55
ระบบการผลิตครูที่พึงประสงค์ รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร [email protected]

Vision for Teacher Education

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Vision for Teacher Education

ระบบการผลิตครูที่พึงประสงค์รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร

[email protected]

Page 2: Vision for Teacher Education

ขอบข่ายที่นำเสนอ

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community :PLC)

การผลิตครูที่พึงประสงค์

การบูรณาการ PLC กับการผลิตและพัฒนาครู

Page 3: Vision for Teacher Education

เป็นเป้าหมายสูงสุดการศึกษาที่มีคุณภาพ

Page 4: Vision for Teacher Education

วิสัยทัศน์การผลิตครูที่พึงประสงค์

รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร

๓๑ มกราคม ๒๕๖๐

Page 5: Vision for Teacher Education

ปัญหาการผลิตครู รอบสองทศวรรษ

ขาดกลไกการประสานความร่วมมือระหว่างผู้ใช้ครู (Demand side) กับผู้ผลิตครู (Supply side)

ปริมาณ และ คุณภาพ มีปัญหา

Page 6: Vision for Teacher Education

ปัญหาการผลิตครู รอบสองทศวรรษ

จิตวิญญาณความเป็นครู

สมรรถนะที่จำเป็นและสอดคล้องกับวิถีชีวิตเมื่อไปปฏิบัติหน้าที่ครู

สมรรถนะที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตในโลกอนาคตอย่างมีคุณภาพ

Page 7: Vision for Teacher Education

ปัญหาการผลิตครู รอบสองทศวรรษ

สมรรถนะด้านเนื้อหาสาระวิชาเฉพาะ

สมรรถนะพิเศษเฉพาะครู (ด้านการถ่ายทอดเนื้อหาสาระตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)

Page 8: Vision for Teacher Education

ตัวป้อน ด้านผู้เรียน

คัดเลือกคนดี ด้วยกระบวนการพิจารณาประวัติและผลการปฏิบัติตน ด้วยแฟ้มสะสมงาน

คัดเลือกความมุ่งมั่น ศรัทธาที่จะทำหน้าที่เป็นครู

คัดเลือกความสามารถด้านวิชาการที่โดดเด่น อย่างน้อยอยู่ในระดับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 ขึ้นไป

Page 9: Vision for Teacher Education

ตัวป้อน ด้านผู้เรียน

คัดเลือกความสามารถด้านการคิดขั้นสูง คิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและเป็นเหตุเป็นผล

คัดเลือกความสามารถด้านการสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของตนเองให้คนอื่นเข้าใจได้ การสรุปสังเคราะห์ข้อมูล จัดระเบียบความคิด

Page 10: Vision for Teacher Education

หลักสูตรผลิตครู

(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไปไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาชีพครูไม่น้อยกว่า ๕๐ หน่วยกิต

(๓) หมวดวิชาเฉพาะด้านไม่น้อยกว่า ๗๔ หน่วยกิต

(๔) หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

Page 11: Vision for Teacher Education

โครงสร้างหลักสูตร ป.ตรี(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไปไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาชีพครูไม่น้อยกว่า ๓๔+๑๒ หน่วยกิต

(๓) หมวดวิชาเฉพาะด้านไม่น้อยกว่า ๗๘ หน่วยกิต

(๔) หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า ๑๖๐ หน่วยกิต

Page 12: Vision for Teacher Education

โครงสร้างหลักสูตรตรีควบโท(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไปไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาชีพครูไม่น้อยกว่า ๓๔+๑๒ หน่วยกิต

(๓) หมวดวิชาเฉพาะด้านไม่น้อยกว่า ๘๖ หน่วยกิต

(๔) หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

(๕) วิทยานิพนธ์ หรือ สารนิพนธ์

Page 13: Vision for Teacher Education

โครงสร้างหลักสูตร ป.บัณฑิต

(๑) รายวิชา ไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต

(๒) ฝึกสอน ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

Page 14: Vision for Teacher Education

โครงสร้างหลักสูตร ป.โท(๑) รายวิชา ไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วยกิต

(รายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต

ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต)

(๓) วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต

หรือสาระนิพนธ์ ๓ - ๖ หน่วยกิต

Page 15: Vision for Teacher Education

โครงสร้างหลักสูตรโท+เอก

(๑) รายวิชา ไม่น้อยกว่า๔๐ หน่วยกิต

(รายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๒ หน่วยกิต

ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า ๘ หน่วยกิต)

