117
คําวาชีวิต คืออะไร มาจากไหน ?

What is life

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: What is life

คําวาชีวิต คืออะไร มาจากไหน ?

Page 2: What is life

คําวาชีวิต มาจากคําวาชีวะ แปลวา เปน อยู คือ

Page 3: What is life

อะไร, เปน, มี, อยู

Page 4: What is life
Page 5: What is life
Page 6: What is life
Page 7: What is life

ชวีิต หมายถึง อยางไร

Page 8: What is life

หมายถึง การเปนไป, ดําเนินไป, เคลื่อนไหว

Page 9: What is life

มีวิเคราะหเปนภาษาบาลวีา

Page 10: What is life

ธม มชาเตน ชีวตีติ = ชีวิต

แปลวา สิ่งใดยอม (เปน, อยู, คือ)

ตามธรรมชาติสิ่งนั้นเรียกวาชีวิต

Page 11: What is life

ชีวิต ภาษาอังกฤษตรงกบัคําวาLife living Thing collectively in general

plants, preple.

Page 12: What is life

ชีวิตมาอยางไร / จากไหน / เมื่อไร

Page 13: What is life

ทฤษฎี 99

1 มาจากอะไรมาจาก 0

0 คอือะไร0 คอื ไมมี และไมมีคือวาง และวางก็คือ 0

Page 14: What is life

สมศักดิ์ = (พอ , แม) - ปูยา - ทวด - โครต -โครต ๆโครตของโครต ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ

1,000,000 (หนึ่งลาน) ก็มาจากหนึ่ง1 ก็มาจาก 0

Page 15: What is life

กําเนดิชีวิตในทรรศนะตาง ๆ

Page 16: What is life

ทรรศนะของนักปรชัญา

และนกัวิทยาศาสตร

Page 17: What is life

อับเบ จอรจ ลือมาเทรจ(Abbe George Lemaitre 1894-1966)

นักวิทยาศาสตรชาวเบลเยี่ยม

เสนอทฤษฎ ี (Big Bang Theory)

(การระเบิดครั้งใหญยิ่งหรือทฤษฎีฟองไข)

เซลลเดียวหลายเซลล (complex cells)

Page 18: What is life

ชาลล ดารวินCharles Darwinนักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ

กําเนิดจากเซลลเดยีวและ

หลายเซลล (complex cells)

Page 19: What is life

ธาเลส Thales = มาจาก น้ํา

อาแนกซิมิเนส Anaximenes =มาจาก อากาศ

เซโนพาเนส Zenophanes = มาจากดิน

เดโมคริตุส Democritus = มาจากรวมตัวของธาตุ 4

Page 20: What is life

สังคมวิทยา = มนุษย วิวัฒนาการ มาจากสัตวประเภทลงิ

Page 21: What is life

ศาสนาพุทธเกิดจากธาตุ 4

ดิน , น้ํา , ไฟ , ลมธาตุ คือ สภาวะที่มีอยู, ทรงอยูธร ธาตุ ในความทรงไว/และมีอยู

Page 22: What is life

ทรรศนะศาสนาคริสต

ชีวิตมาจาก = พระเจา

Page 23: What is life

พระบิดา

พระบุตร พระจิต หรือพระ

วิณญาณ

อันบริสุทธิ์

รวมกันเปนพระเจาองคเดียว

ผู ไถบาป (พระเยซู )

ผูสรางพระยะโฮวา

ผูเสด็จเพื่อนําทาง

ชวยเหลอืมนุษยสู

พระเจา

พระตรีเอกนุภาพ

Page 24: What is life

ทรรศนะศาสนา อิสลามมาจากพระเจาศาสนาฮินดู มาจากพระเจา

Page 25: What is life

ทรรศนะนักวิทยาศาสตร

ใชคําวา สสาร ที่เรียกวา อนินทรียวิวัฒนาการเปน อินทรยี

Page 26: What is life

องคประกอบของชีวิต มี 2 สวน

ภายนอก กาย รปู ภายใน ใจ จิต นาม

Page 27: What is life
Page 28: What is life

มนะอุษย มน =ใจ

อุษย = สูงมนุษย = แปลวาผูมีใจสูง

Page 29: What is life

โครงสรางจิตมี 3 ระดบั1. จิตฝายต่ํา ID ควบคุมไมได

2. จิตระดับกลาง Ego ควบคุมได

3. จิตที่สงูสดุ Supergo จิตที่พฒันาแลว

Page 30: What is life

ชั่ว

Page 31: What is life

ภูมิมนษุย

สวรรค

มนุษย

นรก

Page 32: What is life

สวรรค 7 ชั้น

1. ชั้นจาตุมหาราชิกา

2. ชั้นดาวดึงส

3. ชั้นยามา

4. ชั้นดุสิต

5. ชั้นนิมมานรดี

6. ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี

Page 33: What is life

อบายภูมทิั้ง 4

1. นรก2. เปรต3. อสุรกาย4. เดรัจฉาน

Page 34: What is life

1

วิชาจริยศึกษาเพือ่การพัฒนาตน

เรียบเรียงโดย อ.ปราโมทย สุวรรณา (M.A Philosophy)

----------------------------------------------------------------------------------------------

ชีวิตในคําสอนของพระพุทธศาสนาและศาสนาตางๆ

๑. ลักษณะของชีวิต

“ชีวิต” ราชบัณฑิตยสถาน(๒๕๔๖: ๓๖๖) ไดใหความหมายไววา “หมายถึง ความ

เปนอยู” ตรงกันขามกับคําวา “อชีวิต” หรือ “อชีวะ คือ ความไมมีชีวิตหรือความตายเพราะกาย

ส้ินไออุนและวิญญาณ รากศัพทเดิมมาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาจากคําวา “ชีว ธาตุ” ซ่ึง

ประกอบดวย “ ต ” ในกิริยากิตก ลง อิ อาคม สําเร็จรูปเปน “ชีวิต”

ในคัมภีรบาลี อภิธานนัปปทีปกาสูจิ ไดใหนิยาม ชีวิต ไววา ชีว : ชีวนฺติ สตฺตา เนนาติ

ชีโว. ท่ีชื่อวา ชีวะ เพราะอรรถวิเคราะหท่ีมาสัตว ท้ังหลาย ยอมเปนอยูดวยเหตุปจจัยนั้น

(นาคะประทีป, ๒๔๖๔: ๔๕๐)

ชีวิต : ชีว ปราณธารณ, โต. ชีวนฺติ อเนนาติ ชีวิตํ. ชีวธาตุเปนไปในอรรถวา ทรงไวซ่ึง

ลมปราณ ลง ต ปจจัย จึงมีรูปเปน ชีวิต โดยมีอรรถวิเคราะหวา สัตวท้ังหลาย ยอมเปนอยูดวยการ

ทรงไวซ่ึงลมปราณน้ัน

ชีว (ชีวะ) น. ความอยู, ความเปนอยู , ใจ. ดวงวิญญาณ แตมักเรียกวา ชีโว

คําวาชีวิต มีผูใหความหมายเอาไว ดังนี้

๑. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ชีวิต คือ ความเปนอยู

๒. กลุมนักชีววิทยา ชีวิต คือ กบวนการ แหงการปรับตัวเอง

๓. กลุมจิตนิยม ชีวิต คือ การปรากฏระดับหนึ่งของวิญญาณท่ีสมบูรณ

๔. กลุมสสารนิยม ชีวิต คือ วิวัฒนาการของสสาร

๕. หลวงวิจิตรวาทการ ชีวิต คือ การตอสู

๖. เซ็คเปยร ชีวิต คือ ละครโรงใหญ

๗. อริสโตเติล ไดแบงทัศนะของชีวิต ไว ๓ ระดับ คือ

๗.๑ ชีวิตระดับพืช ชีวิตระดับนี้จะมีเฉพาะความตองการทางชีววิทยา เชน การ

หายใจ การกินอาหาร การขับถายและการสืบพันธ

๗.๒ ชีวิตระดับสัตว ชีวิตระดับนี้มีความตองการทางชีววิทยาและมีความรูสึกทาง

ประสาทสัมผัส เชน การเห็น การฟง เปนตน

Page 35: What is life

2

๗.๓ ชีวิตระดับมนุษย ชีวิตระดับนี้มีความตองการทางชีววิทยา มีความรูสึกทาง

ประสาทสัมผัสและมีแนวความคิดทางดานการคนควาหาเหตุผล อันกอใหเกิดวุฒิปญญา และ

คุณธรรมตาง ๆ

มนุษยเปนสัตวโลกท่ีแตกตางจากสัตวอื่นตรงท่ีมีสมองขนาดใหญ ซ่ึงเปนท่ีเกิดของปญญา

นํามารวมสรางลักญณะเหนือธรรมชาติ ( super organic ) ในวิถีชีวิต ซ่ึงพัฒนาชีวิตทางสังคมของ

มนุษยใหเจริญงอกงามมากข้ึนทุกที คริสตศตวรรษท่ี 20 นี้ มนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูบนโลกดวย

วิถีท่ีเหนือธรรมชาติอยางนาอัศจรรยสามารถคิดคนวิทยาการ นําเอาส่ิงแวดลอมท้ังปวงมาสราง

ปรับปรุง และดัดแปลง สรางประดิษฐกรรมใหม เพิ่มข้ึนตตลอดเวลา ชีวิตของมนุษยปจจุบัน จึง

แตกตางจากบรรพกาลอยางยิ่งเพราะเปนชีวิตท่ีสามารถจัดการและสรางเสริมความสุขสําราญใหแก

ชีวิตตามท่ีปารถนาไดดี ในสองสามศตวรรตนี้จึงไดเห็นปรากฏการณทางสังคมที่มนุษยภูมิภาค

ตางๆ ท่ัวโลกรวมกันเปนกลุมหรือองคกรรวมมือรวมใจกันเพื่อพัฒนาวิถีเศรษญกิจการเมือง สังคม

และวัฒนธรรมใหกาวหนา โดยเฉพาะในปลายคริสตศตวรรษท่ี 20 กระบวนการรวมโลกเปนหนึ่ง

เดียวอยางท่ีเรียกวาโลกาภิวัตน ( Globalization ) เพื่อเพรกระจายความคิดวิทยาการ เทคโนโลยีและ

ประดิษฐกรรม อยางกวางขวางแกชาวโลกทุกพื้นท่ี ในศตวรรษใหมนอกจากมนุษยจะเปนกลุมชีวิต

ท่ีสุขสบายบนโลกนี้ มนุษยปรารถนาแสวงหาพื้นท่ีและกลุมพันธมิตรใหมในดวงดาวอ่ืนตอไป

๑.๑ การเก้ือกูลจิตวิญญาณของกลุมพวกและมนุษยดวยกัน

ความปรารถนาทางสังคมหรือจิตใจนั้นมีอยูในมนุษยท่ัวไป มนุษยตองการทําตนใหเกิด

ประโยชน มีคุณคา และเปนท่ีช่ืนชมในหมูของตน ในการดําเนินชีวิตทางสังคม มนุษยตองการ

กําลังใจ เกียรติยศ และความสําเร็จตามเปาหมายแหงชีวิต ซ่ึงจะแสวงหาไดจากจิตท่ีมีคุณธรรมและ

สุนทรียภาพรวมกัน มนุษยใชปญญารวมกันสรางสมนําชีวิตของปจเจกบุคคลและเผาพันธุใหดําเนิน

และดํารงตอมาหลายช่ัวรุน มนุษยสรางขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎระเบียบตางๆเพื่อจัดระบบ

และควบคุมมนุษยใหสามารถติดตอแลกเปล่ียนและเกื้อกูลชีวิตทางสังคมแกกัน จนเกิดความมั่นคง

และความมีภราดรภาพภายในกลกลุม แมยามทุกขยากและเกิดปญหามนุษยพยายามรวมมือกันฝา

ฟนอุปสรรคและแกปญหาจนลุลวงไป ดังนี้ มนุษยจึงตางเปนขวัญและกําลังใจตอกัน แสดงการ

ยอมรับความชื่นชมยินดี และสรรเสริญคุณงามความดีของกัน จนเกิดความอบอุน ความประทับใจ

ซ่ึงสงเสริมจิตวิญญาณมนุษย ใหสูงยิ่งข้ึนไปมนุษยจึงสามารถรักษาเผาพันธุใหดําเนินชีวิตรวมกับ

มนุษยดวยกันและธรรมชาติแวดลอมดวยดีตลอดมา

๑.๒ ความเปนสัตวประเสริฐเหนือสรรพชีวิตอ่ืนบนโลก

วิวัฒนาการของมนุษย รวมกับชีวิตอ่ืนบนโลกนานหลายหม่ืนปไดประจักษชัดวา มนุษย

นั้นมีวิวัฒนาการแตกตางและพิเศษเหนือสัตวอ่ืนในโลก จนสามารถเรียกตนวาสัตวประเสริฐ

( wisdom animal ) หลายช่ัวอายุขัยมนุษยท่ีมนุษยยังดํารงชีพอยูไดท้ังมีการดําเนินชีวิตท่ีรุงเรืองอยาง

ไมมีส้ินสุด มนุษยมีพลังสรางสรรคท่ีจะจัดการกับชีวิตมนุษยและธรรมชาติอ่ืนๆ ดวยวิถีแหงปญญา

Page 36: What is life

3

วิทยาการ และเทคนิคใหม ท่ีเติบโตเร็วมาก ในสองสามศตวรรษนี้ ไดสรางชีวิตใหมท่ีดีท่ีสุดใหแก

มนุษย วิทยาการจักรกล อาทิ คอมพิวเตอร หุนยนต ตลอดจรชนการควบคุมเคร่ืองกลไรสายอ่ืน ทํา

ใหมนุษยมีอิทธิพลมากข้ึนบนโลกและกาวไปมีอํานาจเหนือดาวอ่ืน

อยางไรก็ตาม ธรรมชาติบางประการในตัวมนุษยไดทําลายมนุษยดวยกันและทําลาย

ธรรมชาติอ่ืนดวยความปรารถนาท่ีเกินกําลังจนเกิดกําลังจนเกิดเปนความโลภโกรธและหลงซ่ึงเปน

เหตุผลผลักดันใหมนุษยสวนหนึ่งตองเกิดความทุกขยากทางกาย หรือทางจิตใจชวงเวลาหน่ึงหรือ

ตลอดชีวิตเพราะการแขงขัน แยงชิง กอบโกยผลประโยชน ใหแกตนเองหรือกลุมพวกตน จนละเลย

ตอมนุษยธรรมอยางสัตยประเสริฐไปได ดังนี้ปรากฏการณการทําลายลางมนุษยท้ังในระดับจุลภาค

และภาคจึงพบในสังคมเสมอ เชน ปญหาสังคมปรากฏเสมอในท่ัวไป โดยเฉพาะสงครามระหวาง

ประเทศหรือสงครามโลกท่ีเกิดข้ึน ท้ังในประวัติศาสตรและปจจุบัน

๓. พลังสรางสรรคและทําลายสภาพแวดลอมบนโลก

พลังมนุษยชาติท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพต้ังแตบรรรพกาลมีอิทธิพลตอการ

เปล่ียนแปลงสภาวะแวดลอมของโลก จํานวนพลโลกเพิ่มข้ึนเสมอมาโดยเฉพาะในปลาย

คริสตศตวรรษท่ี 19 และ 20 นี้ประชากรโลกเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว จนกลาววาเปนการระเบิดทาง

ประชากร( population explosion ) สถาบันขอมูลประชากรสหรัฐอเมริกา (1999) แสดงสถิติ

ประชากร เม่ือเร่ิมคริสตกาลประชากรโลกมีประมาณ 225 ลานคน ค.ศ.2025 คาดวาประชากรโลกมี

กวา 7,800 ลานคนแรงกดดันดังนี้ มนุษยชาติตางเรงคิดคนประดิษฐกรรม เพื่อดูแลมนุษยจํานวน

มหาศาลใหมีวิถีชีวิตท่ีอยูรวดจนถึงมีชีวิตท่ีดีท่ีสุด จนทําใหมนุษยเปนผูพัฒนาและผูทําลายสรรพ

ส่ิงแวดลอมบนโลกท้ังเจตนาและไมเจตนา ปญหายิ่งใหญท่ีมนุษยเผชิญหนาอยู คือ การเส่ือมเสีย

ของสภาวะแวดลอมธรรมชาติการเผชิญหนากันของมนุษยตางกลุมตางรัฐเพื่อตอสูชวงชิงทรัพยากร

ท้ังในกลุมผูพัฒนาและผูดอยพัฒนากลุมนายทุนกับกลุมผูไรทุน และสงครามระหวางประเทศท้ัง

สงครามเย็นและสงครามรอน

วิวัฒนาการของมนุษย

มีผูอธิบายถึงวิวัฒนาการของมนุษยหลายทานดวยกัน แนวคิดท่ีสนใจเก่ียวกับวิวัฒนาการ

ของมนุษยมีดังนี้

วราคม ทีสุกะ กลาวถึงวิวัฒนาการของมนุษย จากการศึกษาคนคาวของนักวิทยาศาสตรได

สืบคนประวัติความเปนมาของมนุษยไดตามลําดับดังนี้

1. มนุษยมีบรรพบุรุษท่ีวิวัฒนาการจากสัตวเล้ียงลูกดวยนมชนิดหนึ่งในอันดับไพรเมตส

(Primates ) คือ ลิงเอปส ( Apes ) ลิงชนิดนี้มีชีวิตอยูเม่ือประมาณ 25 ลานปมาแลว ไดมีการคนพบ

ซากลิงเอปสบนเกาะเล็กๆ บริเวณทะเลสาบวิคเตอเรีย ในประเทศคีนยา ทวีปแอฟริกา เม่ือปค.ศ.

