27
เอกสาร กลุมสาระก รายวิชา พ21101 สุข เลมที่ 1 ระบบ นางสาวศิริพร ตําแหนง ครู วิทยฐา สํานักงานคณะกร รประกอบการเรีย การเรียนรูสุขศึกษาและพลศึก ขศึกษา ชั้นมัธยม เรื่อง พัฒนาการ บประสาท สิทธิกูล านะ ครูชํานาญการ โรงเรียนส สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศ รรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรว ยน กษา มศึกษาปที่1 ารแหงชีวิต สิริรัตนาธร ศึกษา เขต 2 วงศึกษาธิกา

Nervous system

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Nervous system

เอกสารประกอบการเรียนกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชา พ21101 สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

เรื่อง พัฒนาการแหงชีวิตเลมท่ี 1 ระบบประสาท

นางสาวศิริพร สิทธิกูลตําแหนง ครู วทิยฐานะ ครูชํานาญการ

โรงเรียนสิริรัตนาธรสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารประกอบการเรียนกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชา พ21101 สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

เรื่อง พัฒนาการแหงชีวิตเลมท่ี 1 ระบบประสาท

นางสาวศิริพร สิทธิกูลตําแหนง ครู วทิยฐานะ ครูชํานาญการ

โรงเรียนสิริรัตนาธรสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารประกอบการเรียนกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชา พ21101 สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

เรื่อง พัฒนาการแหงชีวิตเลมท่ี 1 ระบบประสาท

นางสาวศิริพร สิทธิกูลตําแหนง ครู วทิยฐานะ ครูชํานาญการ

โรงเรียนสิริรัตนาธรสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: Nervous system

คํานําคํานํา

เอกสารประกอบการเรียน หนวยการเรียนรู ท่ี 1 เรื่อง พัฒนาการแหงชีวิต กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาเลมนี้ จัดทําข้ึนเพ่ือใชเปนสื่อประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ในกลุมสาระการเรียนรู สุข ศึกษาและพลศึกษา ชั้น มัธยมศึกษาป ท่ี 1 มุ ง เนนนักเรียนเปนสําคัญ นักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหา และทํากิจกรรมดวยตนเอง โดยมีครูผูสอนคอยใหคําแนะนําและชวยเหลืออยางใกลชิด ท้ังนี้เพ่ือใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจ และสามารถนําความรูท่ีไดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

ขอขอบคุณผูท่ีใหคําแนะนํา ใหคําปรึกษาและมีสวนเก่ียวของทุกทาน จนเอกสารประกอบการ เ รี ยน เล มนี้ สํ า เ ร็ จลุ ล ว ง ไปด วยดี ห วั ง เป นอย า งยิ่ ง ว า เ อกสารประกอบการ เ รี ยนเลมนี้จะอํานวยประโยชนแกผูท่ีมีสวนเก่ียวของในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตอไป

นางสาวศิริพร สิทธิกูล

Page 3: Nervous system

สารบัญสารบัญ

เรื่อง หนา

คําแนะนําในการใชเอกสารประกอบการเรียน .................................................... 1จุดประสงคการเรียนรู.......................................................................................... 2แบบทดสอบกอนเรียน......................................................................................... 3เนื้อหาบทเรียน : ระบบประสาท ........................................................................ 5กิจกรรมทายบทเรียน............................................................................................ 14

- ใบกิจกรรมท่ี 1 โครงสรางของระบบประสาท......................................... 14- ใบกิจกรรมท่ี 2 สวนประกอบตาง ๆ และหนาท่ีของสมอง..................... 15- ใบกิจกรรมท่ี 3 การดูแลรักษาระบบประสาท........................................ 16

บรรณานุกรม....................................................................................................... 19ภาคผนวก............................................................................................................ 20

- เฉลยกิจกรรมทายบทเรียน ใบกิจกรรมท่ี 1 โครงสรางของระบบประสาท 21- เฉลยกิจกรรมทายบทเรียน ใบกิจกรรมท่ี 2 สวนประกอบตาง ๆ และ

หนาท่ีของสมอง..................22

- เฉลยกิจกรรมทายบทเรียน ใบกิจกรรมท่ี 3 การดูแลรักษาระบบประสาท 23- เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน............................................ 24

Page 4: Nervous system

คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการคําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนเรียน

เอกสารประกอบการเรียนหนวยการเรียนรูท่ี 1 เรื่อง พัฒนาการแหงชีวิต กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 เลมท่ี 1 เรื่อง ระบบประสาท เลมนี้เปนเอกสารท่ีนักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหา และทํากิจกรรมไดดวยตนเอง โดยมีครูผูสอนคอยใหคําแนะนํา และชวยเหลืออยางใกลชิด นักเรียนจะไดรับความรูอยางครบถวน พรอมท้ังสามารถนําความรูท่ีไดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

เพ่ือใหการใชเอกสารประกอบการเรียนเลมนี้เกิดประสิทธิภาพ นักเรียนควรปฏิบัติตามลําดับข้ันตอน ดังนี้

1. ศึกษาคําแนะนําในการใช และจุดประสงคการเรียนรูใหเขาใจ2. ทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 10 ขอ โดยตอบในกระดาษคําตอบท่ีครูแจกให3. ศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับ “ระบบประสาท” ในเอกสารประกอบการเรียนใหเขาใจ4. ทํากิจกรรมทายบทเรียน5. ทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ โดยตอบในกระดาษคําตอบท่ีครูแจกให6. ตรวจเฉลยคําตอบกิจกรรมทายบทเรียน และแบบทดสอบกอนเรียนหลังเรียน

ในทายภาคผนวก7. สงเอกสารประกอบการเรียนคืนในสภาพท่ีสมบูรณดังเดิม8. ขอใหนักเรียนทํากิจกรรม และแบบทดสอบดวยความซื่อสัตยตอตนเอง

1

Page 5: Nervous system

จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายโครงสราง และหนาท่ีของระบบประสาทได2. อธิบายความสําคัญของระบบประสาทท่ีมีผลตอสุขภาพ

การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนได3. อธิบายวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานไดตามปกติ

2

จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายโครงสราง และหนาท่ีของระบบประสาทได2. อธิบายความสําคัญของระบบประสาทท่ีมีผลตอสุขภาพ

การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนได3. อธิบายวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานไดตามปกติ

2

จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายโครงสราง และหนาท่ีของระบบประสาทได2. อธิบายความสําคัญของระบบประสาทท่ีมีผลตอสุขภาพ

การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนได3. อธิบายวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานไดตามปกติ

2

Page 6: Nervous system

แบบทดสอบกอนเรียน

คําช้ีแจง : ใหนักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียวและเขียนเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคําตอบ

1) ระบบประสาท มี 2 สวน ไดแกอะไรบาง1. ระบบประสาทสวนหนา และระบบประสาทสวนหลัง2. ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทอัตโนมัติ3. ระบบประสาทอัตโนมัติ และระบบประสาทสวนปลาย4. ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสวนปลาย

2) อวัยวะใดเปนอวัยวะหลักของระบบประสาท1. สมอง2. ตอมไรทอ3. เสนประสาท4. เซลลประสาท

3) ไขสันหลังอยูบริเวณใดของรางกาย1. กนกบ2. สะโพก3. หัวไหล4. กระดูกสันหลัง

4) เซรีเบลลัม ทําหนาท่ีในขอใด1. ควบคุมอุณหภูมิของรางกาย2. ควบคุมอารมณและความรูสึก3. ควบคุมการทรงตัวของรางกาย4. ควบคุมการทํางานเหนืออํานาจจิตใจ

5) สวนประกอบใดของสมองท่ีทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของกลามเนื้อบริเวณใบหนาการยิ้ม และการยักค้ิว1. พอนส2. เซรีบรัม3. เซรีเบลลัม4. สมองสวนกลาง

3

Page 7: Nervous system

6) เด็กชายตนน้ํามีอาการไอ และอาเจียน เปนการควบคุมของสมองสวนใด1. ทาลามัส2. เซรีเบลลัม3. ไฮโพทาลามัส4. เมดัลลา ออบลองกาตา

7) สมองสวนใดท่ีทําหนาท่ีเก่ียวกับความคิด และความจํา1. พอนส2. เซรีบรัม3. ทาลามัส4. ไฮโพทาลามัส

8) บุคคลใดปฏิบัติตนไดเหมาะสม และสงผลการดูแลรักษาระบบประสาทไดดีท่ีสุด1. ปลารับประทานยาทุกครั้งท่ีรูสึกปวดศีรษะ2. หมึกออกกําลังกาย และเลนกีฬาเปนประจํา3. กุงรับประทานแตอาหารประเภททอดเทานั้น4. หมูเขานอนเวลา 24.00 น. และตื่นนอนเวลา 05.00 น.

9) โรคในขอใดไมเก่ียวของกับการทํางานผิดปกติของระบบประสาท1. โรคลมชัก2. โรคไมเกรน3. โรคไขหวัดใหญ4. โรคสมองอักเสบ

10) ขอใดไมใชวิธีการดูแลรักษาระบบประสาท1. ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ2. ทําจิตใจใหราเริง แจมใส3. ไมทํางานหนักมากเกินไป4. รับประทานอาหารประเภทไขมันมาก ๆ

4

Page 8: Nervous system

ระบบประสาทระบบประสาท ((NNeerrvvoouuss SSyysstteemm))

ระบบประสาทมีความสําคัญตอรางกายในการเปนศูนยกลางท่ีควบคุมการทํางานของรางกาย ในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเรา โดยทําหนาท่ีประสานสัมพันธระหวางอวัยวะสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ การทํางานของตอมและระบบตาง ๆในรางกายอีกท้ังเปนศูนยของความรูสึกนึกคิดสติปญญา การเรียนรูความจํา ตลอดจนการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม

ภาพประกอบ 1 ระบบประสาทแหลงท่ีมาของภาพ : http://www.vcharkarn.com/

lesson/view.php?id=1415 สืบคนวันที่ 10 พฤษภาคม 2556

5

Page 9: Nervous system

โครงสรางโครงสราง และหนาที่ของระบบประสาทและหนาที่ของระบบประสาท

ระบบประสาทเปนระบบท่ีควบคุมการทํางานของอวัยวะสวนตาง ๆ ทุกระบบในรางกายใหประสานสัมพันธกัน เพ่ือใหรางกายสามารถปรับตัวตอสิ่งแวดลอม และสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยแบงออกเปน 2 สวน คือ ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสวนปลาย

11.. ระบบประสาทสวนกลางระบบประสาทสวนกลาง((CCeennttrraall NNeerrvvoouuss SSyysstteemm))

เปนศูนยกลางควบคุมการทํางานของรางกายซึ่งทํางานพรอมกันท้ังในดานกลไก และทางเคมีภายใตอํานาจจิตใจ ซึ่งประกอบดวยสมองและไขสันหลังโดยเสนประสาทหลายลานเสนจากท่ัวรางกายจะสงขอมูลในรูปกระแสประสาทออกจากบริเวณศูนยกลาง มีอวัยวะท่ีเก่ียวของดังนี้สมองสมอง ((BBrraaiinn))

สมองเปนอวัยวะท่ีใหญท่ีสุดในรางกายมีรูปรางเปนกอนรูปไขประกอบดวยเซลลประสาทมากมาย จํานวนประมาณพันลานเซลลอยูในกะโหลกศีรษะ เซลลประสาทในสมองแผกระจายกระแสไฟฟาอยูตลอดเวลา จากเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่ง สมองมีน้ําหนักเพียง 2% ของรางกายตองการออกซิเจนไปเลี้ยง 20% ของออกซิเจนท่ีสูดเขาไปใชในรางกาย สมองของเด็กแรกเกิดมีน้ําหนักประมาณ 300 – 400 กรัม แลวเจริญเติบโตข้ึนเรื่อย ๆ จนถึงอายุ 15 ป มนุษยถือไดวาเปนสัตวโลกท่ีมีสมองใหญและมีคุณภาพมากท่ีสุด มีน้ําหนักเฉลี่ยประมาณ 1,300 – 1,400 กรัม มีกะโหลกศีรษะซึ่งมีความหนาและแข็งแกรง ทําหนาท่ี ปองกันไมใหสมองไดรับความกระทบกระเทือน

ภาพประกอบ 2 ระบบประสาทแหลงที่มาของภาพ : http://www.kroovit.com/mechanism_live/ page14.html สืบคนวันที่ 10พฤษภาคม 2556