(๓) วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต

Page 16: Vision for Teacher Education

โครงสร้างหลักสูตร ป.เอก

รายวิชา ไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วยกิต

(รายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต

ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

(๓) วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต

Page 17: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

เชื่อมโยงรายวิชาศึกษาทั่วไป บางส่วนที่เสริม เกื้อหนุนการเริ่มรู้จักวิชาชีพครู คุณค่าของอาชีพครู เช่น วิถีชีวิตครู ศาสตร์พระราชาที่เกี่ยวกับครู ฯลฯ

Page 18: Vision for Teacher Education

Teacher Residency Programs: A Clinical Way to Prepare Educators

Page 19: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

วิเคราะห์สมรรถนะเป้าหมายที่จำเป็นสำหรับครูแต่ละกลุ่มสาระ

บูรณาการหลักวิชาชีพครูกับธรรมชาติเฉพาะของเนื้อหาสาระ

ใช้โครงสร้างหน่วยกิตจากหมวดวิชาชีพครูและวิชาเอก

Page 20: Vision for Teacher Education

Learning Outcome

SkillsKnowledge Attributes

Competency

Content Pedagogy Content PedagogyEthic

Performance

Core competency Specific competency

Page 21: Vision for Teacher Education

ตัวอย่างสมรรถนะ

สมรรถนะการตั้งคำถามกระตุ้นการคิดวิเคราะห์ในกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์

สมรรถนะการออกแบบและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

สมรรถนะการจัดการเรียนรู้พัฒนาการคิดเชิงระบบ

Page 22: Vision for Teacher Education

Student Learning Outcomes for Mathematics

ใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ และ เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ กระบวน การทางคณิตศาสตร ์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ

Page 23: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

จัดให้มีรายวิชาบูรณาการเพื่อสร้างสมรรถนะศิลปะการสร้างผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (learning outcome) เฉพาะแต่ละสาระ

จำนวนหน่วยกิต ????!

Page 24: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

จัดให้มีรายวิชาบูรณาการที่ใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยปฏิบัติการ ณ ชั้นเรียนจริงเป็นฐาน

Page 25: Vision for Teacher Education

นำสมรรถนะมาจัดลำดับตามความซับซ้อน และวางแผนจัดลำดับกิจกรรม ตามชั้นปีที่เหมาะสม

ปฏิบัติการในห้องเรียนจริง

ออกแบบระดับการมีส่วนร่วมของนิสิต นักศึกษาครู ภายใต้การดูแลของอาจารย์พี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์

Page 26: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

ปฏิบัติการวิจัยโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานการเรียนรู้ จะต้องค่อยๆ เพิ่มการมีส่วนร่วมของนิสิต นักศึกษาครูมากขึ้นตามลำดับของชั้นปี

กำหนดเป็นจำนวนชั่วโมงรายปีที่ต้องไปใช้ห้องเรียนที่โรงเรียนเป็นฐานการเรียนรู้

Page 27: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

กระบวนการเรียนการสอน ใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพเป็นหลัก

สมาชิกของชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพที่ดูแลนิสิต นักศึกษาครูประกอบด้วย อาจารย์พี่เลี้ยงที่โรงเรียน อาจารย์จากคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ เป็นอย่่างน้อย

Page 28: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

การจัดการเรียนรู้เน้นการพัฒนาสมรรถนะ ประกอบด้วย Knowledge + Skill + Attribute

Reflective Inquiry เป็นเครื่องมือสำคัญ

Page 29: Vision for Teacher Education

การปรับโครงสร้างหลักสูตร ควรเป็น???

การเตรียมความพร้อมของอาจารย์พี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ จะต้องมีระบบการดูแลชัดเจน มีใบงานการพัฒนาสมรรถนะเป็นระบบ

Page 30: Vision for Teacher Education

สิ่งที่เกื้อหนุนระบบผลิตครู

การมีโรงเรียนสาธิต และ/หรือโรงเรียนที่ร่วมมืออย่างใกล้ชิดในระบบการผลิตครู

การหล่อหลอมบุคลิกภาพผ่านระบบหอพักที่มีการจัดการแบบศูนย์ศึกษาและอาศัย

Page 31: Vision for Teacher Education

สิ่งที่เกื้อหนุนระบบผลิตครู

มีอาจารย์ที่ปรึกษาดูแลอย่างใกล้ชิดกับนิสิต นักศึกษาคร ู

ระบบกิจกรรมเสริมนอกหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพและวิถีคิด(วิชาชีวิต)