1930

Page 37: What is life

4

2. แรมพิทิคุส ( Rampathecus ) เปนไพรเมตสอีกชนิดหนึ่งท่ีคนพบในประเทศอินเดียเม่ือป

ค.ศ.1939 ตอมาคนพบอีกในทวีปแอฟริกาและยุโรป ไพรเมตสชนิดนี้มีขากรรไกรและฟนใกลเคียง

กับมนุษยมาก เช่ือกันวามีอายุอยูเม่ือประมาณ 14 ลานปท่ีแลว

3. ออสตราโลพิทิคุส ( Australopithecus ) คนพบท่ีแทนซาเนีย ทวีปแอฟริกาใต ตอมามีการ

คนพบอีกหลายแหง จากรูปรางของกระดูกสะโพก สันนิษฐานวายืดตัวตรงคลายมนุษย และเช่ือกัน

วามีการใชเคร่ืองมือในยุคนี้ คือ เคร่ืองมือท่ีเปนหิน สันนิษฐานวามนุษยออสตรา โลพิทิคุส มีความจุ

ของสมองประมาณ 860 ซีซี และมีชีวิตอยูประมาณ 2 ลานปถึง 5 แสนปท่ีแลว

4. โฮโมอีเรคตุส ( Homoerectus ) Homo ในภาษาละติน แปลวา คน Erectus แปลวายืนตัว

ตรง จึงหมายถึงวา คนท่ียืนตัวตรง ซากมนุษยเผาพันธุนี้คนพบซากท่ีชวา เรียกวา มนุษยชวา ท่ี

คนพบในประเทศจีน เรียกวา มนุษยปกกิ่ง สันนิษฐานวามีชีวิตอยูประมาณ 7 – 4 แสนลานปมาแลว

เช่ือกันวา โฮโมรอีเรคตุสเปนมนุษยท่ีอยูในระหวางออสตราโลพิทิคุสกับมนุษยปจจุบันสามารถยืน

ตัวตรงกวามนษยออสตราโลพิทิคุสมีความจุของสมองประมาณ 1,075 ซีซี ( นอยกวามนุษยใน

ปจจุบัน ) เคร่ืองมือท่ีใชเปนหินแตฝมือขอนขางหยาบแตก็ดีกวามนุษยออสตราโลพิคุศอีกอยางหน่ึง

ท่ีสําคัญเพิ่มข้ึนมา คือ รูจักใชไฟแลว

5. มนุษยนีแอนเดอรทัล ( Neanderthal Man ) ต้ังช่ือตามสถานท่ีคนพบแหงแรก คือ

สถานท่ีท่ีพบตร้ังแรกในหุบเขาแหงหนึ่งในประเทศเยอรมนี ตอมามีคนพบตามถํ้าหลายแหงใน

ยุโรป จากหลักฐานตางๆ ท่ีพบทําใหเช่ือวา มนุษยนีแอนเดอรทัล รูปรางใหญ เปนนักลาสัตว และ

รูจักใชไฟเปนอยางดี นอกจากนี้เช่ือวามนุษยพวกนี้มีมันสมองใหญเทากับมนุษยปจจุบัน และรูจัก

ทําพิธีฝงศพ เพราะมักจะมีเคร่ืองมือตางๆ ฝงรวมกับศพท่ีคนพบ มีชีวิตอยูเม่ือประมาณ 1.5 แสน

ลานปแลว

6. โฮโม เซเปยนส ( Homo Sapjens ) มีความจุมันสมอง 1,300 ซีซี นักมนุษยวิทยาเช่ือวา

แอนเดอรเดอรทัล ไดวิวัฒนาการมาเปนมนุษยปจจุบันท่ีเรียกวา โฮโม เซเปยนส (แปลวา มนุษยผู

ฉลาด )โฮโฒม เซเปยนส ยุคแรกท่ีสุด คือ มนุษยโครมาญอง ( Cro-Magnon Man ) คนพบท่ีประเทศ

ฝร่ังเศส มีอายุอยูระหวาง 4-3.5 หม่ืนป ซากมนุษยโฮโม เซเปยนส คนพบในท่ีหลายแหงท้ังในเอเชีย

แอฟริกา ยุโรป และออสเตรเลีย สันนิษฐานวาเปนนักลาสัตวเพราะพบอาวุธหลายอยาง เชน มีด ธนู

บางพวกเปนศิลปนเขียนภาพตามผนังถํ้า เชน ในประเทศฝร่ังเศสและสเปน นักมนุษวิทยาเช่ือวา

มนุษยโครมาญองนี้เปนพวกแรกท่ีออกจากถํ้า อันเปนการเปล่ียนแปลงคร้ังยิ่งใหญของมนุษยชาติ

ยุทธ ศักดิ์เดชยนต ไดกลาวถึงข้ันตอนของวิวัฒนาการของมนุษยไวดังนี้

๑. เอปส ( Apes ) ท่ีมีลักษณะเหมือนคน ไดแก Australopiticus และ Zinijanthropus

๒. คนท่ีมีลักษณะเหมือนเอปส ( Ape likke Man ) ไดแก Pithecanthropus และ

Sinanthropus

๓. มนุษยโบราณ ( Primitive Species of Man ) ไดแก Neanderthal Man

Page 38: What is life

5

๔. มนุษยโบราณ Cro – Magnon

มนุษยยุคปจจุบัน ( Modern men )

มนุษยปจจุบันท่ีช่ือวา Homo sapiens sapiens ไดกระจายอยูบนโลกท่ีมีลักษณะทาง

ภูมิศาสตรท่ีแตกตางกัน จึงทําใหเกิดเผาพันธุแตกตางกัน คอรครัมและแมคคอลเลย ( Corkrum and

Mc Cauley 1965 อางถึงใน บพิธ จารุพันธ และนันทพร จารุพันธุ 2538 : 573 – 576 ) อธิบาย

เผาพันธุมนุษยปจจุบันดังนี้

๑. ออสเตรลอยด ( Australoids ) โดยท่ัวไปมีลักษณศรีษะยาว จมูกแบน หนาผากตํ่า ผม

เปนลอน ขนตามตัวมาก ผิวดํา เชน คนเมืองในทวีปออสเตรเลีย เกาะทัสมาเนีย และชนเผา

ตอนกลางทวีปเอเชียใต ( พวกบิลและเวดดา : Bhils and Vaddahs ประเทศศรีลังกา ) และทวีปแอฟ

ริกา ( คนปาในทะเลทรายคาลาฮาร ของทวีปแอฟริกาใต )

๒. คอเคซอย ( Caucasoids ) ดํารงชีวิตอยูในขอบเขตอบอุน ลักษณะของศรีษะมีรูปราง

ตางๆกัน แตท่ีเหมือนกันก็คือ มีจมูกโดง และผมเปนลอน ผิวสีน้ําตาล หรือสีออน เปนกลุมเมดิเตอร

เรเนียน ( Mediteraneans ) ในทวีปยุโรปตอนใตบริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเดียนทางตะวันออก

ของเอเชียใตจนถึงอินเดีย ศรีษะยาวผิวน้ําตาล ผมสีน้ําตาลหรือดํา กลุมนอรคิด (Nordics ) ในยุโรป

เหนือ ศรีษะยาว ผิวสีบรอนซ ผิวขาว และกลุมอัลไพน ( Alpines ) อาศัยอยูบริเวณฝร่ังเศสตอนกลาง

ไปจนถึงรัสเซีย และปอรเซีย

๓. มองโกลอยด ( Mongolids ) ดํารงชีวิตในเขตอากาศหนาว ศรีษะกวางกระดูกแก็มเปน

โหนก จมูกไมโดงมาก ผมแข็งเหยียดตรง ผิวเหลืองหรือแดง ขนบนหนามีนอยอาศัยอยูบิเวณทวีป

เอเชียตะสันออกและทวีปอเมริกา แบงเปนกลุมอินเดียอเมริกา ( American Indians ) ซ่ึงอพยพจาก

ทวีปเอเชียตะวันออกและทวีปอเมริกา แบงเปนกลุมอินเดียในทวีปอเมริกาใต กลุมเอสกิโม

( Eskimos ) ลักษณะท่ัวไปคลายมาองโกลอยดทวีปเอเชียมากกวาอินเดียในทวีปอเมริกา อยูตาม

เมืองทางตอนเหนือของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุมมองโกลอยด เอเชีย ( Asiatic

Mongoloids ) อยูทางฝงตะวันออกทวีปเอซีย ประชากรทางตอนใตมีการผสมผสานระหวางลักษณะ

มองโกลอยดกับคอเคซอยจึงเช่ือวาเปนมองโกลอยดท่ีแยกสายมาจากคออคซอย

๔. นิกรอย ( Negroids ) ดํารงชีวิตในเขตอากาศรอน ศรีษะยาว จมูกกวาง ริมฝปากหนา

หนาผากสูง ผมนุม ผิวดํา แบงเปนกลุมนิโกรแอหริกา ( African Negros ) อยูในเขตรอนทองทวีป

แอฟริกา เชนพวกไนล ( Nile Negros ) พวกอยูในปาตอนกลางทวีป ( negros )พวกบันตู ( Bantus )

ทางตะวันออกเฉียงใตของทวีป ดพวกคนปาซูลู ( zulu ) และพวกคนปาเผาแคฟเฟอร ( Kuffir ) กลุม

นิโกรตามชายฝงทะเล ( Oceanic Negros ) คนผิวดําตามเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก และทาง

ตะวันออกของเกาะนิวกินี

Page 39: What is life

6

๕. ปกม่ี ( Pygmies , Negritoes ) รูปรางแคระ มีความสูงไมเกิน 145 เซนติเมตร จมูกกวาง

ศรัษะกวาง อาศัยอยูตามปาเขตรอนในคองโก หมูเกาะอันดามัน ในอาวเบงกอลคาบสมุทรมาเลย

เกาะนิวกินี และเกาะฟลิปนส

มนุษยแตกตางจากสัตวในดานการรูจักใชเคร่ืองมือมากกวาอยูที่ความแตกตางของรางกาย

เคร่ืองมือนั้นเทากับการยืดแขนมนุษยออกไป สัตวท้ังหลายมีเคร่ืองมือตามธรรมชาติเฉพาะท่ีเปน

สวนประกอบของรางกาย เชน มามีฟนสําหรับกินหญา และมีขาไวสําหรับวิ่งบนท่ีราบ แตรางกาย

นของมนุษยไมจําเปนตองมีวิวัฒนาการถึงเพียงนั้น เพราะมนุษยสามารถปรับตัวไดโดยการสราง

เคร่ืองมือเพื่อปรับสภาพแวดลอม และความสามารถในการปรับตัวของมนุษยเชนนี้เองทําใหมนุษย

สามารถสรางเคร่ืองมือใชเพื่อปรับตัวใหอยุไดในท่ีอยุตางๆบนโลก มนุษยจึงสามารถอยูไดแทบทุก

หนทุกแหงบนโลก และการท่ีมนุษยมีถ่ินท่ีอยูอาศัยแตกตางกันน้ีเองทําใหเกิดเช้ือชาติท่ีแตกตางกัน

ออกไปอยูในสวนตางๆ ของพื้นโลก ( ดูภาพคนเช้ือชาติตางๆซ่ึงมีแหลงกําเนิดแตกตางกันไป )

ลักษณะสําคัญของวิวัฒนาการมนุษย

วิวัฒนาการทางชีวภาพของมนุษย มีลักษณะท่ีสําคัญอยู 3 ประการ คือ ประการแรกมนุษย

สามารถยืดตัวตรงต้ังฉากกับพื้นและเดินดวยเทาเพียง 2 ขาง ทําใหมือท้ังสองวางอยุอะไรทําตางๆได

สะดวก ประการท่ีสอง การเปล่ียนลักษณะของกะโหลกศรีษะและฟน ซ่ึงทําใหเกิดลักษณะประการ

ท่ีสาม คือ ขนาดของมันสมองโตข้ึนและกลไกสวนตางๆก็ซับซอนข้ึนโดยเฉพาะสวนท่ีเกี่ยวกับการ

พุด

นักวิทยาศาสตรประมาณวามนุษยมีวิวัฒนาการอยางเต็มท่ีประมาณ 50,000 ปท่ีแลวมานี่เอง

และมนุษยพวกนี้สามารถใชเคร่ืองมือตางๆ กอนการพัฒนาขนาดของสมองไดเทากัน

กลุมเมดิเตอรเรเนียน ( Mediteraneans ) ในทวีปยุโรปตอนใต บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอร

เรเดียนทางตะวันออกของเอเชียใตจนถึงอินเดีย ศรีษะยาว ผิวสีน้ําตาล ผมสีน้ําตาลหรือดํากลุมนอร

คิด ( Nordics ) ในยุโรปเหนือศรีษะยาว ผิวสีบรอนซ ผิวขาว และกลุมอัลไพน ( Alpines ) อาศัยอยู

บริเวณฝร่ังเศสตอนกลางไปจนถึงรัสเซีย และปอรเซีย

มนุษยแตกตางจากสัตวในดานการรูจักใชเคร่ืองมือมากกวาอยูท่ีความแตกตางของรางกาย

เคร่ืองมือนั้นเทากับการยืดแขนมนุษยออกไป สัตวท้ังหลายมีเคร่ืองมือตามธรรมชาติเฉพาะท่ีเปน

สวนประกอบของรางกาย เชน มามีฟนสําหรับกินหญา และมีขาไวสําหรับวิ่งบนท่ีราบ แตรางกาย

นของมนุษยไมจําเปนตองมีวิวัฒนาการถึงเพียงนั้น เพราะมนุษยสามารถปรับตัวไดโดยการสราง

เคร่ืองมือเพื่อปรับสภาพแวดลอม และความสามารถในการปรับตัวของมนุษยเชนนี้เองทําใหมนุษย

สามารถสรางเคร่ืองมือใชเพื่อปรับตัวใหอยุไดในท่ีอยุตางๆบนโลก มนุษยจึงสามารถอยูไดแทบทุก

Page 40: What is life

7

หนทุกแหงบนโลก และการท่ีมนุษยมีถ่ินท่ีอยูอาศัยแตกตางกันน้ีเองทําใหเกิดเช้ือชาติท่ีแตกตางกัน

ออกไปอยูในสวนตางๆ ของพื้นโลก ( ดูภาพคนเช้ือชาติตางๆซ่ึงมีแหลงกําเนิดแตกตางกันไป )

ลักษณะทางกายภาพของมนุษย กําเนินใหมนุษย กําเนินใหมนุษยตองปรับตนอยางยิ่งยวด

เพื่อดํารงชีวิตอยูไดทามกลางชีวิตและสภาพแวดลอมอ่ืนๆ ท่ังโดยวิธีอยูรวมกัน ตอสูแยงชิงและการ

ถอยหนีจากส่ิงแวดลอมในธรรมชาติรอบๆตัว จนถึงบัดนี้ มนุษยสามารถดํารงรักษาเผาพันธุ ตลอด

ท้ังแสดงพลังอํานาจเหนือธรรมชาติแวดลอมบางสวนไดดีอันเปนผลใหสามารถเลือกสรรและ

พัฒนาชีวิตทางกายภาพและทางสังคมเขาสูระบบชีวิตท่ีดีท่ีสุด เม่ือพิจรณาเปรียบเทียบลักษณะทาง

กายภาพของมนุษยกับส่ิงมีชีวิตอ่ืน ตลอดท้ังผลท่ีนําไปสูการปรับตนเพื่อการดํารงอยูบนโลกพบ

โลกพบวา มนุษยมีท้ังลักษณะเดนท่ีสงเสริมใหเกิดพลังอํานาจและลักษณะดอยอันออนแอของ

มนุษย

๑. ลักษณะเดนทางกายภาพท่ีสงเสริมใหเกิดพลังอํานาจสรางสรรคมีหลายประการ

๑.๑ มนุษยนับวาเปนสัตวท่ีมีสมองขนาดใหญตามสัดสวนของรางกาย น้ําหนักสมอง

มนุษยปจจุบันประมาณ 1,600 มิลลิลิตร มนุษยจึงเปนสัตวท่ีคิดเปนและใชปญญาใหเกิดประโยชน

ในการดํารงชีวิตธํารงรักษาเผาพันธุของตน และมีอํานาจเหนือส่ิงมีชีวิตอ่ืนบนโลกส่ิงประดิษฐตางๆ

เปนผลผลิตของปญญาท่ีนํามาสรางเสริมใหการดํารงชีวิตของมนุษยสะดวกสบายข้ึน หรือในทาง

ตรงกันขามอาจนําไปสูความเส่ือมโทรมของธรรมชาติแวดลอมและหรือมนุษยเองก็ได

๑.๒ มนุษยมีนิ้วมือหานิ้วท่ีมีความคลองตัวในการหยิบจับส่ิงตางๆ แมส่ิงของขนาดเล็ก

จิ๋วอยางเข็มซ่ึงเข็มสงเสริมใหสามารถประดิษฐผลงานที่มีความประณีตละเอียดออนท้ังใหญเล็ก

โดยเฉพาะผลงานเชิงศิลปะมนุษยใชศักยภาพทั้งสองประการนี้พัฒนาส่ิงประดิษฐสําหรับการ

ดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ จึงสรางความภูมิใจและแสดงความสามารถ จากคํากลาว “ มนุษยทํา” (

man made )

๑.๓ ตําแหนงดวงตาท้ังสองขางของมนุษยอยูดานหนา สามารถมองเห็นชัดเจนเปนสาม

มิติและเห็นไดกวางไกล เม่ือมีการทรงตัวข้ึนในแนวต้ัง ลักษณะการมองเห็นดังนี้ มนุษยไดปรับ

สายตาเพ่ือมองและสรางสุนทรียภาพทางสายตา โดยอาศัยลักษณะทางชีวภาพสองประการขางตน

มารวมสรางสรรคจนเกิดเปนผลงานอารยธรรมของมนุษยชาติข้ึนมา

๑.๔ มนุษยมีการทรงตัวแนวต้ังจึงเกิดความคลองแคลวในการเคล่ือนท่ีรอบตัวเม่ือเทาท้ัง

สองวางเวาจากการทําหนาท่ีในการทรงตัว จึงกลายเปนมือท่ีมีคุณภาพในการสรางผลงานหรือ

ส่ิงประดิษฐท้ังปวง

๑.๕ มนุษยมีความตองการทางเพศเม่ือยางเขาสุวัยหนุมสาวและความตองการทางเพศนี้

เกิดข้ึนไดตลอดเวลาจนถึงวัยชรา ในขณะท่ีสัตวอ่ืนมีความตองการทางเพศในชวงเวลาเจริญพันธท่ี

ยาวนานตอเนื่อง แมวามนุษยสามารถมีลุกออนไดคราวละหน่ึงก็ตาม

Page 41: What is life

8

๑.๖ มนุษยเปนสัตวสังคม มนุษยนั้นมีความออนแอทางชีวภาพหลายประการดังจะกลาว

ตอไปจึงจําเปนและปรารถนาท่ีอยูรวมกันเปนกลุมเหลามากกวาอยูโดดเดี่ยวซ่ึงจะสามารถผดุงรักษา

ชีวิตของตนและเผาพันธุไวใหไดทามกลางธรรมชาติแวดลอมท่ีมีอันตรายและไมปลอดภัยนักผล

ของการรวมตัวทางกายภาพไดนําไปสูการระดมปญญาภายในกลุมสรางแบบแผนและระเบียบชีวิต

รวมกัน จนเกิดระบบชีวิตใหมท่ีเหนือกวาเปนธรรมชาติ อิทิ สัญลักษณ เชน ภาษา ขนบธรรมเนียม