โครงสรางของระบบประสาทสวนกลางประกอบไปดวยสมอง ไขสันหลัง และเสนประสาท

ภาพประกอบ 3 ลักษณะของสมองมนุษยแหลงที่มาของภาพ : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2414208130/01.htmสืบคนวันที่ 10 พฤษภาคม 2556

6

Page 10: Nervous system

สวนประกอบและหนาที่ของสมอง

ภาพประกอบ 4 สวนประกอบของสมองแหลงท่ีมาของภาพ : http://www.aksorn.com สืบคนวันท่ี 10 พฤษภาคม 2556

7

สวนประกอบและหนาที่ของสมอง

ภาพประกอบ 4 สวนประกอบของสมองแหลงท่ีมาของภาพ : http://www.aksorn.com สืบคนวันท่ี 10 พฤษภาคม 2556

7

สวนประกอบและหนาที่ของสมอง

ภาพประกอบ 4 สวนประกอบของสมองแหลงท่ีมาของภาพ : http://www.aksorn.com สืบคนวันท่ี 10 พฤษภาคม 2556

7

Page 11: Nervous system

ไขสันหลัง (Spinal Cord)

ไขสันหลัง คือ สวนท่ีอยูภายในชองกระดูกสันหลังท่ีเชื่อมตอกันตลอดความยาวของลําตัวทําหนาท่ีเปนศูนยกลางการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของรางกาย เปนตัวเชื่อมระหวางอวัยวะรับความรูสึกไปยังสมอง และสงความรูสึกจากสมองไปยังสวนตาง ๆ ของรางกายรวมไปถึงควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะและสวนตาง ๆท่ีมีเสนประสาทไขสันหลังตอกับสมอง

ไขสันหลังมีหนาท่ี 3 ประการ คือ1) ทําหนาท่ีสงผานกระแสประสาท

จากหนวยรับความรูสึกไปสูสมอง2) ทําหนาท่ีสงผานกระแสประสาท

จากสมองไปสูหนวยปฏิบัติงาน3) เปนศูนยรีเฟล็กซหรือปฏิกิริยาอัตโนมัติ (reflex) คือ การตอบสนองของรางกาย

โดยท่ีไมอยูภายใตอํานาจจิตใจ การตอบสนองสิ่งเรานี้ตองอาศัยวงจรประสาทท่ีมีการประสานกันของเซลประสาทตั้งแตสองเซลข้ึนไปซึ่งเรียกวา วงจรรีเฟลกซ (reflex arc)ตัวอยางการทํางานแบบรีเฟลกซ ไดแกการหายใจ การจาม การดึงมือหนีเม่ือสัมผัสกับวัตถุท่ีรอน ปฏิกิริยาอัตโนมัติมีหลายชนิด ซึ่งบางอยางตองอาศัยการฝกฝนหรือประสบการณท่ีซ้ํา ๆ กัน เชน การเหยียบเบรกรถยนตในสภาวะฉุกเฉิน

ภาพประกอบ 5 ไขสันหลังแหลงที่มาของภาพ : http://dc394. 4shared.com/ doc/1Dbg0mdd/ preview.html สืบคนวันที่ 10 พฤษภาคม 2556

ภาพประกอบ 6แสดงการวางตัวของไขสันหลังในกระดูกสันหลัง

แหลงที่มาของภาพ : http://www.pibul.ac. th/vichakan/sciweb/ Biology42042/ Nerve/ nervous%20system(CNS).htm สืบคนวันที่ 10 พฤษภาคม 2556

8

Page 12: Nervous system

เสนประสาทเสนประสาท ((NNeerrvvee FFiibbeerr))

เสนประสาท ประกอบดวยใยประสาท(nerve fiber) หลายอันมารวมกัน ใยประสาทเปนสวนหนึ่งของเซลลประสาท (neurone)โดยท่ีเซลสประสาทกระจายไปเลี้ยงท้ังรางกายมีประมาณ 12,000 ลานเซลส ในไขสันหลังและสมองจะมีเซลสประสาทมากท่ีสุด

เสนประสาทในรางกายสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้

1. เสนประสาทท่ีออกจากสมองเสนประสาทประเภทนี้ มีท้ังสิ้น 12 คูมีศูนยกลางอยูท่ีสมอง บางคูจะเปนเสนประสาทท่ีเก่ียวกับการสัมผัส บางคูจะเปนเสนประสาทท่ีใชควบคุมการเคลื่อนไหวแยกเปนทางซีกซายและซีกขวาเพ่ือรบัสงความรูสึกและคําสั่งตั้งแตลําคอข้ึนไป

2. เสนประสาทท่ีออกจากไขสันหลังเปนเสนประสาทท่ีแยกออกมาจากบริเวณไขสันหลัง จากก่ึงกลางลําตัวแยกกระจายออกไปทางซีกซายขวาของรางกาย เรียกวาเสนประสาทท่ีออกจากไขสันหลัง (spinal nerve) ทําหนาท่ีรับสงความรูสึก และคําสั่งตั้งแตบริเวณลําคอลงไปตลอดท้ังรางกายจนถึงปลายเทา มีหนาท่ีรับความรูสึก และควบคุมการเคลื่อนไหวมีท้ังสิ้น 31 คูโดยจะแยกเปน 2 ชุด ชุดท่ี 1 เปนเสนประสาทสวนของการรับความรูสึก เขาสูไขสันหลังทางดานหลัง สวนอีกชุดหนึ่งทําหนาท่ีควบคุมการเคลื่อนไหว เขาสูไขสันหลังบริเวณชวงทอง

ภาพประกอบ 7 เสนประสาทแหลงท่ีมาของภาพ : http://www.vcharkarn.com/ lesson/view.php?id=1274 สืบคนวันท่ี 10พฤษภาคม 2556

9

Page 13: Nervous system

2. ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral Nervous System)

ระบบประสาทสวนปลาย เปนระบบประสาทท่ีเชื่อมตอจากสวนตาง ๆ ของสมองและไขสันหลัง ไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย ซึ่งประกอบดวย 2 สวน คือ

2.1 ระบบประสาทสมอง และไขสันหลัง ประกอบดวยเสนประสาทสมองและเสนประสาทไขสันหลัง ดังนี้

