมือกันของคนจํานวนมากที่แทบจะไมเคยรูจัก หรือพบปะกันมากอนเลย มาจากทุกประเทศทั่วโลกรวมกันสรางสรรคบทความจนเปนที่ยอมรบัวามีคุณภาพ เพราะทุกคนมีสิทธ์ิตรวจสอบความถูกตอง แนะนํา แสดงความคิดเห็น และปรับแกไขไดทันที

การพัฒนาเว็บไซตหรือซอฟตแวรสําหรับบริการดวยเทคโนโลยีเว็บ 2.0 จึงหนไีมพนที่จะตองพิจารณาถงึความสามารถของเว็บและ/หรือซอฟตแวรที่ อนญุาตใหทุกคนมีสวนรวมในการสรางสรรค ปรับแกไขเนือ้หารวมกัน

ส่ือสารกันและกันไดงาย (Conversations)

เว็บไซตทั่วไปอาจจะอนญุาตใหผูใชอานไดเพยีงอยางเดียว หรอืหากจะมีชองทางการส่ือสารก็จะตองผานทาง e‐Mail ซึง่ไมตอบรับกับกระแสการใหบริการเชิงรกุท่ีตองการเปดโอกาสใหมกีารสื่อ สารสองทาง หรือส่ือสารไดทันที (Realtime) หรอืผูใชคนที่สอง สาม และสี่ก็จะไมทราบวาผูใชคนที่หนึง่ส่ือสารกับผูดูแลเว็บ และเจาของเนื้อหานัน้ๆ อยางไร การเปดชองทางส่ือสารที่กวางขึน้เปนแนวทางหนึ่งของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 ดังเชน Blog ไดนําฟงกชนั comment มากํากับเนื้อหาที่นําเสนอ ผูอานเนือ้หาสามารถแสดงความคิดเห็นและปรากฏผลไดทันที รวมทั้งความคิดเห็นนั้นจะถูกสงไปยังผูเกี่ยวของมากกวา 1 คนเพื่อใหทราบวามีคนเขามาแสดงความคดิเหน็ และผูเกี่ยวของกับเนื้อหาที่ไดรบัอเีมลก็สามารถตอบกลับไปทันทวงที อีกท้ังขอความแนะนําของผูอานจะปรากฏตอทายเนือ้หาเพือ่ใหผูอานทาน อื่นแสดงความเห็นรวมกันไดดวย

นอกจากนี้อาจจะมีลูกเลนในการส่ือสารอื่นๆ เชน การให permalinks (Permanent links) ซึง่เปนลงิกของเนือ้หาที่ออกแบบมาเพื่อใหผูอานสะดวกในการนําเนื้อหาไป อางอิงแทนที่จะตองจํา URL ที่ยาวๆ หรือซับซอน หรือฟงกชันTrackback ที่ชวยใหทราบวามีใครบางมาอางอิงเนื้อหาจากเว็บไซตของเรา

Page 12: NECTEC Social Network

12

การเพิ่มชองทางส่ือสารยังรวมถึงการนํา IM (Instant messaging) และ VoIP (Voice over IP) มาใชดวยเชนกนั โดยIM จะชวยใหกลุมคนมากกวา 2 คนสามารถส่ือสารแบบเรียลไทมไดสะดวกโดยการพิมพ หรือพดูพรอมภาพหากมีอุปกรณเชือ่มตอครบถวน ในขณะที่ VoIP ก็เปนลักษณะเดียวกับการพูดคยุดวยโทรศัพทเพียงแตเปลีย่นเปนการใช เครือ่งคอมพิวเตอรพรอมอปุกรณส่ือสารพูดคุยกันผานเครือขายอินเทอรเนต็ นัน่เอง

ขอควรระมัดระวงัในการใช Web 2.0 และ Social Network

ทุกๆ ส่ิงเมื่อมีดานดี ก็ยอมมีดานราย หรอืดานลบ Web 2.0 และ Social Network ก็เชนกนั ทุกอยางเปนระบบเปดส่ือสารขามทวีป ขามโลก เปดทุกขอความ ทุกความเหน็ และทุกส่ือที่เผยแพร ดังนัน้ผูใชเครื่องมือนี้ ควรตระหนักถึงประเด็นขางตน ขอมูลสวนตัวหลายอยางไมควรระบุละเอียดหรอืเปดเผยมากเกินไป เชน เลขท่ีบัตรประจําตัวประชาชน วันเดือนปเกิด หรอืควรศึกษาเทคนคิการปกปดขอมูลสวนตัวดวยฟงกชัน Privacy ซึง่ผูใชจํานวนมากเนนการใชเครื่องมอืมากกวาการเขาไปอานฟงกชันการทํางานของเครือ่งมือที่เหมาะสม

อยาลมืวาเอกสารท่ีเผยแพร ขอความท่ีเผยแพรเปนขอความ/ส่ือแบบเปด หากตระหนกัในประเด็นนี้ ก็คงจะทําใหสามารถตัดสินใจและเลือกเผยแพรขอความ/ส่ือไดอยางเหมาะสม รวมทั้งการเลอืกเครื่องมือในกลุม Web 2.0 และ SocialNetwork ที่เหมาะสมดวย

เอกสารอางอิง

1. การศึกษาท่ีสหรฐัอเมริกา “American teenagers spend more time online than watching television [Death

Of Print]” ดูไดจากเว็บ http://www.phreak20.com/mt/mt‐search.cgi?tag=Life&blog_id=1&limit=20

2. การศึกษาท่ียุโรป “Europe Logs On”  ดูไดจากเว็บ http://www.slideshare.net/crossthebreeze/europe‐logs‐on‐1262605?src=embed

3. http://www.pewinternet.org/Reports/2005/Teen‐Content‐Creators‐and‐Consumers.aspx   

4. การต้ังเวลามาตรฐาน http://www.nimt.or.th/nimt/Announcement/index.php?

menuName=news_detail&menuNameOld=&type=hotissue&NewsId=72

5. http://en.wikipedia.org/wiki/Jack_Dorsey