ประเพณี และประดิษฐกรรมสําหรับการดํารงชีวิตทางสังคมของมนุษย

๑.๗ มนุษยมีชวงชีวิตท่ียาวนาน อายุขัยเฉล่ียของมนุษยประมาณ 58 ป มนุษยจึงมีชวง

โอกาสดีท่ีมีระยะเวลามากพอที่จะสรางสมภูมิปญญา และกระบวนการเรียนรูทางสังคม เพื่อใหเกิด

การสืบทอดและสานสรางวิถีชีวิตท่ีดียิ่งข้ึนของมนุษยรุนลูกหลานตอๆมา ความสามารถในการ

ปรับตัวดานการเรียนรูของมนุษยเชนนี้ สัตวอ่ืนไมอาจปรับตัวไดเชนมนุษย

๒. ลักษณะออนแอทางกายของมนุษย มีหลายประการจนอาจทําใหชีวิตและเผาพันธุของ

มนุษยชาติสูญส้ินโลกนี้ไดในทามกลางธรรมชาติท่ีแกรงและโหดราย แตอยางไรก็ตาม มนุษยไดใช

คุณลักษณะทางกายภาพท่ีดีท้ังปวงมาลบเลือนและขจัดลักษณะดอยกวาจนแทบจะหมดส้ิน กลาวคือ

๒.๑ ขนาดสรีระท่ีไมใหญโตนัก และการมีสรีระภายนอกที่ออนนุมเปราะบางดังเชน

ผิวหนังออนบาง เสนผม และเสนขนไมเหนียวและหนา เล็บเปราะ ฟนไมแข็งแรงและคมมากพอ

ลักษณะของสรีระเชนนี้เปนจุดออนของรางกายในการอยูรอดเนื่องจากไมสามารถทนทานตอเข้ียว

เล็บและวัตถุแข็งคมท้ังปวง แมสภาวะท่ีรอนหรือหนาวเกินไป อีกท้ังพละกําลังท่ีไมแข็งแรงพอจะ

ตอสุกับสัตวใหญไดโดยลําพัง

๒.๒ การเปลงเสียงตามสุญชาตญาณจณะมีความรูสึกตางๆ แมยามโกรธเกรี้ยวก็ไม

โกญจนาทความไวตอกล่ินตํ่า การไดยินเสียงไมสมบรูณสูงสุด การเคร่ือนไหวดวยการเดิน และการ

วิ่งไมรวดเร็วเชนสัตวอ่ืนคุณลักษณะทางชีวภาพท่ีออนแอเหลานี้เปนจุดออนในการดํารงอยูของ

ชีวิตมากทีเดียว

๒.๓ สภาวะการเจริญพันธุของมนุษยเปนอุปสรรค

๒. ชีวิตและกําเนิดชีวิตในทัศนะของศาสนาพุทธ

ชีวิต คือความเปนอยูขององคประกอบท่ีเรียกวา ขันธ ๕ อันประกอบดวย รูป เวทนา

สัญญา สังขาร และวิญญาณ ท่ีมาประกอบกันเขาเปนส่ิงท่ีบัญญัติเรียกวา สัตว บุคคล เรา เขา และการ

มีชีวิตนั้นเร่ิมนับต้ังแตปฏิสนธิในครรภมารดา และอาจจะส้ินสุดลงขณะใดขณะหนึ่ง ในชวงเวลาท่ี

แตกตางกัน เชน มีชีวิตอยูในครรภหลังจากปฏิสนธิไมกี่วัน หรือหลังคลอด ๑ วัน ๑ เดือน ๑ ป

หรือ…๒๐ ป…๑๐๐ ป(บุญมี แทนแก็ว, ๒๕๔๑: ๒๗ - ๒๘)และในชวงท่ียังมีชีวิตอยูยอมตองการมี

ชีวิตท่ีดีท่ีสุด ซ่ึงในทัศนะของพระพุทธศาสนา ชีวิตท่ีดีท่ีสุดคือ ชีวิตท่ีแสวงหาความจริงท่ีทําใหหลุด

พนจากการเวียนวายตายเกิด แตในความเปนจริงจะมีมนุษยสักกี่คนท่ีพยายามแสวงหาความจริงนั้น

Page 42: What is life

9

สวนมากยังตองการแสวงหาความสุข ลาภ ยศ สรรเสริญ มากกวา และพยายามท่ีจะหลีกเล่ียงความ

เส่ือมท้ังหลาย มีความเล่ือมลาภ เส่ือมยศ นินทา อันเปนทางมาแหงทุกข ท้ังนี้เพราะ ไมเขาใจวาคุณ

คาท่ีแทจริงของชีวิตนั้นคืออะไรนั่นเอง

การกําเนิดของชีวิต ทางพุทธปรัชญาเรียกวา โยนิ คือกําเนิดหรือท่ีท่ีปฏิสนธิวิญญาณอาศัยเกิด ชาติ คือการเกิด ท้ัง ๒ คํานี้มีความหมายตางกันวา โยนิ หมายถึงการกําเนิด, แบบ หรือ

ชนิดของการเกิดของสัตว สวนคําวา ชาติ นั้น มีความหมายกวางออกไปอีกคือ หมายถึงการเกิด

ชนิด เหลาและปวงชนแหงประเทศเดียวกัน ในมหาสีหนาทสูตร พระพุทธองคไดตรัสกับพระสารี

บุตรเกี่ยวกับโยนิ ไวดังนี้ สารีบุตร กําเนิด ๔ ชนิดนี้ กําเนิด ๔ ชนิดไหนบาง คือ กําเนิดอัณฑชะ กําเนิดชลาพุชะ

กําเนิดสังเสทชะ และกําเนิดโอปปาติกะกําเนิด กําเนิดอัณฑชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเจาะทําลาย

เปลือกไขแลวเกิด นี้เราเรียกวา กําเนิดอัณฑชะ กําเนิดชลาพุชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเกิดในครรภ

นี้เราเรียกวา กําเนิดชลาพุชะ กําเนิดสังเสทชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเกิดในปลาเนา ซากศพเนา

ขนมบูด น้ําครําหรือเถาไคล นี้เราเรียกวา กําเนิดสังเสทชะ กําเนิดโอปปาติกะ คืออะไร คือเทวดา

สัตวนรก มนุษยบางจําพวกและเปรตบางจําพวก นี้เราเรียกวา กําเนิดโอปปาติกะ

พระพุทธดํารัสขางตนนั้น บงชัดวา กําเนิดของสัตวหรือส่ิงมีชีวิตนั้นมี ๔ ทางคือ

๑. ชลาพุชะ หมายถึง การเกิดของส่ิงมีชีวิตแบบคลอดออกมาเปนตัวแลวคอยๆ โตข้ึน

ไดแก มนุษย เทวดาช้ันตํ่า (หมายถึง เทวดาช้ันจาตุมหาราชิกาท่ีเปนภุมมัฏฐเทวดาคือ เทวดาท่ีอยูบน

พื้นดิน ไมมีวิมานท่ีลอยอยูในอากาศเปนท่ีอยู ซ่ึงมีช่ือวา วินิปาติกอสุรา และเวมานิกเปรต) สัตว

เดรัจฉานบางพวก เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต คือเปรตจําพวกท่ีถูกไฟเผาอยูเสมอ) และอสุรกาย

๒. อัณฑชะ หมายถึง การเกิดของส่ิงมีชีวิตท่ีตองอาศัยเกิดจากทองมารดา แตมีฟอง

หอหุม คลอดออกมาเปนไขกอนแลวจึงฟกออกมาเปนตัวในภายหลัง ไดแก มนุษย เทวดาช้ันตํ่า

สัตวเดียรัจฉาน เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย

ในรูปสังคหวิภาค กลาววา ชลาพุชกําเนิดและอัณฑชกําเนิด ท้ัง ๒ รวมเรียกวา คัพภเสย

ยก-กําเนิด เพราะตองอาศัยเกิดในครรภมารดาเหมือนกัน ตางกันเพียงวา ออกมาเปนตัวหรือออกมา

เปนฟองกอนแลวจึงแตกเปนตัวภายหลัง ซ่ึงเกิดไดเฉพาะในกามภูมิเทานั้น๑๑

๓. สังเสทชะ หมายถึง การเกิดของส่ิงมีชีวิตแบบอาศัยท่ีเย็น ช้ืนหรือแฉะ ส่ิงบูดเนา เกิด

เชน หนอน (กิมิชาติ) แมพวกราและเช้ือโรคก็รวมอยูในสังเสทชะกําเนิด ไดแก มนุษย เทวดาช้ันตํ่า

สัตวเดียรัจฉาน เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย

๑. โอปปาติกะ หมายถึง การเกิดของส่ิงมีชีวิตแบบไมตองอาศัยมารดาบิดาเปนผูให

กําเนิด ไดแก มนุษยตนกัปป (มนุษยยุคแรก) เทวดา ๖ ช้ัน (ยกเวนเทวดาช้ันตํ่า) สัตวเดียรัจฉาน

เปรต (รวมท้ังนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย

Page 43: What is life

10

วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดาในมุมมองทางพระพุทธศาสนา

เม่ือเราทราบกันแลววาสัตวท่ีมาเกิดในครรภมารดาในลักษณะเปนวิญญาณ วิญญาณ

เขาถือปฏิสนธิในครรภมารดา ครรภมารดาสวนท่ีเล็ก ก็คือมดลูก (ชลาพุ) ในมดลูกมีไข

(OvumX ) ของมารดา ผสมกับน้ําเช้ือ (Spem) ของบิดาไดแลว

ปปญจสูทนี อธิบายวา เม่ือบิดามารดามีเพศสัมพันธกันแลงคร้ังหนึ่ง ภายใน ๗ วัน

นั้นเอง จะเปนชวงท่ีมีวิญญาณเขามาถือปฏิสนธิ หากเลย ๗ วันนั้นไป ไขท่ีผสมเช้ือหาไมมี

วิญญาณ ถือปฏิสนธิ ก็หมดสภาพ

เม่ือวิญญาณปฏิสนธิแลว ก็จะมีรูป ๓ อยางเกิดข้ึนพรอมกัน คือ เคาโครงรางกาย

(กาย) , สมอง (วัตถุ) และเพศ (เพศหญิงและเพศชาย) วิญญาณท่ีมาปฏิสนธินี้เรียกวา

ปฏิสนธิวิญญาณ (วิญญาณท่ีทําหนาท่ีใหกําเนิดชีวิต) เม่ือทําหนาท่ีใหปฏิสนธิและดับไปเปน

ปจจัยใหเกิดภวังควิญญาณสืบตอภวังควิญญาณนี้จะทําหนาท่ีหลอเล้ียงสรางสรรชีวิตใหมให

วิวัฒนาการข้ึนตามลําดับ

ในอินทกสูตร พระพุทธเจาไดตรัสถึงวิวัฒนาการของชีวิตในครรภมารดาไว ดังนี้

“รูปนี้เปนกลละกอน จากกลละเปนอัมพุทะ จากอัมพุทะเกิดเปนเปสิ จากเปสิเกิดเปน

ฆนะ จากฆนะเกิดเปน ๕ ปุม ตอจากนั้นก็มีผม ขนและเล็บ (เปนตน) เกิดข้ึน มารดาของสัตว

ในครรภบริโภคขาวน้ําโภชนาหารอยางใด สัตวท่ีอยูในครรภมารดาก็เล้ียงอัตตภาพอยูดวยอาหาร

อยางนั้นในครรภนั้น”

พระสูตรอีกสูตรหน่ึง ท่ีพระพุทธเจาไดตรัสไววาดวยลําดับของชีวิตในครรภมารดา

ซ่ึงเราไปพบคําบาลีเปนคาถาวา

ปมํ กลลํ โหติ กลลา โหติ อพฺพุทํ

อพฺพุทา ชายเต เปสิ เปสิ นิตฺตตฺตตี ฆโน

ฆนา ปสาขา ชายนฺติ เกสา โลมา นขาป

นี้คือคําอธิบายดวยลําดับการเกิดเปนระยะ ๆ ทีละชวงสัปดาห หรือชวงละเจ็ดวัน ๆ

ลําดับแรกท่ีสุดก็คือ เปน ปมํ กลลํ เปนกลละกอน

อรรถกถาสารัตถปกาสินีไดขยายความพระพุทธพจนนี้วา ระยะแรกเปนกลละนั้น

หมายความวา สัตวท่ีเกิดในครรภมารดาอวัยวะทุกสวนมิใชเกิดพรอมกันทีเดียว แทจริงแลวคอย ๆ

วิวัฒนาการข้ึนทีละนอยตามลําดับโดยระยะแรกอยูในสภาพเปน “กลละ” กอน กลละคือน้ําใส มี

สีคลายเนยใส ขนานเทาหยาดน้ํามันงา ซ่ึงติดอยูท่ีปลายดายท่ีทําจากขนแกะแรกเกิด ๓ เสน ฎีกา

อภิธัมมัตถวิภาวินี อธิบายเสริมวา “กลละนั้น มีเคาโครงของกายภาพอยูดวยแลว ๓ อยาง คือ

กายทสกะ (โครงสรางทางรางกาย) วัตถุทสกะ (โครงสรางทางสมอง) และภาวะทสกะ

Page 44: What is life

11

(โครงสรางกําหนดเพศ) โครงสรางท้ัง ๓ นี้ ปรากฏรวมอยูแลวในกลละ สวนกลละจะมี

ลักษณะเปนก็อนกลมใส มีขนานเทาหยดน้ํามันงาซ่ึงอยูติดท่ีขนแกะแรกเกิด ๑ เสน”

จากกลละมาเปนอัพพุทะ (จากน้ําใสมาเปนน้ําขุนขน) อรรถกถาอธิบายวา คร้ันเปน

กลละได ๗ วัน อัพพุทะนั้นจะวิวัฒนาการเปนน้ําขุนขน มีสีคลายน้ําลางเนื้อ เรียกวา “อัพพุทะ”

จากอัพพุทะมาเปนเปสิ (จากน้ําขุนขนมาเปนช้ินเนื้อ) อรรถกถาอธิบายวา คร้ันเปนอัพ

พุทะได ๗ วันแลว อัพพุทะนั้นก็วิวัฒนาการแข็งตัวเปนช้ินเนื้อสีแดง มีลักษณะคลายเนื้อแตงโม

บด

จากเปสิมาเปนฆนะ (จากช้ินเนื้อมาเปนก็อน) อรรถกถาอธิบายวา คร้ันเปนช้ินเนื้อได

๗ วัน ช้ินเนื้อก็วิวัฒนาการแข็งตัวข้ึนอีกเปนก็อนเนื้อ ทรงกลมรีคลายไขไก

จากก็อนเนื้อก็เกิดเปนสาขา อรรถกถาอธิบายวา ในสัปดาหท่ี ๕ ก็อนเนื้อข้ึนก็เกิดเปน

ปุม ๕ ปุม เรียกวา “ปญจสาขา” ปุม ๕ ปุมนี้ภายใน ๗ วันนั้น ก็วิวัฒนาการข้ึนเปนมือ ๒ ขาง

เทา ๒ ขาง และศีรษะ ในสัปดาหท่ี ๖ เคาโครงตา (จักขุทสกะ) ก็เกิด จากนนั้นสัปดาหท่ี ๗

เคาโครงล้ิน (ชิวหาทสกะ) ก็เกิด รวมเวลาต้ังแตแรกถือปฏิสนธิจนกระท้ังถึงเวลาเกิดอวัยวะ คือ

ตา หู จมูก ล้ิน ท้ังส้ิน ๙ สัปดาห (๖๓ วัน)

จากสัปดาหท่ี ๙ ไปถึงสัปดาหท่ี ๔๒ องคาพยพตาง ๆ เกิดข้ึน คือ ผม ขน เล็บ

หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังพืด ไต ปอด ไสใหญ ไสนอย

(อาหารใหม อาหารเกา)

ในขณะท่ีองคาพยพตาง ๆ เกิดข้ึนอยูนั้น สวนตาง ๆ ของรางกายก็เกิดข้ึนดวยพรอม

กันดังนี้

สวนท่ีเกิดเปนของเหลว (อาโปธาตุ) ไดแก น้ําดี เสลด น้ําเหลือง เหง่ือ มันขน เปลว

มัน น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ ปสสาวะ

สวนท่ีเปนพลังงาน (เตโชธาตุ) ไดแก ไฟธาตุทํารางกายใหอบอุน ซ่ึงตอไปจะแปร

สภาพเปนไฟยอยอาหาร ไฟทํารางกายใหทรุดโทรม ไฟท่ีทํารางกายใหกระวนกระวาย (เชน รอน

ใน เปนตน)

สวนท่ีเปนกาซ (วาโยธาตุ) ไดแก ลมพัดซานไป ลมพัดข้ึนเบ้ืองบน ลมพัดลงเบ้ืองตํ่า

ลมในทอง ลมพัดในไส ลมพัดไปมาตามตัว ซ่ึงตอไปจะแปรสภาพเปนลมหายใจ

๔. ความเปนอยูในครรภของมารดา ตามท่ีปรากฏในอินทกสูตร วา มารดาของสัตวใน

ครรภบริโภคขาวน้ําโภชนาการอยางใด สัตวผูอยูในครรภมารดาก็เล้ียงดวยอัตภาพอยางนั้นใน

ครรภ อรรถาธิบายเพิ่มเติมวา สัตวท่ีอยูในครรภมารดาบริโภคอาหารทางก็านสะดือ (นาภิโต

อฏฐิตนาโฬ) กลาวคือ ก็านสะดือจะติดเปนอันเดียวกันกับแผนทองของมารดา ก็านสะดือนั้นมี

ลักษณะเปนรูปพรุนขางในเหมือนก็าน รสอาหารที่มารดากินเขาไปแลวแผซานไปทางกานสะดือ

สัตวในครรภก็เล้ียงตนเองดวยรสอาหารนั้น

Page 45: What is life

12

สรุปแลวคนเราอยูในครรภมารดา ๔๒ สัปดาห คิดเปนเดือนได ๑๐ เดือน คิดเปนวัน

ได ๒๙๔ วัน ซ่ึงตลอดระยะเวลาเทานี้ ชีวิตเราเกิดและวิวัฒนาการสมบูรณเต็มท่ีพรอมท่ีจะ

ออกมาลืมตาดูโลกไดกลาวถึงการเกิด วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดาและความเปนอยูใน

ครรภมารดาในทัศนะของพระพุทธศาสนามาแลว

การเกิด ในวันท่ี ๑๔ ของแตละเดือน ในรางกายของหญิงท่ียังมีประจําเดือนจะมีไขสุก

พรอมท่ีจะผสมกับสเปอรมหลุดออกมาจากรังไข ไขนี้เล็กมากมีขนาด ๐. ๑๓๕ มิลลิเมตร ตัวไข

มีเยื่อบาง ๆ ซ่ึงเปนเซลลรูปกรวยคลุมอยู ภายในไขมีโครโมโซมบอกเพศทารกและยีนอยู ยีนนี้มี