1) เสนประสาทสมอง มี 12 คู ทอดออกจากพ้ืนลางของสมอง ผานไปยังรูตาง ๆ ท่ีพ้ืนของกะโหลกศีรษะ โดยเสนประสาทสมองในบางคูจะทําหนาท่ีรับความรูสึกและบางคูทําหนาท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนไหว และบางคูทําหนาท่ีรวม คือ ท้ังรับความรูสึกและทําการเคลื่อนไหว

2) เสนประสาทไขสันหลัง เปนเสนประสาทท่ีออกจากสันหลัง มีจํานวนท้ังหมด31 คู ทุกคูจะทําหนาท่ีรวม คือ ท้ังรับความรูสึก และทําการเคลื่อนไหว

ภาพประกอบ 8 เสนประสาทสมองและเสนประสาทไขสนัหลังแหลงท่ีมาของภาพ : http://decimotenpanm.blogspot.com/2012/12/blog-post.html สืบคนวันท่ี 10 พฤษภาคม 2556

10

Page 14: Nervous system

2.2 ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System)ทําหนาท่ีเชือ่มตอสวนตาง ๆ ของรางกายใหทํางานรวมกันได ประกอบดวย1) เสนประสาทสมองและเสนประสาทไขสันหลัง

1.1) เสนประสาทสมอง บางคูจะทําหนาท่ีรับความรูสึก บางคูทําหนาท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนไหว บางคูทําท้ังสองอยาง

1.2) เปนเสนประสาทท่ีออกจากไขสันหลัง ทําหนาท่ีรับความรูสึกและควบคุมการเคลื่อนไหว

2) ระบบประสาทอัตโนมัติ เปนระบบประสาทท่ีมีการทํางานควบคุมการไหลเวียนของโลหิต การยอยอาหาร การหายใจ อวัยวะสืบพันธุ และการกําจัดของเสียออกจากรางกาย และยังควบคุมการทํางานของตอมตาง ๆ ดวย ระบบประสาทอัตโนมัติแบงเปน 2 สวน ดังนี้

2.1) ระบบประสาทซิมพาเทติก เปนระบบประสาทท่ีมีการทํางานแบบเกิดข้ึนทันทีทันใด หรือขณะท่ีตื่นเตน ภาวะฉุกเฉิน หรือระยะเจ็บปวย

2.2) ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของอวัยวะภายใน เสนเลือด ตอมตาง ๆ ใหอยูในสภาพท่ีพรอมจะทํางานไดเปนปกติ เชนทําใหหัวใจเตนชาลง เสนเลือดคลายตัว เปนตน

ระบบประสาทท้ังสองสวนนี้จะทํางานตรงขามกันเพ่ือสรางความสมดุลในรางกาย เชน ขณะท่ีเราโกรธหรือกลัว ระบบประสาทซิมพาเทติก จะทําใหหัวใจเตนเร็วหายใจถ่ี มานตา ขยายออก ผิวซีด เพ่ือเตรียมสูหรือหนี ในขณะท่ีระบบประสาทพาราซิมพาเทติก จะเขามาชวยทําใหรางกายกลับคืนสูภาวะปกติ เชน ชีพจรและความดันเลือดลดลง เปนตน

ระบบซิมพาเธติก ระบบพาราซิมพาเธติกมานตาขยายตอมนํ้าตาทํางานนํ้าลายและเหง่ือถูกผลิตออกมามากหัวใจเตนเร็วปอดหด / ขยายเพ่ิมข้ึนตับและกระเพาะทํางานนอยลงลําไสทํางานนอยลงกระเพาะปสสาวะขยายตัวถุงอัณฑะขยายตัวทันที

มานตาหรี่ลงตอมนํ้าตาหยุดการทํางานนํ้าลายไหลปกติหัวใจเตนปกติปอดหด / ขยายปกติตับและกระเพาะอาหารทํางานมากข้ึนลําไสทํางานมากข้ึนกระเพาะปสสาวะหดตัวอวัยวะเพศแข็งตัว

11

Page 15: Nervous system

ความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน

ระบบประสาท เปนระบบอวัยวะภายในรางกายท่ีสําคัญตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้

1. ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในรางกาย ใหสามารถทํางานไดอยางเต็มท่ี2. ควบคุมสภาวะแวดลอมภายในรางกายใหอยูในสภาวะสมดุล3. ชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระรางกายท่ีเหมาะสม4. ระบบประสาทมีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย ทําใหเกิดการดํารงชีวิต

ทีเอ้ือตอการเจริญเติบโตของรางกายสมวัย เลือกดํารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับตนเอง5. ระบบประสาทมีผลตอพัฒนาการของวัยรุนท่ีเหมาะสมกับวัย6. พัฒนาการทางดานความคิด สติปญญา และจริยธรรมท่ีเหมาะสม7. ระบบประสาทจะควบคุมพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีแสดงออกมา ไมวาจะเปน

การนอนหลับ หรือตื่นตัวก็ตาม

12

ความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน

ระบบประสาท เปนระบบอวัยวะภายในรางกายท่ีสําคัญตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้

1. ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในรางกาย ใหสามารถทํางานไดอยางเต็มท่ี2. ควบคุมสภาวะแวดลอมภายในรางกายใหอยูในสภาวะสมดุล3. ชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระรางกายท่ีเหมาะสม4. ระบบประสาทมีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย ทําใหเกิดการดํารงชีวิต

ทีเอ้ือตอการเจริญเติบโตของรางกายสมวัย เลือกดํารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับตนเอง5. ระบบประสาทมีผลตอพัฒนาการของวัยรุนท่ีเหมาะสมกับวัย6. พัฒนาการทางดานความคิด สติปญญา และจริยธรรมท่ีเหมาะสม7. ระบบประสาทจะควบคุมพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีแสดงออกมา ไมวาจะเปน

การนอนหลับ หรือตื่นตัวก็ตาม

12

ความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน

ระบบประสาท เปนระบบอวัยวะภายในรางกายท่ีสําคัญตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้

1. ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในรางกาย ใหสามารถทํางานไดอยางเต็มท่ี2. ควบคุมสภาวะแวดลอมภายในรางกายใหอยูในสภาวะสมดุล3. ชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระรางกายท่ีเหมาะสม4. ระบบประสาทมีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย ทําใหเกิดการดํารงชีวิต