Page 32: Vision for Teacher Education

สิ่งที่เกื้อหนุนระบบผลิตครู

การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้มากขึ้น เป็นสิ่งจำเป็นที่ปฏิเสธไม่ได้

การพัฒนาประสบการณ์อาจารย์ในคณะ

Page 33: Vision for Teacher Education
Page 34: Vision for Teacher Education

LESSON OBSERVATION PROCESS

NATIONAL INSTITUTE OF EDUCATION SINGAPORE

Page 35: Vision for Teacher Education

(Marzano,Frontier,&Livington.2011)

Page 36: Vision for Teacher Education

Analyze student learning

1

Page 37: Vision for Teacher Education

Plan lesson

2

Page 38: Vision for Teacher Education

Pre-lesson meeting

3

Page 39: Vision for Teacher Education

Observe lesson

4

Page 40: Vision for Teacher Education

Post-lesson meeting

5

Page 41: Vision for Teacher Education

ชุมชนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนานิสิตครู

นิสิตครู

อาจารย์พี่เลี้ยงที่โรงเรียน

อาจารย์อาวุโสที่โรงเรียน

ผู้บริหารโรงเรียน

หัวหน้าหมวด/หัวหน้ากลุ่มสาระ

อาจารย์นิเทศก์จากมหาวิทยาลัย

Page 42: Vision for Teacher Education

(Marzano,Frontier,&Livington.2011)

Page 43: Vision for Teacher Education

43

(Marzano,Frontier,&Livington.2011)

Page 44: Vision for Teacher Education

(Marzano,Frontier,&Livington.2011)

Page 45: Vision for Teacher Education

SMART Teacher

Page 46: Vision for Teacher Education

มาตรฐานวิชาชีพครู

๑๑ มาตรฐาน วัดอย่างไร และต้องวัดได้

คุรุสภา กำลังพยายามดำเนินการปรับปรุง

แนวโน้มจะมีการจัดสอบเพื่อรับใบประกอบวิชาชีีพ

Page 47: Vision for Teacher Education

คุณภาพครู ควรเป็นอย่างไร ?

Core competencies

Job competencies

Identity (Specific) competencies

Page 48: Vision for Teacher Education

Pre-Service Training

Framework for Initial Teacher Education

Programmes

Developing Education

Professionals

Innovation Independent learning

Critical thinking, Commitment and

Service.

Singapore

Page 49: Vision for Teacher Education

OPEN EDUCATION RESOURCE

OER

สื่อการศึกษาเปิด (ไม่มีลิขสิทธิ์หากใช้เพื่อการศึกษา)

YouTubeFacebook

Page 50: Vision for Teacher Education

ข้อเสนอ

การผลิตครูที่นำนิสิต นักศึกษาครู ลงไปปฏิบัติการจริงในโรงเรียน ตั้งแต่ชั้นปีที่ ๑

Teacher Residency program

School collaboration classroom มากกว่า University classroom

Page 51: Vision for Teacher Education

ข้อเสนอ

อาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ต้องลงปฏิบัติการในโรงเรียนจริงและต่อเนื่อง

จำนวนการผลิตครูต้องลดลง

เป้าหมายการผลิตครู เฉพาะกลุ่ม เฉพาะพื้นที่

Page 52: Vision for Teacher Education

ข้อเสนอ

คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ต้องใช้การทำงานร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนอย่างใกล้ชิดมากขึ้น เพื่อสร้างโอกาสการเพิ่มประสบการณ์ให้คณาจารย์มากขึ้น

Page 53: Vision for Teacher Education

Problem-Based Learning

Research-Based Learning

Productivity-Based Learning

Crystal-Based Learning

Integration-Based learningไพฑูรย์ สินลารันตน์, 2554

Page 54: Vision for Teacher Education

ก้าวพ้น “บาป” ห้าประการ• เน้นแต่วิชาการ ไม่เน้นชีวิตจริง

• เน้นแต่เนื้อหา ไม่เน้นกระบวนการ

• เน้นแต่ความจำ ไม่เน้นการคิด

• เน้นแต่ความคงที่ ไม่เน้นการเปลี่ยนแปลง

• เน้นแต่อดีต ไม่เคยเน้นอนาคต

54

(ไพฑูรย์ สินลารัตน์, ๒๕๕๔)

Page 55: Vision for Teacher Education

[email protected]

รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร[email protected]