ขนาดเล็กมากประมาณ ๐.๐๐๐๐๒ มิลลิเมตร และมีความสําคัญมากเพราะจําทําหนาท่ีสืบลักษณะ

ของบรรพบุรุษมายังลูกหลานตอไป ลักษณะดังกลาวนั้น ก็คือสีผมลักษณะของหนาตา ศรีษะ จมูก

รวมท้ังนิสัยใจคอเปนตน ยีนนี้มีอยูในโครโมโซม

โครโมโซมมีจํานวนจํากัด คือ มี ๒๓ คู รวมท้ังโครโมโซม X หรือโครโมโซม Y สําหรับบอก

เพศดวย

กอนท่ีไขกับสเปอรมจะผสมกัน ตางก็ลดจํานวนโครโมโซมเหลือคร่ึงหนึ่งภายหลังผสม

กันแลวจึงรวมกลับเปน ๒๓ คูเทาเกา ถารวมเปน ๒๒ คู + XY จะเปนชาย ถาเปน ๒๒ คู

+XX ลูกจะเปนหญิง

เม่ือสเปอรมเขาไปในชองคลอดแลว จะวายทวนข้ึนไปในโพรงมดลูก ไปท่ีหลอดมดลูก

ดานนอก ท้ังนี้กินเวลาประมาณ ๖๕-๗๕ นาที การผสมไขจะเกิดข้ึนท่ีนั่นโดยสเปอรม ๑ ตัว

จะใชหัวไซทะลุเยื่อหุมเซลลของไขเขาไปไดและท้ิงหางไวภายในนอกไข

จากนั้นไขท่ีผสมแลว (Ferltillzed Ovum = Zygote) จะลอยกลับไปโพรงมดลูก

ระหวางนี้ไขจะเปล่ียนแปลงรูปรางและเซลลภายในจากสภาพท่ีผสมแลวเปนสภาพมีผิวขรุขระ

คลายนอยหนา (Morula) ประมาณวันท่ี ๖ จะแปรสภาพเปนตัวออน (Embeyo) ซ่ึงจะววิฒันาการ

ตอไป ตัวออนข้ันนี้ จะมีสภาพเนื้อเยื่อของเซลลตรงกลางเปนรูกลวงซ่ึงพรอมแลวท่ีจะฝงตัวลงใน

เยื่อบุมดลูกท่ีเปล่ียนแปลงไปเพื่อการต้ังครรภ ตัวออนจะพัฒนาตัวเองอยู ๖ สัปดาห และส้ินสุด

เม่ืออายุ ๒ เดือน เนื้อเยื่อเซลลของตัวออนแบงออกไดเปน ๓ ช้ัน คือ

๑. ช้ันในท่ีสุด (Endoderm) ช้ันนี้จะเจริญเติบโตตอไปเปนเยื่อบุลําไส เยื่อบุทางเดิน

ของระบบหายใจ กระเพาะปสสาวะ ทอปสสาวะ ตอมไทรอยด และตอมไทมัส

๒. ช้ันกลาง (Mesoderm) ช้ันนี้จะเจริญเติบโตเปนกลามเน้ือ กระดูก เสนเลือด

กระดูกออน เอ็นตาง ๆ แกนกลางของฟน ไต ทอไต รังไข (เพศหญิง) ลูกอัณฑะ (เพศชาย)

หัวใจ หลอดโลหิต ทอน้ําเหลือง เยื่อหุมหัวใจและเยื่อหุมปอด

๓. ช้ันนอกสุด (Ectoderm) ช้ันนี้จะเจริญเติบโตเปนผิวหนัง ผม ขน เล็บ ตอมน้ํามัน

ตอมน้ําลาย ตอมน้ํามูก เคลือบฟน ระบบประสาท รวมท้ังเนื้อสมอง

Page 46: What is life

13

หลังจาก ๒ เดือนนี้แลว ขณะยางเขาเดือนท่ี ๓ เซลลอวัยวะจะเจริญเติบโตและมี

รูปรางพอที่จะมองเห็นคราว ๆ ไดวา เปนรางกายมนุษย (Fetus)

นับจากเดือนท่ี ๓ ถึงคลอด (คือสัปดาหท่ี ๘ หลังจากมีสภาพเปนตัวออนแลว) ทารกก็

จะเจริญเติบโตข้ึนเร่ือย ๆ อวัยวะตาง ๆ จะมีวิวัฒนาการไปตามลําดับจนครบ ๙ เดือน หรือ ๔๐

สัปดาห หรือ ๒๘๐ วัน จึงจะคลอด

๒. วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดา ไขต้ังแตผสมกับสเปอรมจนอายุได ๒

สัปดาห เรียกวา ไข (Ovum)

ระหวาง ๓-๘ สัปดาห เรียกวา ตัวออน (Embryo)

ระหวาง ๘ สัปดาห ถึงคลอด เรียกวา ทารก (Fetus)

ท่ีกลาวมาท้ังหมดนี้ คือ วิวัฒนาการอยางคราว ๆ ท่ีเปล่ียนสภาพมาตามลําดับคือ จาก

ไข เปนตัวออน และจากตัวออนเปนทารก นักชีววิทยาไดศึกษาและใหรายละเอียดเกี่ยวกับอวัยวะ

และนํ้าหนักตัวของทารกอีกดังตอไปนี้

สัปดาหท่ี ๓ เร่ิมมีทางเดินอาหาร ตอไปมีหัวใจเกิดข้ึน และมีตุมแขนขา และระบบ

ประสาท เร่ิมพัฒนาข้ึน โดยช้ันเซลลกอพันธดานอก หรือผิวหนังของตัวออนจะหนาข้ึนตามลําดับ

มีเสนกลางและกลายเปนกลีบยาว ๒ กลีบ กลีบยาว ๒ กลีบนี้แหละจะทําใหเกิดมีรองข้ึน ๑ รอง

จากดานหัวไปดานทาย รองนี้จะปดกลายเปนหลอดข้ึนมา ๑ หลอด เม่ือกลีบท้ัง ๒ แตะกัน

และผสมผสานเปนเนื้อเดียวกันโดยเร่ิมจากเอวเร่ือยไปจนถึงปลายท้ัง ๒ ขาง ยอดหลอดจะโตข้ึน

เปนสมอง และใยประสาทเร่ิมเติบโตออกจากสมองและไขสันหลังท่ีเพิ่งจะมีข้ึนมา

สัปดาหท่ี ๔ ตัวยาว ๑ เซ็นติเมตร มีตุมตา หู จมูก แก็ม เร่ิมเปนรูปรางข้ึนมา

สัปดาหท่ี ๕-๖ ตัวยาว ๑ เซ็นติเมตรเศษ ศรีษะและรางกายมีขนาดเทา ๆ กัน กาน

สมองเติบโตข้ึนมาก มือท้ัง ๒ ขาง มีนิ้วมือใหเห็นราง ๆ แตเทายังมีลักษณเหมือนใบพาย

สัปดาหท่ี ๖-๗ ตัวยาว ๒-๓ เซนติเมตร นิ้วมือกําลังพัฒนาข้ึนมา แตแขนยังส้ัน

สัปดาหท่ี ๘ ตัวยาว ๔ เซนติเมตร ตัวงอ มองดูศรีษะใหญกวาตัว เพราะสมองเร่ิม

เจริญ อวัยวะสืบพันธุภายนอกเจริญข้ึน แตยังแยกเพศไมได

สัปดาหท่ี ๙ ตัวยาว ๕ เซนติเมตร อวัยวะเพศเร่ิมวิวัฒนาการข้ึน

สัปดาหท่ี ๑๐-๑๑ ตัวยาว ๖ เซนติเมตร หัวใจเปนรูปรางสมบูรณแลว เซลล เลือดขาวท่ีทํา

หนาท่ีตอตานเชื้อโรคกําลังกอตัวข้ึนในปุมน้ําเหลือง ตายังปดอยู หนาผากใหญและกลม จมูกเล็ก

และบ้ี กลามเนื้อทํางานแลวท่ีใตผิวหนัง ริมฝปากเปดและปด หนาผากยน ค้ิวเลิกและศรีษะส่ันได

สัปดาหท่ี ๑๒ ตัวยาว ๙ เซนติเมตร หนัก ๑๕ กรัม มีนิ้วมือ นิ้วเทามองเห็นชัดเจน

และมีเล็บออน ๆ เร่ิมแยกเพศได

Page 47: What is life

14

สัปดาหท่ี ๑๖ ตัวยาว ๑๖ เซนติเมตร หนัก ๑๑๐ กรัม แยกเพศไดชัดเจน มีการ

เคล่ือนไหวของระบบการหายใจและการกลืนเร่ิมมีขนออนข้ึน ผิวหนังแดง ดิ้นไดจนมารดารูสึก

ทันที (ถาฟงจะไดยินเสียงหัวใจเด็กเตน)

สัปดาหท่ี ๒๐ ตัวยาว ๒๕ เซนติเมตร หนัก ๓๐๐ กรัม ศรีษะยังใหญอยู ทองเล็กลง

มีผมเพ่ิมข้ึน

สัปดาหท่ี ๒๔ ตัวยาว ๓๐ เซนติเมตร หนัก ๖๓๐ กรัม มีขนออนข้ึนท่ัวตัว มีขนตา

และขนค้ิว หนังตาแยกจากกัน ผิวหนังยนเหี่ยวรูปรางดีข้ึน

สัปดาหท่ี ๒๘ ตัวยาว ๓๕ เซนติเมตร หนัก ๑.๐๔๕ กรัม (สามารถเล้ียงรอดได ถา

คลอดออกมา แตมีจํานวนนอยมาก) ผิวหนังมีสีแดง ยน และมีไขปกคลุมอยูเต็ม ลืมตาได

(อัณฑะลงมาอยูในถุง- เพศชาย) รองเสียงคอย

สัปดาหท่ี ๓๒ ตัวยาว ๔๐ เซนติเมตร หนัก ๒,๐๐๐ กรัม ลักษณะคลายคนแก และ

คลายเด็กปลายสัปดาหท่ี ๒๘

สัปดาหท่ี ๓๖ ตัวยาว ๔๕ เซนติเมตร หนัก ๒,๕๐๐ กรัมข้ึนไป ผิวหนังมีสีชมพู ถือ

วาครบกําหนดคลอดแลว รองทันทีเม่ือคลอด และลืมตายกมือยกเทาปดไปปดมา สวนมากถาย

ปสสาวะขณะท่ีรอง ทําปากดูดได และถาใหน้ํารับประทานจะดูดได มีขนเล็กนอยบริเวณไหล มี

ไขติดตามตัวโดยเฉพาะตามขอพับ เล็บยาวพันนิ้ว เด็กผูชายอัณฑะจะลงมาอยูในถุงอัณฑะ

เด็กผูหญิงแคมอวัยวะเพศท้ัง ๒ ขางจะติดกัน

๓. องคประกอบของชีวิต

ชีวิตท่ีสามารถดํารงอยูไดดวยสวนประกอบท่ีสําคัญ ๒ สวนคือ กายกับใจ หรือจิต ถา

หากปราศจากส่ิงใดส่ิงหนึ่งแลว ไมสามารถท่ีจะดํารงอยูไดดวยตัวของมันเอง แตเปนการอาศัยซ่ึง

กันและกันจึงดํารงอยูได จึงใครท่ีจะเสนอแนวคิดเหลานี้

สมพร สุขเกษม (๒๕๔๒: ๔๕ - ๕๑) ไดกลาวถึงองคประกอบของชีวิตไวสรุปไดดังนี้

๑. องคประกอบของชีวิตทางกายภาพ

รางกายมนุษยประกอบไปดวยเซลล (Cell) จํานวนนับพัน ๆ ลานเซลลข้ึนไป เซลลเปน

หนวยยอยท่ีเล็กท่ีสุดในชีวิต ซ่ึงแสดงธรรมชาติของความมีชีวิต เชน ในสวนของเซลท่ีเปนโปโต

ปลาสซึม ( Photoplasm ) ซ่ึงเรียกกันวาสารมีชีวิต ( Life substance) นั้นมีการเจริญเติบโตขยายพันธ

ตอบสนองตอส่ิงเรา หายใจตองการอาหารและมีการเปล่ียนแปลงอาหารใหเปนพลังงาน ธรรมชาติ

เชนนี้ทําใหชีวิตมี “ ความตองการทางกาย ” หรือ “ความตองการทางชีววิทยา” ( Biological

Needs ) ซ่ึงเปน “แรงขับ” ( Drives) พื้นฐานของพฤติกรรม

Page 48: What is life

15

เซลลเปนตนกําเนิดของพฤติกรรมหรือกิจกรรมของชีวิต โดยประสานการทํางานเขา

ดวยกันเซลชนิดเดียวกันรูปรางเหมือนกัน รวมกันทําหนาท่ีใดหนาท่ี หนึ่งเปนกลุมของเซลเรียกวา

เนื้อเยื่อ (Tissue) เนื้อเยื่อหลาย ๆชนิดรวกันทํางานเปนกลุมเรียกอวัยวะ (Organ) และอวัยวะ

หลาย ๆ ชนิดท่ีรวมกันทําหนาท่ีเฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง ใหรางกายเรียกวา ระบบ ( System ) ซ่ึง

มีหลายระบบ

๑.๑ อวัยวะในรางกาย

ระบบอวัยวะในรางกาย ไดแก

๑.๑.๑ ระบบเคร่ืองหอหุม ( Integumentary system)

๑) ระบบโครงกระดูก ( Skeletal system )

๒) ระบบกลามเนื้อ (Muscular system)

๓) ระบบยอยอาหาร ( Digestive system)

๔) ระบบวงจรโลหิต ( Circulatory system)

๕) ระบบหายใจ( Respiratory system)

๖) ระบบประสาท ( Nervous system )

๗) ระบบความรูสึก (Sensory system)

๘) ระบบขับถาย (Excretory system)

๙) ระบบสืบพันธ ( Reproductive system)

๑๐) ระบบตอมไรทอ ( Endocrine system)

ระบบท่ีประสานงานกับจิตโดยตรง คือระบบประสาท และระบบความรูสึก กระทบ

ไปท่ีระบบตอมไรทอ และสงผลไปท่ีระบบตอมกลามเนื้อ ระบบประสาทและระบบความรูสึก

และเม่ือนั้นระบบยอยอาหารและระบบขับถายจําเปนตองมีตามมา เพื่อสงเสบียงสูวงจรโลหิตและ

ระบบโครงกระดูกและระบบหอหุมก็เปนระบบท่ีตองพลอยเกิดตามมาอีกดวย เพื่อเปนท่ีต้ังของทุก

ระบบสวนระบบสืบพันธุนั้น เปนระบบถายโยงสืบตอลักษณะการมนุษยไว เปนระบบสามัญท่ีมี

ในทุกสรรพส่ิงท่ีมาปรากฏ ซ่ึงมีข้ันตอนท่ีตองถายโอนสืบตอ เปนหลักการของการดําเนินไปของ

ธรรมชาติ เพราะทุกสภาวะนั้นปรากฏอยูเพียงช่ัวคราว เม่ือจะตองเปล่ียนเปนสภาวะปรากฏใหม

ระหวางข้ันของการเปลี่ยนนั้น จะเปนสภาวะของการถายโยง สืบตอซ่ึงมีในทุกส่ิง แตในรูปแบบ

วิธีการและการปรากฏท่ีแตกตางกันไป

๑.๑.๒ ระบบอวัยวะท่ีเกี่ยวของกับการแสดงพฤติกรรม ในท่ีนี้กลาวถึงเพียง

๒ ระบบคือ ระบบกลามเนื้อ และระบบประสาทซ่ึงนํามากลาวไวเพียงโดยยอดังนี้

๑) ระบบกลามเนื้อ ( Muscular system)

Page 49: What is life

16

กลามเนื้อลาย( Striped muscles)ทําหนาท่ีแสดงปฏิกิริยาตอส่ิงเรา

ภายนอก การทํางานอยูในความควบคุมของจิตใจ โดยรับคําส่ังจากสมอง ยกเวนปฏิกิริยาสะทอน

ซ่ึงตอบตอส่ิงเราโดยไมผานจิตใจและสมอง

กลามเน้ือเรียบ ( Smooth muscles) อยูตามอวัยวะภายในทํางานอยูนอก

อํานาจจิตใจ ตอบสนองส่ิงกระตุนภายใน

กลามเน้ือหัวใจ ( Cardiac muscles)ทํางานนอกคําส่ังจิตใจทํางานต้ังแต

เกิดจนตาย

๒) ระบบประสาท ( Nervous system) หนาท่ีของระบบประสาทท่ี

เกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมท่ีสําคัญ คือ รับความรูสึกจากส่ือเราหรือส่ิงแวดลอม และควบคุม

รางกายในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนองเปนศูนยความคิดความจํา ความมีเหตุผล และเก็บปรับ

การณ ซ่ึงมีผลตอบุคลิกภาพลักษณะนิสัย และการกระทําตาง ๆ ของบุคลนั้น ควบคุมการทํางาน

ของอวัยวะภายใน เชน การเตนของหัวใจ การหายใจกายยอยอาหาร และอ่ืน ๆ ซ่ึงมักเปนเร่ือง

ของประสาทอัตโนมัติ ควบคุมการเคล่ือนไหว และการทํางานของกลามเน้ือและอ่ืน ๆ ซ่ึงเปน

กิริยาอาการภายนอกของบุคคล องคประกอบรวมในการทํางานของระบบประสาทไดแก เซลล

ประสาทและเสนประสาท ระบบประสาทสวนกลาง สมอง ไขสันหลัง ระบบประสาทสวนนอก

รายละเอียดพอสังเขปองคประกอบเหลานี้มีดังนี้

๑. เซลลประสาท ( Neurons) และเสนประสาท ( Nerves)

๑.๑ เซลลประสาท ในรางกายมนุษยมีเซลประสาทหลายลานเซล

กระจายอยูท่ัวไปในสองและไขสันหลังมีมากท่ีสุด เซลประสาทแตละเซลประกอบดวยตัวเซลและ

ใยเซล ใยเซลแบงเปน ๒ ประเภท คือ

๑.๑.๑ ใยรับความรูสึก (Dendrite) เปนแขนงส้ัน ๆ แตก

กิ่งกานสาขามากมาย ในแตละเซลรับความรูสึกจากภายนอก หรือจากเซลอื่นสงเขาไปในตัวเซลล

๑.๑.๒ ใยสงความรูสึก ( Axon หรือ Ax one) แตละเซลมี

ใยสงความรูสึกเสนเดียวมีความยาวมาก ทําหนาท่ีสงตอความรูสึก จากเซลหน่ึงไปยังอีกเซลหน่ึง