ทีเอ้ือตอการเจริญเติบโตของรางกายสมวัย เลือกดํารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับตนเอง5. ระบบประสาทมีผลตอพัฒนาการของวัยรุนท่ีเหมาะสมกับวัย6. พัฒนาการทางดานความคิด สติปญญา และจริยธรรมท่ีเหมาะสม7. ระบบประสาทจะควบคุมพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีแสดงออกมา ไมวาจะเปน

การนอนหลับ หรือตื่นตัวก็ตาม

12

Page 16: Nervous system

การดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานไดตามปกติ

1. ระวังไมใหเกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ เพราะวาหากสมองสวนซีรีบรัมไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรงอาจทําใหความจําเสื่อม หรือไมสามารถจําสิ่งท่ีพบเห็นใหม ๆ ไดและหากบริเวณท่ีไดรับความกระทบกระเทือนเปนบริเวณท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆของรางกาย อาจทําใหสวนนั้นเปนอัมพาตได

2. ระมัดระวังปองกันไมใหเกิดโรคทางสมอง โดยใชวิธีการตาง ๆ เชน ฉีดวัคซีนปองกันโรคสมองอักเสบในเด็กตามระยะเวลาท่ีแพทยกําหนด หรือรีบใหแพทยตรวจสอบเม่ือเกิดความผิดปกติท่ีเก่ียวของกับสมอง

3. หลีกเลี่ยงยาชนิดตาง ๆ ท่ีมีผลตอสมอง รวมท้ังยาเสพติดและเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอลเพราะการดื่มแอลกอฮอลมาก ๆ อาจทําใหเกิดเปนโรคสมองเสื่อม (อัลไซเมอร) ได

4. พยายามผอนคลายความเครียด หากปลอยใหความเครียดสะสมเปนเวลานานจะกอใหเกิดผลเสียท้ังตอรางกายและจิตใจ จึงควรหาทางผอนคลายความเครียดดวยวิธีการตาง ๆเชน การออกกําลังกาย พบปะสังสรรคกับเพ่ือนฝูง ทําตัวใหราเริงแจมใส พักผอนใหเพียงพอโดยเฉพาะการนอนหลับ เพราะเปนการพักผอนสมองและรางกายท่ีดี โดยขณะท่ีเรานอนหลับประสาททุกสวนท่ีอยูในอํานาจของจิตใจจะไดรับการพักผอนอยางเต็มท่ี และระบบประสาทนอกอํานาจจิตใจก็จะทํางานนอยลง

5. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนตอรางกาย โดยเฉพาะอาหารท่ีใหวิตามินบี 1 สูง ไดแกอาหารพวกขาวกลอง ขาวซอมมือ ถ่ัวลิสง เครื่องในสัตว เมล็ดทานตะวัน เปนตน เพราะวิตามินบี 1จะชวยใหระบบประสาทแขน ขา และศีรษะทํางานปกติ ชวยปองกันโรคเหน็บชาปองกันโรคเหน็บชาปองกันอาการเหนื่อยงาย

13

การดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานไดตามปกติ

1. ระวังไมใหเกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ เพราะวาหากสมองสวนซีรีบรัมไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรงอาจทําใหความจําเสื่อม หรือไมสามารถจําสิ่งท่ีพบเห็นใหม ๆ ไดและหากบริเวณท่ีไดรับความกระทบกระเทือนเปนบริเวณท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆของรางกาย อาจทําใหสวนนั้นเปนอัมพาตได

2. ระมัดระวังปองกันไมใหเกิดโรคทางสมอง โดยใชวิธีการตาง ๆ เชน ฉีดวัคซีนปองกันโรคสมองอักเสบในเด็กตามระยะเวลาท่ีแพทยกําหนด หรือรีบใหแพทยตรวจสอบเม่ือเกิดความผิดปกติท่ีเก่ียวของกับสมอง

3. หลีกเลี่ยงยาชนิดตาง ๆ ท่ีมีผลตอสมอง รวมท้ังยาเสพติดและเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอลเพราะการดื่มแอลกอฮอลมาก ๆ อาจทําใหเกิดเปนโรคสมองเสื่อม (อัลไซเมอร) ได

4. พยายามผอนคลายความเครียด หากปลอยใหความเครียดสะสมเปนเวลานานจะกอใหเกิดผลเสียท้ังตอรางกายและจิตใจ จึงควรหาทางผอนคลายความเครียดดวยวิธีการตาง ๆเชน การออกกําลังกาย พบปะสังสรรคกับเพ่ือนฝูง ทําตัวใหราเริงแจมใส พักผอนใหเพียงพอโดยเฉพาะการนอนหลับ เพราะเปนการพักผอนสมองและรางกายท่ีดี โดยขณะท่ีเรานอนหลับประสาททุกสวนท่ีอยูในอํานาจของจิตใจจะไดรับการพักผอนอยางเต็มท่ี และระบบประสาทนอกอํานาจจิตใจก็จะทํางานนอยลง

5. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนตอรางกาย โดยเฉพาะอาหารท่ีใหวิตามินบี 1 สูง ไดแกอาหารพวกขาวกลอง ขาวซอมมือ ถ่ัวลิสง เครื่องในสัตว เมล็ดทานตะวัน เปนตน เพราะวิตามินบี 1จะชวยใหระบบประสาทแขน ขา และศีรษะทํางานปกติ ชวยปองกันโรคเหน็บชาปองกันโรคเหน็บชาปองกันอาการเหนื่อยงาย

13

การดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานไดตามปกติ

1. ระวังไมใหเกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ เพราะวาหากสมองสวนซีรีบรัมไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรงอาจทําใหความจําเสื่อม หรือไมสามารถจําสิ่งท่ีพบเห็นใหม ๆ ไดและหากบริเวณท่ีไดรับความกระทบกระเทือนเปนบริเวณท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆของรางกาย อาจทําใหสวนนั้นเปนอัมพาตได

2. ระมัดระวังปองกันไมใหเกิดโรคทางสมอง โดยใชวิธีการตาง ๆ เชน ฉีดวัคซีนปองกันโรคสมองอักเสบในเด็กตามระยะเวลาท่ีแพทยกําหนด หรือรีบใหแพทยตรวจสอบเม่ือเกิดความผิดปกติท่ีเก่ียวของกับสมอง

3. หลีกเลี่ยงยาชนิดตาง ๆ ท่ีมีผลตอสมอง รวมท้ังยาเสพติดและเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอลเพราะการดื่มแอลกอฮอลมาก ๆ อาจทําใหเกิดเปนโรคสมองเสื่อม (อัลไซเมอร) ได

4. พยายามผอนคลายความเครียด หากปลอยใหความเครียดสะสมเปนเวลานานจะกอใหเกิดผลเสียท้ังตอรางกายและจิตใจ จึงควรหาทางผอนคลายความเครียดดวยวิธีการตาง ๆเชน การออกกําลังกาย พบปะสังสรรคกับเพ่ือนฝูง ทําตัวใหราเริงแจมใส พักผอนใหเพียงพอโดยเฉพาะการนอนหลับ เพราะเปนการพักผอนสมองและรางกายท่ีดี โดยขณะท่ีเรานอนหลับประสาททุกสวนท่ีอยูในอํานาจของจิตใจจะไดรับการพักผอนอยางเต็มท่ี และระบบประสาทนอกอํานาจจิตใจก็จะทํางานนอยลง

5. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนตอรางกาย โดยเฉพาะอาหารท่ีใหวิตามินบี 1 สูง ไดแกอาหารพวกขาวกลอง ขาวซอมมือ ถ่ัวลิสง เครื่องในสัตว เมล็ดทานตะวัน เปนตน เพราะวิตามินบี 1จะชวยใหระบบประสาทแขน ขา และศีรษะทํางานปกติ ชวยปองกันโรคเหน็บชาปองกันโรคเหน็บชาปองกันอาการเหนื่อยงาย

13

Page 17: Nervous system

กิจรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 1

เรื่อง โครงสรางของระบบประสาทคําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) แสดงโครงสรางของระบบประสาท

…………………………………………………………………………

…………………………………….………………….

…………………………………….………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………….………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………………………………

…………………………………….………………….

โครงสรางของระบบประสาท

14

Page 18: Nervous system

ใบกิจกรรมที่ 2เร่ือง สวนประกอบตางๆ และหนาที่ของสมอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนจําแนกสวนประกอบตาง ๆ ของสมองโดยเลือกคําตอบขางลางมาโยงเสนใหตรงกับตําแหนง และบอกหนาท่ีใหถูกตอง

เซรีเบลลัม

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………

………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………

………………………………………………………………………………………

ทาลามัส พอนส เซรีบรัม

โฮโพทาลามัส

เมดัลลา ออบลองกาตา

สมองสวนกลาง

15

ใบกิจกรรมที่ 2เร่ือง สวนประกอบตางๆ และหนาที่ของสมอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนจําแนกสวนประกอบตาง ๆ ของสมองโดยเลือกคําตอบขางลางมาโยงเสนใหตรงกับตําแหนง และบอกหนาท่ีใหถูกตอง

เซรีเบลลัม

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………

………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………

………………………………………………………………………………………

ทาลามัส พอนส เซรีบรัม

โฮโพทาลามัส

เมดัลลา ออบลองกาตา

สมองสวนกลาง

15

ใบกิจกรรมที่ 2เร่ือง สวนประกอบตางๆ และหนาที่ของสมอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนจําแนกสวนประกอบตาง ๆ ของสมองโดยเลือกคําตอบขางลางมาโยงเสนใหตรงกับตําแหนง และบอกหนาท่ีใหถูกตอง

เซรีเบลลัม

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………

………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………

………………………………………………………………………………………

ทาลามัส พอนส เซรีบรัม

โฮโพทาลามัส

เมดัลลา ออบลองกาตา

สมองสวนกลาง

15

Page 19: Nervous system

ใบกิจกรรมที่ 3เรื่อง การดูแลรักษาระบบประสาท

คําช้ีแจง ใหนักเรียนอธิบายโรคท่ีพบในระบบประสาท พรอมท้ังอธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท

การดูแลรักษาระบบประสาท........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

โรคท่ีพบในระบบประสาท………………

…………………………………………………..

…………………………………………………………………..

16

ใบกิจกรรมที่ 3เรื่อง การดูแลรักษาระบบประสาท

คําช้ีแจง ใหนักเรียนอธิบายโรคท่ีพบในระบบประสาท พรอมท้ังอธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท

การดูแลรักษาระบบประสาท........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

โรคท่ีพบในระบบประสาท………………

…………………………………………………..

…………………………………………………………………..

16

ใบกิจกรรมที่ 3เรื่อง การดูแลรักษาระบบประสาท

คําช้ีแจง ใหนักเรียนอธิบายโรคท่ีพบในระบบประสาท พรอมท้ังอธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท

การดูแลรักษาระบบประสาท........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

โรคท่ีพบในระบบประสาท………………

…………………………………………………..

…………………………………………………………………..

16

Page 20: Nervous system

แบบทดสอบหลังเรียน

คําช้ีแจง : ใหนักเรยีนเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว และเขียนเครื่องหมาย Xลงในกระดาษคําตอบ

1) อวัยวะใดเปนอวัยวะหลักของระบบประสาท1. สมอง2. ตอมไรทอ3. เสนประสาท4. เซลลประสาท

2) ระบบประสาท มี 2 สวน ไดแกอะไรบาง1. ระบบประสาทสวนหนา และระบบประสาทสวนหลัง2. ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทอัตโนมัติ3. ระบบประสาทอัตโนมัติ และระบบประสาทสวนปลาย4. ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสวนปลาย

3) ซีรีเบลลัม ทําหนาท่ีในขอใด1. ควบคุมอุณหภูมิของรางกาย2. ควบคุมอารมณและความรูสึก3. ควบคุมการทรงตัวของรางกาย4. ควบคุมการทํางานเหนืออํานาจจิตใจ

4) ไขสันหลังอยูบริเวณใดของรางกาย1. กนกบ2. สะโพก3. หวัไหล4. กระดูกสันหลัง

5) เด็กชายตนน้ํามีอาการไอ และอาเจียน เปนการควบคุมของสมองสวนใด1. ทาลามัส2. เซรีเบลลัม3. ไฮโพทาลามัส4. เมดัลลา ออบลองกาตา