๑.๒ เสนประสาท เซลประสาทมักอยูรวมกันเปนมัด ๆ คลาย

กับลดทองแดงของสายไฟฟาเรียกวา เสนประสาท เสนประสาทบางเสนมีเซลเดียว บางเสนมี

หลายเซล เสนประสาทแบงเปน ๓ ประเภท คือ

๑.๒.๑ ประสาทรับความรูสึก ( Sensory nerve ) รับการ

กระตุนจากส่ิงเราภายนอก มีอยูตามอวัยวะรับความรูสึกตาง ๆ เพื่อรายงานไปยังสมองและไขสัน

หลัง

๑.๒.๒ ประสาทมอเตอร ( Moter Nerve ) รับคําส่ังจาก

สมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะตาง ๆ ( Effector ) กระทําปฏิกิริยาตอบสนองตอส่ิงกระตุน

Page 50: What is life

17

๑.๒.๓ ประสาทเช่ือมโยง ( Association nerve ) อยูในไข

สันหลังและสมอง เปนตัวเช่ือมโยง ( Connector) ระหวางประสาทรับความรูและประสาทมอเตอร

๒. ระบบประสาทสวนกลาง( Central Nervous system ) ระบบ

ประสาทสวนกลาง คือ เซลลประสาทท่ีรวมกันอยูในสมอง และไขสันหลังโดยมีเซลประสาท

สวนนี้ แผไปยังอวัยวะรับสัมผัส และอวัยวะมอเตอรท่ัวรางกายระบบประสาทที่สองและไขสัน

หลัง จึงเปนศูนยกลางของระบบประสาททั้งหมด สมองทําหนาท่ีรับความรูสึก ท่ีสงมาจากสวน

ตาง ๆ ของรางกาย แปลความหมาย ส่ังรางกายใหมีปฏิกิริยาตอบสนอง สมองแบงเปนสามสวน

คือ สมองสวนหนา ( Forebrain ) คือ สมองสวนใหญ สําคัญมากท่ีสุดมีรองรอยหยักมากท่ีสุด ซี

รีบรัมของสัตวชนิดอ่ืน ๆ แบงเปน ๔ สวน

Frontal Lobe อยูดานหนาควบคุมการเคล่ือนไหว การพูดการจํา

การคิด การเรียนรู และการจินตนาการ

Parietal Lobe อยูตรงกลางรับสัมผัสทางผิวหนัง

Temporal Lobe อยูดานขางควบคุมการไดยิน

Occipital Lobe อยูดานหลังควบคุมการรับรูทางตา

สมองสวนกลาง ( Thalarnus ) อยูตรงกลางของเนื้อสมองเปน

ศูนยรวมความรูสึกท่ีสงมาจากสวนตาง ๆ กอนสงไปใหสองสวนใหญ และเปนศูนยกลางสง

กระแสประสาทหรือ คําส่ังจากสมองสวนใหญไปสวนตาง ๆ ของราง กาย

สมองสวนเล็ก ( Cerebellum ) คือสมองสวนหลังเปนเนื้อสมอง

บริเวณทายทอยเนื้อกลามสมองข้ึนไป ชวยใหกลามเนื้อตาง ๆ ประสานงานกันไดดี และควบคุม

การทรงตัวของรางกาย

กานสมอง ( Brain Stem ) เปนสวนของสมองท่ีเช่ือมตอ มาสู

ไขสันหลังดานบน ประกอบดวยเซลประสาทอยูกัน เปนแผงเรียกวา พอนส ดานลางเรียกวาเมลดู

ลา ( Medulla oblongata ) เช่ือมตอกับไขสันหลังในลักษณะไขวกัน คือ ประสาทรางกายดานขวา

จะไขวข้ึนทางซายของสมอง ประสาทรางกายดานซายจะไขวขึ้นทางขวา กานสมองควบคุมการ

หายใจ การเตนของหัวใจ การยึดหดของเสนเลือด การกลืน การอาเจียน

อีกสวนหนึ่งในสมอง ท่ีมีอิทธิพลมากตอการแสดงพฤติกรรม

คือ ไฮโปธัลลามัส ควบคุมการเกิดอารมณและความรูสึกตาง ๆ รวมท้ังความรูสึกทางเพศ

ควบคุมอุณภูมิของรางกายและเมตตาบอลิซึม ( Metatabolism ) การเผาผลาญของคารโบไฮเดรต

และไขมัน ความดันโลหิต ความสมดุลของน้ําในรางกาย การนอนหลับและอ่ืน ๆ อีกบาง

ประการ

๑.๑.๓ ไขสันหลัง ( Spinal Cord ) ไขสันหลังเปนเสนประสาทในโพรงของ

กระดูกสันหลัง ทอดยาวจากกนกบไปจนถึงกานสมอง ทําหนาท่ีดังนี้

Page 51: What is life

18

เปนตัวกลางรับกรพะแสประสาทจากสวนตาง ๆ เขาสูสมองและจากสมอง

ไปสูประสาทมอเตอรตามสวนตาง ๆ เปนศูนยกลางการเกิดปฏิกิริยา สะทอน ( Reflex action )

ระบบประสาทสวนนอก ( Peripheral Nervous system : PNS ) คือ สวนของ

เซลท่ีแยกพนจากระบบประสาทสวนกลางระบบประสาทสวนนอกมี ๒ ประเภท คือ

เสนประสาทสมอง ( craianaaial nerves ) กับเสนประสาทไขสันหลัง ( Spinal nerves )

เสนประสาทสมองควบคุมการทํางานของระบบตาง ๆ ของรางกายสวนบนนับต้ังแต คอ ข้ึนไปมี

๑๒ คู แตกแขนงออกมาจากสมอง เสนประสาทไขสันหลัง ควบคุมการทํางานของอวัยวะ

สวนลาง นับต้ังแตคอลงมามี ๓๑ คู แตกแขนงออกจากไขสันหลัง

ระบบประสาทอัตโนมัติ ( Automatic nervous system: ANS ) มีหนาท่ีควบคุม

การทํางานของอวัยวะภายใน อยูนอกอํานาจจิตใจบังคับใหเปนไปตามตองการไมได เชน การเตน

ของหัวใจ การสูบฉีดโลหิต การยอย การดูดซึม อาหาร และกระบวนการสันดาปในรางกาย มี

ระบบทําการสองระบบ คือระบบ Sympathetic เปนระบบปรับเพิ่มและระบบ Parasympathetic

เปนระบบปรับลดเพื่อใหไดภาวะสมดุล

ปฏิกิริยาสะทอน ( Reflex action) เปนกลไกของรางกายในการตอบสนองตอ

ส่ิงเรา ปฏิกิริยาสะทอน เปนไปโดยไมจงใจ คือ อยูนอกการบังคับของจิตใจ และกระทําในเวลา

อันรวดเร็ว โดยเจาตัวมักไมรูสึกตัว เชนการหลับตาทันที เม่ือผงเขาตา ควบคุมดวยไขสันหลัง

ไมมีการรับรูท่ีสมอง ไมมีกระบวนการคิด การตัดสินใจหรือพิจารณาไตรตรอง

อวัยวะรับสัมผัส ( Sensory Organs )ทําหนาท่ีรับขาวสาร หรือความรูสึกจาก

ภายนอกหรือ ภายใน แลวสงผานไปยังระบบประสาทสวนกลาง อวัยวะท่ีทําหนาท่ีรับความรูสึกนี้

เรียกวาตัวรับรูมีความสามารถท่ีจะเปล่ียนพลังงานจากรูปตาง เปนพลังงานประสาทไดอวัยวะ

เหลานี้ไดแก

๑) ตา( Eye ) เปนตัวรับรูแสงสําหรับภาพ

๒) หู ( Ear )เปนตัวรับรูเชิงกล ทําหนาท่ีเกี่ยวกับการไดยิน และควบคุมการ

ทรงตัว

๓) ล้ิน (Tongue ) ประกอบดวยตอมรับรส ซ่ึงเปนตัวรับรูสารเคมีสําหรับรับ

กล่ิน

๔) จมูก ( Nose) ประกอบดวยเซลรับกล่ิน ซ่ึงเปนตัวรับรูสารเคมี สําหรับรับ

กล่ิน

๕) ผิวหนัง ( Skin) เปนการสัมผัสรับความรูสึกสัมผัสเกี่ยวกับ เจ็บ รอน

หนาว หรือความกดดัน

ระบบอวัยวะรับความรูสึกเหลานี้ มีระดับความซับซอนของโครงสรางและทําหนาท่ีรับ

พลังงาน รูปแบบตาง ๆ แตหลักการทํางานพื้นฐานเดียวกัน คือ

Page 52: What is life

19

๑. มีตัวรับ ( Receptor cells ):ซ่ึงจะนํา Transducer คือความสามารถเปล่ียนพลังงาน

รูป ใด รูปหนึ่ง เชนแรงกด แสงเสียง หรือสารเคมี ใหเปนพลังงานไฟฟาในรูปของพลังงาน

ประสาทโดยมีส่ิงเราท่ีเหมาะสมมากระตุน จะเกิดการเปล่ียนแปลงของเยื่อผนังเซล ตอไปไอออน

บางตัวจึงเกิดเปนพลังประสาทท่ีสงทอดตอไป

๒. มีเสนใยประสาท ( Nerve fiber) ท่ีทําหนาท่ีสงสัญญาณ ท่ีเกิดข้ึนไปยังสองบริเวณ

ท่ีเหมาะสมเพื่อการรับรู และการแปรผล วาส่ิงท่ีมากระตุนนั้น คือ อะไร และรางกายสวนไหน

ควรจะมีการตองสนองอยางไรจึงจะเหมาะสม

๔. โครงสรางและองคประกอบของจิต

สมพร สุขเกษม (๒๕๔๒: ๕๑ - ๕๗) ไดกลาวถึงจิตวา จิตประกอบดวย จิต กับ

เจตสิกสรุปไดดังนี้

๑. จิต คือธรรมชาติ “รู” ท่ีมีอยูในความเปนชีวิต มีความเปนไปในระบบสืบทอด

ตอเนื่อง คือ จิตดวงหนึ่งเกิดข้ึน ดํารงอยู แลวดับไป ในเวลาอ้ันส้ัน สืบทอดตอเนื่องอยางรวดเร็ว

ปรากกฏเปนจิตดวงใหมเกิดข้ึนดํารงอยู แลวดับไปสืบตอกันเปนเชนนี้

๒. เจตสิก คือองคท่ีเขาประกอบกับจิต เพื่อแสดงลักษณะของจิต เจตสิกเกิดดับ

พรอมกับจิต จิตเปนองคหลัก เม่ือมีเจตสิกเปนองคท่ีเขาประกอบกับจิต จิตจึงยึด

เหนี่ยวอารมณเดียวกับเจตสิกองคท่ีประกอบอยูนั้น และมีอาศัยเกิดข้ึนท่ีเดียวกัน

เพราะการประกอบกันเขาของเจตสิกจิตมีตัวทําการท่ีเปนโครงสรางหลัก และมี

ตัวทําการท่ีทําใหเกิดจิตประเภทตาง ๆ ท้ังดี ช่ัว เปนกลาง ๆและผสมผสาน

ความดี ช่ัว และเปนกลาง ๆ นั้นอยูอยาซับซอน จิตซับซอนมากนอยอยู ท่ี

สวนผสมผสานขององคเจตสิกท่ีเขารวมประกอบกันขณะหนึ่ง ๆ นั้น

เจตสิกมี ๕๒ ชนิดจําแนกไดเปนหมวดหมูตามการกําเนิดรวมกันและความสอดคลอง

กันดังนี้

๑ . เจตสิกพื้นฐาน ๑๓ แบงเปน

๑.๑ เจตสิกพื้นฐานท่ัวไป ๗ ไดแก

๑.๑.๑ ผัสสะ ทําหนาท่ีรับกระทบทางประตูจิตท้ัง ๖ คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย

และใจ รูปกระทบท้ังจักขุประสาท ผัสสะเจตสิกก็ทําการกระทบของรูปกับประสาทตาเปนตน

และแมแตอารมณท่ีเกิดจากการรูสึกนึกคิก ก็มีผัสสะเจตสิกเขามาทําหนาท่ีท่ีรับกระทบเชนกัน คือ

รับการกระทบของอารมณท่ีรับการกระทบจิต

๑.๑.๒ เวทนา ทําหนาท่ีรับอารมณสุขหรือทุกข ท่ีเกิดจากการกระทบทาง

ประตูจิตท้ัง ๖

Page 53: What is life

20

๑.๑.๓ สัญญา ทําหนาท่ีเก็บอารมณและกรรมทุกประการ สัญญาเจตสิกจะเก็บ

อารมณนั้น ๆ ไดมากเม่ือรับการกระทบท่ีรุนแรงหรอ ซํ้าซาก

๑.๑.๔ เจตนา เปนความจงใจหรือความปรารถนา ซ่ึงการเห็น การไดยิน การ

คิดจะเกิดเปนอารมณข้ึนเพราะเจตนาเจตสิก เจตนาเจตสิกจึงเปนตัวกระตุนเตือนผัสสะเจตสิกและ

เวทนาเจตสิกใหทําหนาท่ีรวมกับตน

๑.๑.๕ เอกัคคตา เจตสิกแหงความต้ังม่ันในอารมณหนึ่ง เจตสิกนี้จะเขา

ประกอบใหจิตจรดอยูกับอารมณนั้น ๆ

๑.๑.๖ ชีวิตินทรีย เจตสิกนี้จะทําหนาท่ีเช่ือมโยง หลอเล้ียงเจตสิกตาง ๆ ให

คุมเขาดวยกันเจตสิกนี้คือ ความเปนชีวิต เจตสิกท้ังหลายจึงผูกโยงเกาะยึดกันอยูดวยยางใยของ

ชีวิตินทรียเจตสิก

๑.๑.๗ มนสิการ การใสใจตออารมณ บุญหรือบาป จะเกิดสืบเนื่องมาจากการ

มนสิการโดยแยบคายหรือไมแยบคาย

เจตสิกท้ัง ๗ นี้ เรียกไดวาสัมพพสาธารณเจตสิก เปนเจตสิกพื้นฐานท่ัวไป คือ

เปนเจตสิกหลักท่ีประกอบกันอยูเปนโครงสรางของจิตทุกดวง

องคประกอบของชีวิตตามหลักของพระพุทธศาสนา

องคประกอบของชีวิตตามแนวพระสุตตันตปฎกก็คือ ขันธ ๕ ซ่ึงขันธ ๕ นี้แยกออกได

เปน ๒ สวนคือ กายกับใจ หรือ รูปขันธและนามขันธ รูปขันธ ไดแกสวนของรางกายหรือรูป นาม

ขันธ ไดแก เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซ่ึงเปนสวนของใจ ตามนัยแหงอภิธรรมเรียก

วิญญาณขันธท้ังหมดวา จิต ซ่ึงจะกลาวในขอตอไป ดังนั้น มนุษยตองมีท้ังกายและใจในการทํา

หนาท่ีสอดประสานใหชีวิตดํารงอยูและดําเนินตอไปได

การเกิดของมนุษยในพระพุทธศาสนากลาวา ประกอบดวยองค ๓ คือ ๑) บิดามารดาอยู

รวมกัน (มีเพศสัมพันธ) ๒) มารดาอยูในวัยยังมีระดู ๓) มีคันธัพพะมาปรากฏ (ในครรภมารดา)

องคประกอบสําคัญท่ีตองศึกษาคือ คันธัพพะ หมายถึง สัตว ซ่ึงก็คือมนุษย เทวดา เปรต

หรือสัตวนรกท่ีตายแลวหรือจุติแลวมาเกิด ถามวาคันธัพพะมาปรากฏในครรภมารดานั้นมาอยางไร

คําตอบเร่ืองนี้ศึกษาไดจากบทสนทนาระหวางพระพุทธองคกับพระอานนทดังนี้

พระพุทธองค : อานนท ก็ถาวิญญาณจักไมหยั่งลงสูครรภมารดา นามรูป ท(ชีวิตใหม) จัก

กอข้ึนในครรภมารดาไดหรือ

พระอานนท : ไมไดเลย พระพุทธเจาขา

พระพุทธองค : ก็ถาวิญญาณหยั่งลงสูครรภมารดาแลวลวงเลยไปเสีย (ดับ) นามรูป จัก

บังเกิดข้ึนเพื่อความเปนอยางนี้ไดหรือ

พระอานนท : ไมไดเลย พระพุทธเจาขา

Page 54: What is life

21

พระพุทธองค : ก็ถาวิญญาณเด็กชายหรือเด็กหญิงผูเยาววัยจักขาดความสืบตอ นามรูปจัก

เจริญงอกงามไพบูลยไดหรือ

พระอานนท : ไมไดเลย พระพุทธเจาขา

พระพุทธองค : อานนท เพราะเหตุนั้นเหตุ ตนเหตุ เหตุเกิด และปจจัยแหงนามรูปก็คือ

วิญญาณน่ันเอง1

จากบทสนทนาท่ีนํามากลาวนี้ชวยใหเขาใจไดวา สัตวท่ีมาเกิดในครรภมารดานั้น มาใน

สภาพท่ีเปนวิญญาณ แลววิญญาณน้ันก็เปนปจจัยใหไขท่ีผสมเช้ือเติบโตเปนชีวิตคนตอไป 2

ชีวิตในทัศนะทานพุทธทาส

ชีวิตคือความเปนอยู ความมีอยู หรือชีวิตนี้ ตองมีการหมุนหรือท่ีเรียกวา วงลอ ตัววง

ลอนั่นเขาเรียกวา จักร หารหมุนของมันเรียกสังสาระหรือสงสาร สังสาระแปลวาหมุนไห

สังสารวัฏฏหมายถึง การหมุนไปแหงวงลอ ส่ิงมีชีวิต ในสวนท่ีเปนรางกาย ประกอบดวยสังสาร

จักรอยูหลายๆ อยาง ท่ีเปนอยางหยาบท่ีสุดก็คือ เกิด แก เจ็บ ตาย เวียนไปเปนวงใหญๆ แคบเขาก็มี

อดีต อนาคต ปจจุบัน เรียกวา วัย แคบเขา เพราะการไหลเวียนของส่ิงท่ีไหลเวียน ของโลหิต ของ

การหายใจ ของเนื้อหนังลวนๆ คือเซลลตางๆ ท่ีมันตองหมุนเวียนสับเปล่ียน อาการท่ีหมุนเวียนก็

เรียกวา มันเปนหวงโซ คลองกันหลายๆ วง สัมพันธ สืบตอกัน ชีวิตจึงมี

แมในเซลลหนึ่งๆ ก็มีการไหลเวียนของการไดกิน ไดต้ังอยู ไดถายออก ไดเกิดข้ึน แลวก็

ไดสลายไป ถาไมมีการหมุนมันก็อยูไมได ฉะนั้น ชีวิตจึงเปนการหมุน ชีวิตในฝายนามธรรม

ประกอบดวยกิเลส กรรม และผลของกรรม3

ความหมายและคุณคาของชีวิต

คุณคา เปาหมาย และความสําเร็จของชีวิต เปนส่ิงท่ีมีความสัมพันธกัน คําวา คุณคา

หมายถึง ส่ิงท่ีควรทํา หรือส่ิงท่ีมีประโยชน สรางประโยชน เปาหมายของชีวิตมีหลายอยางตาม

แนวคิดของนักปราชญศาสดา เชน เปาหมายคือความสุข ความสงบ ความรู ฯลฯ ความสําเร็จของ

ชีวิต หมายถึง การบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว สวนประกอบสําคัญของความสําเร็จในชีวิตคือ การ

ยอมรับจากสังคม

ทฤษฎีวาดวยคุณคา เรียกวา คุณวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับความจริง ความดี และความงาม หาก

ศึกษาความจริงเรียกตรรกศาสตร ศึกษาความดี เรียกวา จริยศาสตร ศึกษาความงามเรียกวา

สุนทรียศาสตร

1 ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๑๕/๖๕-๖๖.