17

Page 21: Nervous system

6) สวนประกอบใดของสมองท่ีทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของกลามเนื้อบริเวณใบหนา การยิ้มและการยักค้ิว1. พอนส2. เซรีบรัม3. เซรีเบลลัม4. สมองสวนกลาง

7) โรคในขอใดไมเก่ียวของกับการทํางานผิดปกติของระบบประสาท1. โรคลมชัก2. โรคไมเกรน3. โรคไขหวัดใหญ4. โรคสมองอักเสบ

8) สมองสวนใดท่ีทําหนาท่ีเก่ียวกับความคิด และความจํา1. พอนส2. เซรีบรัม3. เซรีเบลลัม4. ไฮโพทาลามัส

9) ขอใดไมใชวิธีการดูแลรักษาระบบประสาท1. ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ2. ทําจิตใจใหราเริง แจมใส3. ไมทํางานหนักมากเกินไป4. รับประทานอาหารประเภทไขมันมากๆ

10) บุคคลใดปฏิบัติตนไดเหมาะสมและสงผลการดูแลรักษาระบบประสาทไดดีท่ีสุด1. ปลารับประทานยาทุกครั้งท่ีรูสึกปวดศีรษะ2. หมึกออกกําลังกายและเลนกีฬาเปนประจํา3. กุงรับประทานแตอาหารประเภททอดเทานั้น4. หมูเขานอนเวลา 24.00 น. และตื่นนอนเวลา 05.00 น.

18

Page 22: Nervous system

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

สํานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา . (2551). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

พรสุข หุนนิรันดร และคณะ. (ม.ป.ป.). คูมือครูใชประกอบการสอนรวมกับหนังสือเรียนฉบับประกันฯ รายวิชาพื้นฐานสุขศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1. กรุงเทพฯ :อักษรเจริญทัศน.

พรสุข หุนนิรันดร และคณะ. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานสุขศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน.

ลัมภู สุวรรณชุมภ.ู (2550). ระบบประสาท. สืบคนเม่ือ 10 พฤษภาคม 2556, จากhttp://www.thaigoodview.com/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/sec06p01.htm

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (ม.ป.ป.). ระบบประสาท. สืบคนเม่ือ 10 พฤษภาคม 2556, จากhttp://th.wikipedia.org/wiki/ระบบประสาท

สมหมาย แตงสกุล และคณะ. (ม.ป.ป.). คูมือการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา ม.1.กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.

สุจิตร สุคนธทรัพย และคณะ. (2552). หนังสือเรียนแม็ค สุขศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1. กรุงเทพฯ : แม็ค.

http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Neuron.htmhttp://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1415http://www.kroovit.com/mechanism_live/page14.htmlhttp://dc394.4shared.com/doc/1Dbg0mdd/preview.html

19

Page 23: Nervous system

ภาคผนวกภาคผนวกภาคผนวก

Page 24: Nervous system

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 1

เรื่อง โครงสรางของระบบประสาทคําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) แสดงโครงสรางของระบบประสาท

…………………………………………………………………………

…………………………………….………………….

…………………………………….………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………….………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………….

…………………………………………………………………………

…………………………………….………………….

โครงสรางของระบบประสาท

ระบบประสาทสวนปลาย

ระบบประสาทสวนกลาง

สมอง

ไขสันหลัง

สมองสวนหนา

สมองสวนกลาง

สมองสวนทาย

ซีรีบรัม

ทาลามัส

ไฮโพทาลามัส ซีรีเบลลมั

พอนส

เมดัลลาออบลองกาตา

ระบบประสาทสมองและไขหลังสัน

ระบบประสาทอัตโนมัติ

เสนประสาทไขสันหลัง

เสนประสาทสมอง

ระบบประสาทซิมพาเทติก

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก

21

Page 25: Nervous system

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 2

เร่ือง สวนประกอบตางๆ และหนาที่ของสมองคําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนจําแนกสวนประกอบตาง ๆ ของสมองโดยเลือกคําตอบขางลางมาโยงเสน

ใหตรงกับตําแหนง และบอกหนาท่ีใหถูกตอง

เซรีเบลลัม

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………..…

……………………………………………………………………………………………………………………

ทาลามัส พอนส เซรีบรัม

โฮโพทาลามัส

เมดัลลา ออบลองกาตา

สมองสวนกลาง

ทาลามัส เปน ท่ีรวมของเซลลประสาทและเน้ือเยื่อเก่ียวพันทํ าหน า ท่ี เ ป นศู น ย ถ า ยทอดกระแสประสาทรับความรูสึกกอนสงไปยังสมองสวนเซรีบรัมอีกตอหน่ึง

เซ รีบรัม ทําหนา ท่ี เ ก่ียว กับความจําไหวพริบ และเปนศูนยรับความรูสึกตางๆ

ไฮโพทาลามัส อยูลางสุดตอจากทาลามัส ทําหนา ท่ีสรางฮอร โมนบางชนิดซ่ึงควบคุมกระบวนการและพฤติกรรมบางอย างของร า งกาย เชนอุณหภูมิของรางกาย การเตนของหัวใจและความดันโลหิต

พอนส ทําหนาท่ีควบคุมการเคี้ยว การหลั่งนํ้าลายการเคลื่อนไหวกลามเน้ือบนใบหนา การฟง และควบคุมการหายใจ

เมดัลลา ออบลองกาตาทําหนาท่ีควบคุมการทํางานในระบบประสาทอัตโนมัติของอวัยวะภายในรางกาย

เซรีเบลลัม ทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของกลามเน้ือใหทํางานประสานกันและความสมดุลของการทรงตวั

สมองสวนกลางทําหนาท่ีควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาและมานตา

22

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 2

เร่ือง สวนประกอบตางๆ และหนาที่ของสมองคําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนจําแนกสวนประกอบตาง ๆ ของสมองโดยเลือกคําตอบขางลางมาโยงเสน

ใหตรงกับตําแหนง และบอกหนาท่ีใหถูกตอง

เซรีเบลลัม

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………..…

……………………………………………………………………………………………………………………

ทาลามัส พอนส เซรีบรัม

โฮโพทาลามัส

เมดัลลา ออบลองกาตา

สมองสวนกลาง

ทาลามัส เปน ท่ีรวมของเซลลประสาทและเน้ือเยื่อเก่ียวพันทํ าหน า ท่ี เ ป นศู น ย ถ า ยทอดกระแสประสาทรับความรูสึกกอนสงไปยังสมองสวนเซรีบรัมอีกตอหน่ึง