2 บรรจบ บรรณรุจิ, ปฏิจจสมุปบาท เกิด-ดํารงอยู-ตาย และสืบตออยางไร?, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ : พรบุญการพิมพ, ๒๕๓๘), หนา๑๔๓-๑๔๕.

3 พุทธทาสภิกขุ, ชีวิต ในทัศนะของพุทธทาส, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ สุขภาพใจ, ๒๕๔๓), หนา๗-๑๐.

Page 55: What is life

22

คุณคา บางคร้ังก็ถือวาข้ึนอยูกับจิต ข้ึนอยูกับความพอใจ ความชอบใจของแตละบุคคล มี

ความจริงท่ีเปนแกนของมัน คุณคาท้ังหลายข้ึนอยูกับการตัดสินใจของมนุษยเรา แตอยางไรก็ตาม

อาจไมจริงก็ได เพราะคุณคามิไดข้ึนอยูกับความชอบใจของแตละบุคคลหรือท่ีเรียกวา มิใชเปนจิต

วิสัยเทานั้น แตเปนวัตถุวิสัยคือ ข้ึนอยูกับวัตถุดวย4

ความมุงหมายและคุณคาของชีวิต ตามแนวของปรัชญาเมธีกลุมตาง ๆ

สุขนิยม เห็นวาความสุขเปนส่ิงมีคาสูงสุดเพราะความสุขเปนส่ิงท่ีมีคาในตัว วิทยาศาสตร

จะชวยใหมนุษยและปญญาเปนส่ิงสําคัญในวิญญาณ

ปญญานิยม เห็นวาปญญาเปนส่ิงสูงสุดเพราะถือวาจิตหรือวิญญาณ เปนส่ิงสําคัญในความ

เปนมนุษยและปญญาเปนส่ิงสําคัญในวิญญาณ

วิมุตินิยม เห็นวาการท่ีมนุษยชวยตนเองไดเปนความสุขท่ีสุด เพราะหลุดพนจาก

พันธนาการของความอยากในสวนเกินตาง ๆ เพราะทําใหคนมีวิญญาณในตนเอง

เอกซิสเท็นเชียลลิสม เห็นวามนุษยสูญเสียความเปนตัวของตัวเอง มนุษยตกเปนทาสของ

บุคคล สังคมและกฎระเบียบบังคับตาง ๆ มนุษยควรกลับมาหาตนเอง ประพฤติ ปฏิบัติและ

กระทําในส่ิงท่ีตนอยากทําอยากประพฤติ

มนุษยนิยม เห็นวามนุษยควรมองรอบ ๆ ขาง หาความสุขหลายประเภท หลายระดับ

ฉะนั้นมนุษยจะขาดสวนใดสวนหนึ่งและเกินในบางสวน ความเปนมนุษยท่ีแทจริง สมบูรณ ตอง

ไดรับความสุขทุก ๆ ประเภทและทุก ๆ ระดับ

ทัศนะสุขนิยม (Hedonism) ทัศนะนี้วาความมุงหมายของชีวิตคือ ความสุขสบาย

ความสุขเปนคาในตัว (Intrinsic Value) ส่ิงอ่ืน ๆ เปนคานอกตัว (Extrinsic Value) ส่ิงอ่ืน ๆ มีไว

เพื่อเปนวิถีไปสูความสุข นักปรัชญามีช่ือ เบ็นธัม (Bentham : ๑๗๔๘-๑๘๓๑) บอกวามนุษยมี

นาย ๒ คน คือ นายแหงความสุข กับนายแหงความเจ็บปวด ยิ่งมนุษยหนี นายแหงความเจ็บปวด

มากเทาใด ก็แสดงถึงความเจ็บปวดมีอิทธิพลของความเจ็บปวดท่ีมนุษยอยาก หลีกเล่ียง เพื่อ

แสวงหานายแหงความสุข นักปรัชญากรีกโบราณ ช่ือ เอพิคิวรัส (Epicurus ๓๔๑-๒๗๐ B.C.)

บอกวาในการแสวงหาความสุข มนุษยจะตองรอบคอบมองการณไกล “ถาความสุข ของเราข้ึนอยู

กับความหายาก ของราคาแพง เราจะลงเอยดวยความทุกข” และ ความสุขมีท้ัง ความสุขซ่ึงหนา

และความสุขระยะยาว ความซ่ึงหนาคือการแกปญหาเฉพาะหนา เชน เราหิว เราแกปญหาดวยการ

ไปรับประทานอาหาร ซ่ึงทําใหเราหายหิวในม้ือนั้น แตทําอยางไรเราจะไมหิวในม้ือตอ ๆ ไป คือมี

กินทุกม้ือนี้ เปนการแกในระยะยาว เราตองมีการศึกษา มีงานทํา มีเงิน ไวแลกเปล่ียนปจจัยส่ี

เปนตน

444 พระทักษิณคณาธิการ, ปรัชญา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๔๔), หนา ๒๑๗-๒๑๘.

Page 56: What is life

23

ชาวสุขนิยมสมัยปจจุบันยึดวิทยาศาสตรเปนสรณะ วิทยาศาสตรเปนความรู ท่ีเกิดจาก

ประสาทสัมผัส ส่ิงท่ีวิทยาศาสตรศึกษาจึงเกี่ยวกับประสาทสัมผัส วิทยาศาสตรจึงเปนประโยชน

ในการชวยใหเราควบคุมและหันเหใหโลกของวัตถุคลอยตาม ความพอใจของเรา วิทยาสาสตร

บอกเราไมไดวา ทําอยางไรตาของเราจะไดเห็นภาพสวย ๆ หูของเราจะไดยินเสียงไพเราะจมูกของ

เราจะไดกล่ินหอม ล้ินของเราจะไดล้ิมรสอรอย กายของเราจะไดเคล่ือนไหวไปมาอยางสบาย และ

ไดสัมผัสกับส่ิงท่ีนาพึงใจ

ชาวสุขนิยมเช่ือวา ยิ่งวิทยาศาสตรเจริญข้ึนมนุษยก็ยิ่งสบายมากข้ึน ซ่ึงอาจมีคนไมเห็น

ดวยวาเปนส่ิงท่ีดีท่ีสุดเพราะ

๑. ถามนุษยทุกคนเห็นแกความสุขสวนตัวแลวอารยธรรมของโลกก็คงมีไมได

๒. ความสุขไมเคยกอใหเกิดการกระทําอันนาสรรเสริญวีรกรรมท้ังหลายเกิด

จากการท่ีมนุษยพลีชีพเพื่อส่ิงท่ียิ่งใหญกวาความสุข เชน ชาติ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย

เปนตน

๓. ความสุขเปนภาพมายา มันไมจริง เหมือนกับการวิ่งแขง ๑๐๐ เมตร เรา

จะตองเอาชนะคนท่ีวิ่งเกงท่ีสุด โดยมีการทําลายสถิติลงไปเร่ือย ๆ ซ่ึงเปนไปไมได นักปรัชญาจึง

เสนอใหแสวงหาความรูหรือปญญาจะดีกวา

ทัศนะปญญานิยม ปรัชญาเมธีท่ีสําคัญในสํานักนี้ คือ โสกราติส เพลโต และ อริสโต

เติล ปรัชญาเมธีกลุมนี้ถือวา ธาตุแทของมนุษยมี ๒ สวน คือ รางกายกับวิญญาณหรือจิต

ประการหลังนั้นจริงและสําคัญกวา อีกท้ังมีคากวา ดังนั้นความมุงหมายของชีวิต จึงอยูท่ีวิญญาณ

ไดหลุดพนจากความปรารถนาของรางกายไปสูโลกของมันเอง

ชาวปญญานิยมเชื่อวาวิญญาณหรือจิต เปนส่ิงสําคัญของมนุษย และในวิญญาณนั้น

ส่ิงสําคัญท่ีสุดคือปญญา สําหรับชาวปญญานิยม ชีวิตท่ีความมุงหมายและมีคุณคา หรือนัยหนึ่ง

ชีวิตท่ีนาอยูมิใชชีวิตท่ีอยูกับปญญาอยางเดียวเทานั้น การอยูกับปญญาคือการแสวงหาความรู และ

ความจริงดวย

ความรูในทัศนะ ของปญญานิยมมี ๒ แบบ อยางแรกคือ ความรูท่ีชวยใหมนุษยไดอยู

สุข สบายข้ึน ความรูสึกแบบนี้หนีไมพนจากรางกาย ยังติดอยูกับรางกายและ ถือรางกายเปน

สรณะอีกอยางหนึ่ง ในความบริสุทธ์ิเปนสัจธรรมอันอมตะไมเกี่ยวเนื่องกับ การสนองความอยาก

ของรางกายความรูแบบนี้มนุษยเทานั้นท่ีรูได เปนสัจธรรมท่ีมนุษย เทานั้นจะด่ืมด่ําช่ืนชมกับมัน

ได การแสวงหาความจริงแบบนี้ ทําใหจิตใจสงบ สัจธรรมเปนของกลาง และมีจํานวน ไมจํากัด

การที่คน ๆ หนึ่งไดช่ืนชมกับความจริงมิไดเปนการขัดขวาง มิใหคนอ่ืนไดโอกาสดวย ดังนั้นไม

ตองแกงแยงกัน ทุกคนมีสิทธิเทากันท่ีจะบรรลุความหมายของชีวิต สําหรับชาวปญญานิยม ชีวิตท่ี

มีคุณคามิไดวัดดวยความสุขทาง รูปธรรมหรือรางกาย การเปนคนดีกับการมี ความสุขสบายมิใช

ส่ิงเดียวกัน คนดีคือคนท่ี สาระของเขาอันไดแกปญญาไดรับการเอาใจใส อยางพรอมบริบูรณ

Page 57: What is life

24

ทัศนะวิมุตินิยม ชาววิมุตินิยมเนนเร่ืองการดับความตองการและการเอาชนะตนเอง

ความพอใจของมนุษยนั้น คือ ความพอดีระหวางส่ิงท่ีเรามีกับส่ิงท่ีเราตองการ เขียนเปน

สมการไดดังนี้

๕. คุณคาของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา ถือวา ชีวิตท่ีมีคา คือชีวิตท่ีประกอบดวยคุณธรรม เม่ือมีคุณธรรมอยูใน

ชีวิตใด ชีวิตนั้นยอมช่ือวาเปนชีวิตท่ีดี และคนมีชีวิตท่ีดีเรียกวา คนดี เพราะมีความดีเปนหลักและมี

ความดีเปนฐาน ซ่ึงสามารถใหประโยชนแกท้ังตนเองและผูอ่ืน

หลัก คือคุณความแข็งแลเหนียว อันเปนแกนสําหรับทรงตัวใหอยูได หมายถึง วิชาดี

ฐาน คือคุณความใหญกวางหนาแนน สําหรับยึดทรวดทรงไวใหม่ันคง หมายถึง จรรยาดี

เม่ือคนมีหลักมีฐานดีประกอบกันแลว ยอมสามารถต้ังตัวไดดี และคุณความดีท่ีอยูใน

สันดานของคนดีนี้เอง จะประกาศใหรูเห็นวาเปนคนดี ใหเราเห็นผานทางกิริยา วาจา และนิสัยใจคอ

ซ่ึงคนดีแสดงออกมา และคุณธรรมของคนดี เรียกวา สัปปุริสธรรม คือ ธรรมของคนดีใน

พระพุทธศาสนามี ๗ ประการคือ

๑. ศรัทธา-เช่ือในส่ิงท่ีควรเช่ือ เชน เช่ือวา ทําดียอมไดรับผลเปนความดี ทําช่ัวยอมไดรับ

ผลเปนความช่ัว

๒. หิริ-ความละอายตอบาปท่ีจะคิด พูด หรือทํา ในส่ิงท่ีไมดี เปนบาปอกุศลท้ังปวง

๓. โอตตัปปะ-ความเกรงกลัวตอบาป ไมกลาคิด พูด ทํา ในส่ิงท่ีตนเห็นวาผิดวิสัย

๔. พาหุสัจจะ-สดับตรับฟงมาก หรือศึกษาเลาเรียน รูอรรถ รูธรรม ทรงจําไวไดมาก

(พหูสูต) จนมีความรูกวางขวางแตกฉานในธรรมและธรรม

๕. วิริยะ-เพียรพยุงใจใหเขมแข็ง แกลวกลา ระมัดระวังบาปไมใหกลํ้ากรายเขามาในตัว

อาจหาญท่ีจะสละท้ิงบาปใหหมดส้ิน บําเพ็ญการกุศลใหเกิดข้ึน และหม่ันรักษาความดีไวใหม่ันคง

๖. สติ-ความระลึกรูกอนท่ีจะ คิด พูด ทําและหามไมใหกระทํา พูด คิดเห็นไปในทางท่ีผิด

๗. ปญญา-รูท่ัวถึงในเหตุผลโดยรอบคอบ รูทางเส่ือมและทางเจริญ ท้ังทางโลกและทาง

ธรรม นําตนใหพนจากความช่ัวเสียหายและใหดําเนินไปในทางท่ีดีท่ีชอบเปนสุจริตชน

ความพอใจ = ส่ิงท่ีเรามี ส่ิงท่ีเราตองการ

Page 58: What is life

25

คุณธรรมท้ัง ๗ ประการนี้ เปนสัจธรรมท่ีพระผูมีพระภาคตรัสไวดีแลว ไมผันแปรไปเปน

อ่ืน และแตงคนดีใหเปนคนสงบ มีสงาราศี สุภาพเรียบรอย มีเหตุผล ทนตอความเพงพินิจของ

บัณฑิต5

ดังนั้น เปาหมายสูงสุดในการดําเนินชีวิตในพระพุทธศาสนาคือ ความดับทุกข ซ่ึงไดแก

พระนิพพาน ฉะนั้น ชีวิตจึงควรอยูเพื่อบําเพ็ญประโยชน เพื่อสรางความดีและเพื่อพัฒนาตนและ

สังคม ซ่ึงท้ัง ๓ ประการนี้จะนําไปสูเปาหมายสูงสุดคือ ความพนทุกขเชนเดียวกนั

ประโยชน ๓ อยางคือ ส่ิงท่ีชวยใหสําเร็จตามประสงคและอรรถผลท่ีเกิดจากความ

ประสงคนั้น กลาวคือ ท้ังวิธีการและความสําเร็จอันเกิดจากวิธีการนั้นเรียกวา “ประโยชน” ชีวิตอยู

ไดดวยส่ิงท่ีเรียกวาประโยชน อะไรท่ีไมมีประโยชนยอมไมจําเปนสําหรับชีวิต ดังนั้น การบําเพ็ญ

ประโยชนจึงถือเปนภารกิจหนาท่ีของชีวิต แบงเปน

๑. ประโยชนในชาติปจจุบัน เรียกวา ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน ถือวาเปนประโยชนข้ัน

พื้นฐานในการดําเนินชีวิต มี ๔ อยางไดแก

๑.๑ อุฏฐานสัมปทา ความถึงพรอมดวยความหม่ัน ไดแก ความขยันในการประกอบ

อาชีพการงานเพื่อเล้ียงชีพตนเองและครอบครัว ดังคํากลาวของชาวบานท่ีวา “อยานอนต่ืนสาย อยา

อายทํากิน อยาหม่ินเงินนอย อยานอนคอยวาสนา”

๑.๒ อารักขสัมปทา ความถึงพรอมดวยการรักษาทรัพยท่ีหามาได การเก็บรักษาและ

การประหยัดเปนส่ิงจําเปนสําหรับชีวิต เพราะความไมแนนอนของชีวิตยอมเกิดไดทุกขณะ

หลักธรรมขอนี้ มุงใหคนมัธยัสถ (พอดี) ในการใชจายทรัพย เพื่อใหเกิดการสะสมไวในคราวจําเปน

หรือใชเปนทุนในการประกอบอาชีพการงานตอไป ดังคําสอนของทานสุนทรภูท่ีวา “มีสลึงพึง

บรรจบใหครบบาท อยาไดขาดส่ิงของตองประสงค มีนอยใชนอยคอยบรรจง อยาจายลงใหมากจะ

ยากนาน”

๑.๓ กัลปยาณมิตตตา การมีคนดีเปนมิตร หรือคบคนดีเปนเพื่อน การมีเพื่อนดีนั้น

เทากับชีวิตสําเร็จไปคร่ึงทางแลว เพราะเพื่อนดีจะเปนตัวอยางและคอยช้ีแนะความดีและ

ขอบกพรองใหอยูเสมอ ทําใหมีสติ ไมพล้ังพลาดในการดําเนินชีวิต

๑.๔ สมชีวิตา การเล้ียงชีวิตท่ีเหมาะสม ไดแก การใชจายตามสมควรแกรายรับ ดํารง

ชีพตามสมควรแกอัตภาพ ไมหนาใหญ ฟุงเฟอเหอเหิมเกินขอบเขต หมายถึง ไมใชจายเกินรายไดคือ

การใชจายพอเหมาะกับสภาพและฐานะของตน ฝกหัดเปนคนละเอียดถ่ีถวน และรอบคอบในการใช

จายทรัพยและรูจักเก็บออมเปนทุนหรือเปนหลักประกันความม่ันคงของชีวิตตน

๒. ประโยชนท่ีจะพึงไดรับในภายภาคหนาหรือชาติหนา เรียกวา สัมปรายิกัตถประโยชน

มี ๔ อยางคือ

5๙ ส.รัตนรัตติ, ธรรมเพื่อชีวิต, (กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ๒๕๔๗), หนา ๓๙-๔๓.

Page 59: What is life

26

๒.๑ สัทธาสัมปทา ความถึงพรอมดวยศรัทธา คือความเชื่อความเล่ือมใสในพระ

รัตนตรัย เช่ือในกฎแหงกรรมวา ทําดีไดดี ทําช่ัวไดช่ัว เช่ือวาผลของกรรมมีจริง เช่ือวาสัตวมีกรรม

เปนของของตน ผูทํากรรมใดยอมไดรับผลแหงกรรมนั้น และเช่ือในการตรัสรูของพระพุทธเจา

๒.๒ สีลสัมปทา ความถึงพรอมดวยศีลหรือความเปนคนมีศีล ศีลแปลวาปกติ คือ

ความเปนปกติทางกาย วาจา ใจ การรักษาศีลก็คือการรักษาตน ศีลเปนเพียงหลักการหรือเคร่ืองมือท่ี

นําไปสูความสงบสุข มิใหตนตกไปสูความช่ัวราย ดังนั้น ผูมีศีลก็คือผูท่ีต้ังตนไวในความดี มิใชเปน

คนครํ่าครึหัวเกาโบราณแตอยางใด เพราะไมวายุคใดสมัยใด สังคมยอมตองการคนดีท้ังนั้น

๒.๓ จาคสัมปทา ความถึงพรอมดวยการบริจาค การบริจาคคือการเสียสละทรัพย

ของตนแกบุคคลอ่ืน เปนการทําลายความตระหนี่และความเห็นแกตัว นอกจากนี้ การบริจาค ยังมาย

ถึงการใหทาน การแบงปนเพื่อชวยเหลือสงเคราะหโดยท่ัวไปอีกดวย

๒.๔ ปญญาสัมปทา ความถึงพรอมดวยปญญา คําวาปญญาแปลวาความรูท่ัวหรือ

ความรูชัด ไดแก ความเขาใจ ความหยั่งรูเหตุผล แยกแยะวินิจฉัยไดวา จริง เท็จ ดี ช่ัว ถูก ผิด ควร ไม

ควร คุณ โทษ ประโยชน มิใชประโยชน รูความสัมพันธระหวางเหตุและผลหรือปจจัยตางๆ รูภาวะ

ความเปนจริงของส่ิงตางๆ รูวาจะนําไปใชอยางไรจึงจะแกปญหาได ปญญาจึงเปนตัวช้ีนําทางให

รูจักการแกปญหาและการดําเนินชีวิตท่ีถูกตอง

๓. ประโยชนอยางยิ่งหรือประโยชนสูงสุด เรียกวา ปรมัตถประโยชน ไดแก พระนิพพาน

คือ ภาวะท่ีจิตสะอาด (บริสุทธ์ิ) สวาง (ปญญา) และสงบ (วิมุตติ) และผูท่ีบรรลุประโยชนสูงสุดนี้

เรียกวา พระอรหันต

สรุป

จากการศึกษาเร่ืองของความเปนมาของชีวิต หรือชีวิตมาจากไหน วิวัฒนาการของชีวิต

ทําใหเราเขาใจเร่ืองของชีวิตเปนสําคัญในเบ้ืองตนซ่ึงเราหมายความวาชีวิก็คือส่ิงท่ีเปนไปตาม

ธรรมชาติของธรรมชาตินั้น กลาวคือ ตามธรรมชาติของความเปนจริงในทัศนะตาง ๆ ซ่ึงเรียกช่ือ

ตางกัน แตบทบาทและหนาท่ีของอวัยวะตาง ๆ ก็ทําหนาท่ีเหมือนกันแตกตางกันตรงช่ือเทานั้น

กระบวนการที่มีความสําคัญในระบบในรางกายซ่ึงมีความสลับซับซอนยากท่ีจะแยกแยะปญหาให

ออกมาไดท้ังหมดเพราะในชีวิตมนุษยนั้นมีส่ิงท่ีมองเห็นและมองไมเห็นเรียกความหมายทั่ว ๆ ปา

รูปกับนาม หรือรูปกับนามเปนองคประกอบท่ีมีความสัมพันธกันลึกซ้ึงทําใหเกิดคุณคาของทุกส่ิง

ในชีวิตรวมท้ังความรูสึก อารมณ ความรับผิดชอบซ่ึงมีอยูในตัวคน เปนพลังงานท่ีมีระบบและ

พัฒนาตอไปไดอยางตอเนื่อง ทําใหชีวิตนั้นกลายเปนส่ิงท่ีมีผลตอบแทนหรือคุณคาออกมาระหวาง

ความไมดีกับความดี หรือความดีกับความชั่วนั่นเอง ซ่ึงคุณคาของชีวิตก็มีความแตกตางตาม

สถานท่ีบุคคลระยะเวลาไมเหมือนกันโดยคุณคาจะออกมาตามเง่ือนไขนั้น ๆ ของการดําเนินไป

ของชีวิตนั้นเอ

Page 60: What is life

27

คุณคาและเปาหมายของชวีิต

ในชวงครึ่งแรกของคริสตศตวรรษท่ี 19 คําวา “คุณคา” เปนศัพท เฉพาะของวิชา

เศรษฐศาสตร หมายถึง ราคาหรือคาเชิงปริมาณ (Worth) ตอมานักปรัชญาชาวเยอรมันกลุมหนึ่ง

สังเกตพบวาปญหาทางปรัชญาบางเร่ือง ในอดีต เชน ปญหาเร่ืองความดี (Good) ความถูกตอง

(Right) การตัดสินจริยธรรม (Moral Judgment) ความงาม (Beauty) การตัดสินความสุนทรีย

(Aesthetic judgment) ความจริง (Truth) หรือความสมเหตุสมผล (Validity) ลวนแตเปนปญหาท่ีมี

ลักษณะเนื้อหาบางอยางรวมกัน ไดแก การกลาวถึง ส่ิงท่ีควรจะเปน (What It ought to Be) ซ่ึง

แตกตางจาก ขอเท็จจริง (Fact) หมายถึง ส่ิงท่ีกําลังเปน (What It is Be) ส่ิงที่เคยเปน (What It was

Be) หรือส่ิงท่ีจะตองเปน (What It will Be)

ส่ิงท่ีควรจะเปน นี้เองคือส่ิงท่ีมีคุณคา ดังเชนขอความวา “ทําในส่ิงท่ีรูวาควรทําและไมทํา

ในส่ิงท่ีรูวาไมควรทํา” ดังกลาว

ความแตกตางระหวางคุณคากับขอเท็จจริง ยกตัวอยาง โดยการเปรียบเทียบกับส่ิงท่ีพบเห็น

ไดชัดเจนในชีวิตประจําวัน ไดแก สมมติในวงสนทนาหนึ่งมีการพูดคุยถึงเร่ืองของปากกาวาดังนี้

ปากกา 2 ดาม ดามหน่ึงสีดํา ดามหน่ึงสีแดง ดามสีดํามีความยาว 15 เซนติเมตร ดามสี

แดงมีความยาว 13 เซนติเมตร แลวมีคนต้ังคําถามงายๆ วา ปากกาดามไหนมีความยาวกวากัน

คําถามนี้ เราสามารถตอบไดทันทีวา ดามสีดํายาวกวาสีแดง เพราะเราสามารถตัดสินไดดวยการใช

ไมบรรทัดวัดความยาวของมันได แตถามีเพื่อนอีกคนตั้งคําถามวาระหวางปากกาสีดํา กับปากกาสี

แดง สองดามนี้ดามไหนเขียนไดสวยกวากัน คําถามนี้เพื่อนในวงสนทนาจะตอบวาอยางไร?

นี่คือความแตกตางระหวางขอเท็จจริง (Fact) กับคุณคา (Value) กลาวคือ ขอเท็จจริงเปนส่ิง

ท่ีตัดสินไดดวยเคร่ืองมือท่ีเปนมาตรฐานอันยอมรับกัน สวนคุณคานั้นไมสามารถตัดสินดวยวิธี

ดังกลาว เพราะขอเท็จจริงคือส่ิงท่ีมันเปน (What it is be) แตคุณคาคือส่ิงท่ีควรเปน (What It Ought

to Be)

การศึกษาเร่ืองของคุณคาจึงมีขอบเขตกวางขวางกระจายอยูเปนหัวขอของวิชาการตางๆ

หลายวิชา อยางไรก็ตาม มีช่ือเรียกวิชาท่ีศึกษาเร่ืองของคุณคาโดยเฉพาะวา ทฤษฎีคุณคา (Theory

of Value) หรือ อรรฆวิทยา (Axiology) นักวิชาการทางปรัชญานิยมจัดวาอรรฆวิทยาเปนหมวดวิชา

ท่ีประกอบดวย 3 สาขา วิชาคือ ตรรกศาสตร (Logic) สุนทรียศาสตร (Aesthetics) และจริยศาสตร

(Ethics) แตก็มีนักปราชญบางคนไดเขียนงานท่ีเนนรายละเอียดเฉพาะของทฤษฎีคุณคาไวโดยตรง

ซ่ึงมีเนื้อหาพอสรุปไดดังนี้

ประเภทของคุณคา

การศึกษาเร่ืองคุณคาเปนการศึกษาท่ีมีขอบเขตกวางขวางและมีความหลากหลายมาก การ

จําแนกประเภทของคุณคายังอาจกําหนดมุมมองท่ีแตกตางกันเปนมุมมองตางๆ ไดอีก เรสเชอร

Page 61: What is life

28

(Rescher Brown) จัดประเภทการจําแนกความแตกตางของคุณคาเปน 6 มิติมุมมองสรุปไดดังนี้ (In

Frankena, 1967, p.229.)

1. มิติของกลุมผูมีคานิยม (Subscriber ship) ไดแก การกําหนดคุณคาจากความนิยมของ

สังคม หรือของกลุม เชน เกษตรกรในภาคใตของฝร่ังเศสยอมมองเห็นคุณคาขององุนเหนือกวา

ผลไมอ่ืนๆ เปนตน

2. มิติของสารัตถะ (Essence) ไดแก การพิจารณากําหนดคุณคาจากสารัตถะของส่ิงนั้น เชน

สารัตถะของมีดคือความคม ดังนั้น มีดท่ีคมคงมีคุณคามากกวามีดท่ีไมคม

3. มิติของผลได (Benefit) ไดแก การจัดกลุมประเภทคุณคาตามลักษณะผลลัพธของคุณคา

เชน คารวธรรม เมตตาธรรม เปนหลักท่ีปฏิบัติแลวมีผลตอความเจริญงอกงามทางจิตใจ ก็รวมเรียก

หลักปฏิบัติเหลานี้วาเปนส่ิงท่ีมีคุณคาทางจิตใจ

4. มิติของเปาหมาย (Purpose) ไดแก การพิจารณากําหนดคุณคาโดยจัดกลุมคุณคาหลายๆ

อยางไวในกระบวนการที่เปนเหตุเปนผลกัน เชน คุณคาของการมีสุขภาพดี เปนผลมาจากการไดรับ

คุณคาของอาหาร คุณคาของอาหารเปนผลจากคุณคาของเงินท่ีหามาได

5. มิติผสม (Mix) ไดแก การจัดประเภทคุณคาแบบท่ี 1 ผสมผสานกับแบบท่ี 2-4

6. มิติสัมพัทธ (Relative) ไดแก การมองวาคุณคามี 2 ลักษณะ คือคุณคาในตัวกับคุณคานอก

ตัว หรือคุณคาในฐานะเปนเคร่ืองมือ และเห็นวาคุณคาท้ังสองมีความสัมพันธกัน

นักปรัชญาบางคนเห็นวา การพิจารณาเ ร่ืองของคุณคาตองมองดูในลักษณะของ

กระบวนการ ส่ิงหนึ่งท่ีมีคุณคาอาจมีเพราะมันเปนทางผานไปสูคุณคาอ่ืนๆ ลิวอิส (Lewis) จําแนก

คุณคาเปน 5 ประเภท และเห็นวาท้ังหมดมีความสัมพันธกันเปนกระบวนการดังนี้

(1) คุณคาในฐานะส่ิงมีประโยชน (Usefulness)

(2) คุณคาในฐานะเปนเคร่ืองมือหรือทางผาน (Instrumental Value)

(3) คุณคาในฐานะเปนคุณสมบัติประจําโดยธรรมชาติ (Inherent Value)

(4) คุณคาในตนเอง (Intrinsic Value)

(5) คุณคาในฐานะเปนสวนสงเสริมใหเกิดคุณคาอ่ืน (Contributory Value)

แฟรงเคนา ไดอธิบายความสัมพันธระหวางคุณคาท้ัง 5 โดยยกตัวอยางไวโอลินดวยการ

เปรียบเทียบวา

(1) ไมเปนส่ิงท่ีมีคุณคาในฐานะเปนประโยชนในการเปนสวนประกอบของไวโอลิน

(2) ไวโอลินมีคุณคาในฐานะเปนเคร่ืองมือไปสูคุณคาอ่ืนคือความไพเราะ

(3) ความไพเราะอันไดมาจากเสียงเปนคุณคาท่ีแนบเนื่อง (Inherent) กับการฟง

(4) การฟงอาจทําใหผูฟงไดเสพสุนทรียรสซ่ึงเปนคุณคาในตนเอง หรือ

Page 62: What is life

29

(5) อาจมีคุณคาในฐานะเปนสวนประกอบ เชน เปนสวนประกอบในการรับประทาน

อาหารมื้อเย็นอยางมีความสุขเพิ่มข้ึน

นอกจากนี้ แรดเดอร (Malvin Rader, 1976, pp.16-18) ไดจําแนกประเภทของคุณคาไวอีก

ลักษณะหนึ่ง โดยแบงคุณคาและความสัมพันธเปน 3 กลุม 6 ชนิด ไดแก

1. คุณคาท่ัวไป (Generic Value) กับคุณคาเฉพาะ (Specific Value) คุณคาท่ัวไปคือการ

ตอบสนองความตองการ หรือความสนใจของคนท่ัวไปคุณคาเฉพาะคือการตอบสนองความสนใจท่ี

เจาะจงเปนพิเศษ เชน เงินทองเปนส่ิงมีคุณคาท่ัวไป เพราะสามารถตอบสนองความตองการของคน

สวนมาก แตเพลงแร็ปเปนส่ิงท่ีมีคุณคาเฉพาะ เนื่องจากมีบุคคลบางกลุมเทานั้นท่ีมีความพึงพอใจท่ี

จะฟงในขณะท่ีบางคนไมมีความช่ืนชมกับดนตรีประเภทนี้แมแตนอย

2. คุณคาท่ีแสดงออก (Actual Value) กับคุณคาสะสม (Potential Value) คุณคาท่ี

แสดงออก คือ การตอบสนองความตองการ หรือความสนใจในขณะท่ีเปนปจจุบันนั้น สวนคุณคา

สะสมคือ คุณสมบัติท่ีพรอมจะตอบสนองความตองการได เชน มีอาจารยปรัชญาคนหนึ่งมีความรู

ความชํานาญและสามารถสอนวิชาคอมพิวเตอรได แตในขณะที่ทํางานอยูนั้น อาจารยคนนี้สอน

เฉพาะวิชาปรัชญาอยางเดียว ความสามารถในการสอนวิชาปรัชญาเปนส่ิงมีคุณคาท่ีแสดงออก

เพราะกําลังแสดงออกอยูในขณะปจจุบัน แตอาจารยคนนี้ ยังไมไดสอนวิชาคอมพิวเตอร ซ่ึงอาจ

เปนเพราะสถานศึกษาน้ันไมมีการสอนวิชานี้ หรือเปนเพราะมีอาจารยท่ีจบคอมพิวเตอรโดยตรง

อยางเพียงพอความสามารถในการสอนคอมพิวเตอรของอาจารยปรัชญาคนนี้เปนความสามารถท่ีมี

คุณคาแบบสะสม คือยังมิไดแสดงออกในขณะปจจุบัน แตหากสถานศึกษานั้นส่ังใหอาจารยคนนี้

สอนคอมพิวเตอร เขาก็สามารถสอนได และเม่ือไดสอน การสอนและความสามารถในการสอนก็

เปล่ียนสภาพเปนคุณคาท่ีแสดงออก

3. คุณคาในตัวเอง (Intrinsic Value) กับ คุณคาในฐานะเคร่ืองมือ (Instrumental Value)

คุณคาในตัวเอง หมายถึง ส่ิงท่ีมีคุณคาดวยตัวของมันเองคุณคาในฐานะเปนเคร่ืองมือ หรือสะพาน

เช่ือมโยงไปสูคุณคาอ่ืนๆ เชน เพลงเปนส่ิงมีคุณคาในตัวเอง เพราะเม่ือไดฟงแลวเกิดความซาบซ้ึง

ไพเราะ สนุกสนาน หรือเกิดความรูสึกสุนทรีย แตการท่ีจะไดฟงเพลงนั้นอาจตองมีส่ิงแลกเปล่ียน

คือมีเงิน โดยอาจจะใชในการซ้ือเคร่ืองเลน เทป ซ้ือเทปเพลง หรืออาจใชจายเพื่อการเขาไปฟง

คอนเสิรต เปนตน ดังนั้นในกรณีนี้เงินจึงเปนส่ิงมีคุณคาในฐานะเปนเคร่ืองมือหรือสะพานไปสู

คุณคาอ่ืน (คือคุณคาทางสุนทรียท่ีไดจากการฟงเพลง)

อยางไรก็ตาม หากยอนกลับมามองจุดท่ีวา คุณคาคือส่ิงท่ีควรจะเปน อันไดแก การ

ตอบสนองความตองการในดานตางๆ ของมนุษยแลว อาจจัดประเภทของคุณคาไดเปน กลุมใหญๆ

ตามลักษณะความตองการของมนุษยคือ

Page 63: What is life

30

1. คุณคาทางวัตถุ ไดแก คุณสมบัติของส่ิงตางๆ ท่ีสามารถตอบสนองความตองการทาง

รางกาย ท้ังโดยทางตรงและทางออม เชน คุณคาของอาหารตอรางกายเปนคุณคาทางวัตถุโดยตรง

(คุณคาในตัวเอง) คุณคาของเงินท่ีซ้ืออาหารเปนคุณคาทางวัตถุโดยออม (คุณคาในฐานะเคร่ืองมือ)