เซ รีบรัม ทําหนา ท่ี เ ก่ียว กับความจําไหวพริบ และเปนศูนยรับความรูสึกตางๆ

ไฮโพทาลามัส อยูลางสุดตอจากทาลามัส ทําหนา ท่ีสรางฮอร โมนบางชนิดซ่ึงควบคุมกระบวนการและพฤติกรรมบางอย างของร า งกาย เชนอุณหภูมิของรางกาย การเตนของหัวใจและความดันโลหิต

พอนส ทําหนาท่ีควบคุมการเคี้ยว การหลั่งนํ้าลายการเคลื่อนไหวกลามเน้ือบนใบหนา การฟง และควบคุมการหายใจ

เมดัลลา ออบลองกาตาทําหนาท่ีควบคุมการทํางานในระบบประสาทอัตโนมัติของอวัยวะภายในรางกาย

เซรีเบลลัม ทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของกลามเน้ือใหทํางานประสานกันและความสมดุลของการทรงตวั

สมองสวนกลางทําหนาท่ีควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาและมานตา

22

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 2

เร่ือง สวนประกอบตางๆ และหนาที่ของสมองคําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนจําแนกสวนประกอบตาง ๆ ของสมองโดยเลือกคําตอบขางลางมาโยงเสน

ใหตรงกับตําแหนง และบอกหนาท่ีใหถูกตอง

เซรีเบลลัม

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………..…

……………………………………………………………………………………………………………………

ทาลามัส พอนส เซรีบรัม

โฮโพทาลามัส

เมดัลลา ออบลองกาตา

สมองสวนกลาง

ทาลามัส เปน ท่ีรวมของเซลลประสาทและเน้ือเยื่อเก่ียวพันทํ าหน า ท่ี เ ป นศู น ย ถ า ยทอดกระแสประสาทรับความรูสึกกอนสงไปยังสมองสวนเซรีบรัมอีกตอหน่ึง

เซ รีบรัม ทําหนา ท่ี เ ก่ียว กับความจําไหวพริบ และเปนศูนยรับความรูสึกตางๆ

ไฮโพทาลามัส อยูลางสุดตอจากทาลามัส ทําหนา ท่ีสรางฮอร โมนบางชนิดซ่ึงควบคุมกระบวนการและพฤติกรรมบางอย างของร า งกาย เชนอุณหภูมิของรางกาย การเตนของหัวใจและความดันโลหิต

พอนส ทําหนาท่ีควบคุมการเคี้ยว การหลั่งนํ้าลายการเคลื่อนไหวกลามเน้ือบนใบหนา การฟง และควบคุมการหายใจ

เมดัลลา ออบลองกาตาทําหนาท่ีควบคุมการทํางานในระบบประสาทอัตโนมัติของอวัยวะภายในรางกาย

เซรีเบลลัม ทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของกลามเน้ือใหทํางานประสานกันและความสมดุลของการทรงตวั

สมองสวนกลางทําหนาท่ีควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาและมานตา

22

Page 26: Nervous system

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 3

เรื่อง การดูแลรักษาระบบประสาทคําช้ีแจง ใหนักเรียนอธิบายโรคท่ีพบในระบบประสาท พรอมท้ังอธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท

การดูแลรักษาระบบประสาท....................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .........

โรคท่ีพบในระบบประสาท………………

…………………………………………………..

…………………………………………………………………..

แนวตอบ :- (ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)1. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ครบท้ัง 5 หมู2. พักผอนใหเพียงพอ ผอนคลายความเครียด3. ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ4. ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจทําใหเกิดอันตรายตอสมอง5. ไมสูบบุหรี่ ไมดื่มสุรา และเสพสารเสพติด6. สังเกตหรือสํารวจความผิดปกติของระบบประสาท

ไมเกรนโรคอัลไซเมอรโรคเย่ือหุมสมองอักเสบ

โรคปวดศีรษะโรคลมชัก

23

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 3

เรื่อง การดูแลรักษาระบบประสาทคําช้ีแจง ใหนักเรียนอธิบายโรคท่ีพบในระบบประสาท พรอมท้ังอธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท

การดูแลรักษาระบบประสาท....................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .........

โรคท่ีพบในระบบประสาท………………

…………………………………………………..

…………………………………………………………………..

แนวตอบ :- (ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)1. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ครบท้ัง 5 หมู2. พักผอนใหเพียงพอ ผอนคลายความเครียด3. ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ4. ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจทําใหเกิดอันตรายตอสมอง5. ไมสูบบุหรี่ ไมดื่มสุรา และเสพสารเสพติด6. สังเกตหรือสํารวจความผิดปกติของระบบประสาท

ไมเกรนโรคอัลไซเมอรโรคเย่ือหุมสมองอักเสบ

โรคปวดศีรษะโรคลมชัก

23

เฉลยกิจกรรมทายบทเรียนใบกิจกรรมท่ี 3

เรื่อง การดูแลรักษาระบบประสาทคําช้ีแจง ใหนักเรียนอธิบายโรคท่ีพบในระบบประสาท พรอมท้ังอธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท

การดูแลรักษาระบบประสาท....................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................. .........

โรคท่ีพบในระบบประสาท………………

…………………………………………………..

…………………………………………………………………..

แนวตอบ :- (ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)1. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ครบท้ัง 5 หมู2. พักผอนใหเพียงพอ ผอนคลายความเครียด3. ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ4. ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจทําใหเกิดอันตรายตอสมอง5. ไมสูบบุหรี่ ไมดื่มสุรา และเสพสารเสพติด6. สังเกตหรือสํารวจความผิดปกติของระบบประสาท

ไมเกรนโรคอัลไซเมอรโรคเย่ือหุมสมองอักเสบ

โรคปวดศีรษะโรคลมชัก

23

Page 27: Nervous system

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลงัเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

ขอ คําตอบ ขอ คําตอบ

1 3 1 1

2 1 2 4

3 4 3 3

4 3 4 4

5 1 5 4

6 4 6 1

7 2 7 3

8 2 8 2

9 3 9 4

10 4 10 2

24