2. คุณคาทางจิตใจ ไดแก คุณสมบัติของส่ิงตางๆ ท่ีสามารถตอบสนองความตองการทาง

จิตใจ แบงเปน 3 ลักษณะคือ ความตองการทางสติปญญาความตองการทางอารมณความรูสึก และ

ความตองการทางสังคมเจตนารมณและความดีงาม

คุณคาของชีวิตและความเปนมนุษย

ในชีวิตประจําวันของมนุษยนั้น จะเห็นวาแตละคนมีความชอบและความปรารถนาและ

จะตองมีการเลือกกระทําอยางใดอยางหนึ่ง หรือเลือกส่ิงใดส่ิงหนึ่ง เพื่อสนองความตองการนั้น และ

การเลือกดังกลาวก็อาศัยการพิจารณาเปรียบเทียบ คุณสมบัติของส่ิงตางๆ โดยสัมพันธกับความ

ตองการและเจตคติ (Attitude) ของผูเลือก

การศึกษาอรรฆวิทยา หรือทฤษฎีคุณคาเปนเร่ืองท่ีใกลตัวมนุษย และเปนวิชาท่ีเกี่ยวของ

กับเปาหมายและความสําเร็จโดยเฉพาะ เพราะส่ิงท่ีมีคุณคาก็คือส่ิงท่ีสามารถสนองความตองการ

ของมนุษยนั่นเอง แตท้ังนี้เนื่องจากเปนท่ียอมรับกันวา ความตองการของมนุษยนั้นไรขีดจํากัด

ปญหาน้ีนํามาสูหลักในวิชาการเพื่อการดําเนินชีวิตบางประการ เชน นักเศรษฐศาสตรเห็นวา

“เศรษฐศาสตรคือการจัดการทรัพยากร ท่ีมีอยูจํากัดใหเพียงพอตอความตองการของมนุษยซ่ึงมีไม

จํากัด” ตรงกันขามกับนักปราชญบางสํานักท่ีเห็นวา “การมีชีวิตท่ีผาสุก (Well Being) คือ การพอใจ

ในส่ิงท่ีตนมี หรือมีความสามารถในการจํากัดขอบเขตของความตองการของตนใหได”

สวนนักอรรฆวิทยา จะมองอยางลึกซ้ึงและศึกษาอยางละเอียดในแงมุมตางๆ เชน คน

สวนมากเห็นวา เงินเปนส่ิงท่ีมีคุณคา เพราะเงินเปนส่ิงท่ีสามารถแลกเปล่ียนกับส่ิงสนองความ

ตองการตางๆ ได บางคนเก็บสะสมเงินดวยความตระหนี่ ใชชีวิตอยางยากลําบาก ยอมอยูอยางอดๆ

อยากๆ ซ่ึงปรากฏการณนี้นักอรรฆวิทยาจะต้ังคําถามวา เงินนั้นมีคุณคาโดยตัวเองหรือไม? โดย

ขอเท็จจริงเงินเปนเพียงส่ิงสมมติเพื่อใชในการแลกเปล่ียน คือเปนเพียงส่ิงมีคุณคาในฐานะเคร่ืองมือ

หรือสะพานไปสูส่ิงมีคุณคาอ่ืน (Instrumental Value) ดังนั้น การท่ีบางคนปฏิเสธความตองการ

และปฏิเสธส่ิงมีคุณคาอยางแทจริงตอชีวิต แตกลับสะสมส่ิงสมมติแทนเชนนี้ นักอรรฆวิทยาจะ

เห็นวาเปนการกระทํา หรือเปนแนวคิดท่ีไมถูกตอง ไมสมเหตุสมผล

นอกจากจะกลาวถึงเร่ืองของคุณคา ไมวาจะเปนเร่ืองส่ิงทรงคุณคาตอชีวิตส่ิงควรกระทํา

ส่ิงดี-ช่ัว ถูก-ผิด งาม-ไมงาม ตลอดจนเกณฑตัดสินตางๆ แลวนักปรัชญาบางคน ยังสนใจท่ีจะ

กลาวถึง คุณคาของชีวิตและความเปนมนุษย แนวคิดลักษณะนี้จะมีปรากฏอยูมากในตําราหรือ

เอกสารท่ีเกี่ยวกับหัวขอเร่ืองมนุษยนิยม (Humanism) ซ่ึงเปนกระบวนการทางความคิดกลุมหนึ่ง

ทางปรัชญา

Page 64: What is life

31

ลักษณะความคิดท่ีปรากฏในแนวคิดแบบมนุษยนิยมท่ีเดนชัด ก็คือ การยกยองศักดิ์ศรีและ

คุณคาของมนุษยใหอยูเหนือกวาส่ิงอ่ืนใด ไมวาจะเปนสสารวัตถุ หรือเทพเจาตางๆ แนวคิดท่ี

กลาวถึงคุณคาของมนุษยจะกลาวถึงเร่ืองตางๆ ดังนี้

1. มนุษยเปนภาวะที่สูงสงท่ีสุดในโลก ท้ังในแงของสติปญญา และอารมณความรูสึก

แนวคิดนี้เห็นวามีแตมนุษยเทานั้นท่ีสามารถประเมินคุณคาของส่ิงตางๆ ในอดีตนักปราชญชาวกรีก

ช่ือโปรธากอรัส (Prothagorus) ไดกลาววา “มนุษยเปนเคร่ืองวัดสรรพส่ิง” (Man is the Measure of

All Things) จากพ้ืนฐานความคิดนี้นํามาสูความคิดท่ีวา เม่ือมนุษยเปนรูปแบบของสติปญญาเพียง

รูปแบบเดียวในโลกที่สามารถประเมินคุณคาได ดังนั้น มนุษยจึงอยูในฐานะของผูทรงคุณคา

เชนเดียวกัน และตองถือวามีคุณคาสูงสุดเพราะเปนผูกุมอํานาจเด็ดขาดในการตัดสินตางๆ

นักปราชญบางคนเห็นวา มนุษยเปนภาวะชีวิตท่ีซับซอนและสูงสุดในบรรดาสรรพส่ิงเทาท่ีเกิดข้ึน

ในโลก เพราะมนุษยเทานั้นท่ีสามารถโยงอดีตกับปจจุบันเขาเปนเร่ืองเดียวกัน และสามารถนํา

ความรูจากอดีตและปจจุบันนั้นมาวางแผนเพ่ืออนาคตได บางคนเห็นวามนุษยสูงกวาสัตวตางๆ

เพราะมีแตมนุษยเทานั้นท่ีสามารถแยกแยะความผิด-ถูก-ดี-ช่ัว และสามารถช่ืนชมกับศิลปะละส่ิง

สุนทรียตางๆ ได

คําวา “นางงามจักรวาล” (Miss Universe) ไดรับอิทธิพลจากแนวคิดท่ีเช่ือวามนุษยเปนผู

ตัดสินทุกส่ิงทุกอยาง ไมเพียงแตในโลกเทานั้น แตเปนถึงระดับจักรวาล หมายถึงวา แมจะมี

ส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ ในเอกภพนี้ แตก็ไมมีความสามารถในการตัดสินคุณคาของความงามไดเทียบเทากับ

การตัดสินของมนุษย

2. มนุษยมีคุณคาในตนเอง นักปรัชญาบางคนเห็นวา มนุษยทุกคนทีคุณคาแหงความเปน

มนุษย แมจะยังไมไดแสดงออกมา เปนคุณคาสะสม นักปรัชญากลุมนี้เห็นวา มนุษยมีศักยภาพ

แหงความเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน ตางกันแตโอกาสที่จะแสดงออกซ่ึงคุณคาแหงตนเทานั้น นัก

ปรัชญาสายนี้มีแนวโนมในการใหโอกาสในการแสดงออกของทุกๆคน และแนวคิดนี้สอดคลอง

สัมพันธกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน (Human Right)

หากพิจารณาจากมุมมองของสังคมปจจุบัน ซ่ึงเปนยุคสมัยของมนุษยนิยมนักศีกษาอาจเห็น

วาแนวคิดนี้เปนเร่ืองพื้นๆ ไมรูสึกวาโดดเดน หรือจําเปนตองศึกษา แตหากมองในมุมกลับคือใน

อดีต เชน ในยุคศักดินานั้น ชาวนา กับขุนนาง มิไดมีคุณคาแหงความเปนคนอยางเทาเทียมกัน

สมมติหากมีเร่ืองตองฟองรองเปนคดี ขุนนางจะเปนฝายท่ีถูกตัดสินวาถูกไวกอน หรือการท่ีคนผิว

ขาวจับชาวอัฟริกันผิวดําไปเปนทาส ในยุคนั้นคนผิวขาวมิไดเห็นวาคนผิวดําเปนมนุษย แตมองวา

เปนสัตวชนิดหนึ่งท่ีฝกสอนและใชงานไดดีกวาสัตวอ่ืน ดังนั้น แนวคิดเกี่ยวกับคุณคาของมนุษยซ่ึง

มีกําเนิดในยุคสมัยท่ีคานิยมของสังคมเปนอยางนั้น จึงกลาวไดวาเปนแนวคิดสําคัญและโดดเดนใน

เชิงปรัชญา นอกจากนี้การที่สังคมปจจุบันมีแงคิดเกี่ยวกับชีวทัศน ท่ีเห็นความสําคัญของมนุษย

และสิทธิมนุษยชนไดก็เปนผลมาจากกระบวนการความคิดจากอดีตนั่นเอง

Page 65: What is life

32

3. มนุษยอยูกึ่งกลางและอยูในความพอดี แสง จันทรงาม (2535) กลาวโดยสรุปวา ชีวิต

มนุษยเปนชีวิตท่ีมีคุณคาท่ีสุดในบรรดาภาวะทั้งหลาย ตามคัมภีรและความเช่ือทางศาสนาพุทธ

เทวดาและเทพธิดาบนสรวงสวรรคนั้นเปนภาวะท่ีมีความสนใจไมมีเร่ืองท่ีจะต้ังคําถาม หรือไมมี

ปญหาชีวิตใดๆ สวนสัตวเดรัจฉานและสัตวนรกตางๆ อยูในภาวะท่ีเต็มไปดวยความทุกขทรมานจน

ไมมีเวลาคิดแกปญหาความทุกขยาก จึงมีแตมนุษยท่ีอยูกึ่งกลาง พบท้ังความทุกขและความสุข ซ่ึง

ทานอธิบายวาเปนเหตุใหภพมนุษยนั้นเหมาะสมท่ีสุดในการแสวงหา ความรูเพื่อส่ิงท่ีดีกวาสําหรับ

ชีวิต คือความหลุดพนจากความทุกขถาวร กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ มนุษยมีคุณคาสูงกวาส่ิงอ่ืน ไมวา

จะเปนพวกเทวดา-นางฟา ท่ีมีความสุขมากเกินไป หรือสัตวเดรัจฉาน-สัตวนรก ที่มีความทุกขมาก

เกินไป

ลักษณะความคิดของศาสนาพุทธขอนี้ สะทอนใหเห็นอีกแงมุมทางปรัชญาท่ีเรียกวา

“อเทวนิยม” (Atheism) คือแนวคิดท่ีปฏิเสธความสําคัญของเหลาเทพเจาหรือเทวดาท้ังหลาย สําหรับ

ในยุคปจจุบัน ซ่ึงเปนยุคท่ีวิทยาการทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเจริญกาวหนา ลักษณะ

ความคิดแบบอเทวนิยม ก็ดูเปนพื้นฐานและเปนเร่ืองธรรมดา แตโปรดพิจารณาวา สมัยพุทธกาล

คือเม่ือประมาณ 2,500 ปท่ีแลว เปนยุคสมัยท่ีผูคนยึดม่ันกับภูตผี เทพ และเทวดาตางๆ เปนอยางยิ่ง

โดยเฉพาะในสังคมอินเดียนั้น กิจกรรมของชีวิตเกือบทุกเร่ืองจะตองมีการประกอบพิธีบวงสรวง

บูชาเทพเจาตางๆ เพื่อความเปนสิริมงคลและประสิทธิผลของกิจกรรม คนอินเดียสมัยนั้น ยึดม่ันตอ

การอาศัยเทพเจาตางๆ เปนท่ีพึ่งแตสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงสอนอยางแตกตางวา พวก

เทพเจา-เทวดาจะมีอยูหรือไม มิใชเร่ืองสําคัญ สําคัญท่ีวาส่ิงมีชีวิตเหลานั้นถึงมีอยูก็มิอาจ

ชวยเหลือมนุษยได มนุษยเปนผูท่ีตองพึ่งพาตนเอง และแนวคิดนี้นํามาสูพุทธศาสนสุภาษิตท่ีวา

“อัตตาหิ อัตตโน นาโถ” หรือตนยอมเปนท่ีพึ่งแหงตน และหากศึกษาถึงเนื้อหาของศาสนาพุทธ

ตามคัมภีรหลักคือพระไตรปฎกแลวแมวามีการยอมรับบางเร่ืองจากคําสอนของพระเวท (หรือ

ศาสนาพราหมณ) เชน มีการกลาวถึงพรหม หรือเทพเจา-เทวดาประเภทตางๆ แตในเนื้อหาของ

ศาสนาพุทธจะไมปรากฏมีการสอนเก่ียวกับการ ประกอบพิธีบวงสรวงบูชาเทพเจาใดๆ

โดยสรุป คําวาคุณคามีความหมายดังนี้

1. ส่ิงมีคุณคาคือส่ิงท่ีควรมี ควรทํา

2. ส่ิงมีคุณคาคือส่ิงตอบสนองความตองการ ทางดานรางกายและจิตใจ

3. ส่ิงมีคุณคาคือส่ิงท่ีมีสาระและมีศักยภาพ

4. การกระทําท่ีมีคุณคา คือ การกระทําเพื่อบรรลุเปาหมายท่ีต้ังไว

การศึกษาเร่ืองเกี่ยวกับคุณคา มีรายละเอียดท่ีหลากหลายท้ังมุมมองและเนื้อหา ในบทเรียน

นี้จะศึกษาถึงคุณคาท่ีสัมพันธกับเปาหมายและความสําเร็จของชีวิตจึงจะกลาวถึงเร่ืองของคุณคากับ

เปาหมายของชีวิตในทรรศนะทางปรัชญาและศาสนา ตลอดจนความสําเร็จของชีวิตโดยรวม

ตามลําดับตอไป

Page 66: What is life

33

คุณคาของชีวิตในทางปรัชญา

สําหรับเร่ืองของคุณคา มีเนื้อหากวางขวาง รวมไปถึงคุณคาทางสังคมคุณคาทางเศรษฐกิจ

และอ่ืนๆ แตเร่ืองของคุณคาซ่ึงนักปรัชญาใหความสนใจนั้น คือเร่ืองของคุณคาทางจิตใจ (Mental

Value) ซ่ึงเม่ือจัดหมวดหมูใหตรงกับแนวคิดต้ังเดิมท่ีนักปรัชญาสนใจศึกษา ก็จะเปนการศึกษา

คุณคาทางจิตใจ 3 ประการ คือ

คุณคาทางจิตใจ

1. คุณคาทางความคิด เหตุผล หรือคุณคาทางสติปญญา (Thinking) หมายถึง การท่ีมนุษย

สามารถคิดสงสัยเร่ืองใดเรื่องหนึ่งข้ึนมา แลวหาคําตอบเร่ืองนั้นไดพรอมดวยคําอธิบายท่ี

สมเหตุสมผล (Validity) และหรือสามารถอธิบายความคิดของเราใหผูอ่ืนรับรูได แมวาความรูซ่ึง

เปนผลจากความคิดของผูนั้น จะมีประโยชนใดๆ ตอการดําเนินชีวิตประจําวันหรือไมก็ตาม เชน มี

คําถามวาถา “X ทุกตัวคือ Y” บางตัวคือ Y” เปนจริงหรือเท็จ? ความรูท่ีไดจากคําตอบของคําถามนี้มี

ประโยชนในเชิงทฤษฎีมากกวาปฏิบัติ แตเม่ือนักศึกษาบางคนเห็นคําถามนี้แลว อาจเกิดความรูสึก

วาอยากรูคําตอบใหได ซ่ึงหากรูแลวก็เพียงไดตอบสนองความตองการทางดานสติปญญา นัก

ปรัชญาท่ีสนใจคุณคาทางดานนี้จะศึกษาวิชาตรรกศาสตร (Logic)

2. คุณคาทางอารมณความรูสึก (Feeling) หมายถึง การไดรับการตอบสนองความตองการ

ทางดานอารมณ สามารถจดจอ (Contemplation) กับอารมณความรูสึกนั้น จนมิไดสนใจเร่ืองอ่ืนๆ

ชนิดไมรับรูโลกภายนอก เชน เวลาดูละครโทรทัศนเร่ืองโปรดหามใครชวนคุย เวลาฟงเพลงโปรด

อยากฟงสงบๆ คนเดียว เปนตน นักปรัชญาท่ีสนใจคุณคาดานนี้ศึกษาถึงวิชาสุนทรียศาสตร

(Aesthetics)

3. คุณคาทางความดีงาม หรือเจตนารมณอันดี (Willing) หมายถึง การไดรับการ

ตอบสนองความสํานึกเกี่ยวกับความดีงาม หรือคุณคาทางจิตใจทางดานเปาหมายของชีวิต หรือ

เจตนารมณ (Willing) ซ่ึงนักปราชญบางคนนับรวมถึงคุณคาทางศาสนาไวดวย เชน ความรูสึกช่ืน

ชมตอผูเสียสละเพ่ือสังคมผูเปนตัวอยางท่ีดีของสังคม ทหารหาญที่เสียสละเพื่อประเทศชาติชาว

บางระจันท่ียอมตอสูจนตัวตาย ทาวสุรนารีผูกลาหาญและชาญฉลาดสามารถตอสูและปกปองเอก

ราช หรือความรูสึกมีความสุขสบายใจเม่ือไดใสบาตรทําบุญ รวมท้ังความรูสึกปล้ืมปติท่ีทํางานได

สําเร็จตามเปาหมายหรือเจตนารมณ เชน ความรูสึกปล้ืมปติขณะรับพระราชทานปริญญา เปนตน

นักปรัชญาผูสนใจศึกษาคุณคาทางดานนี้ ศึกษาวิชาจริยศาสตร (Ethics)

เร่ืองเปาหมายของชีวิตในทรรศนะนักปรัชญาจึงจัดเปนขอศึกษา ในสาขาวิชาจริยศาสตร

อยางชัดเจนกวาวิชาอ่ืน ดังนั้น กอนท่ีจะกลาวถึงเร่ืองเปาหมายของชีวิตในทรรศนะทางปรัชญา จะ

กลาวถึงขอบเขตเนื้อหาของวิชาจริยศาสตรพอสังเขปดังนี้

Page 67: What is life

34

เปาหมายของชีวิต

ดังไดกลาวแลววา คุณคา เปาหมาย และความสําเร็จของชีวิตนั้น เปนส่ิงท่ีมีความสัมพันธ

กัน จากตอนท่ีผานมา ไดกลาวถึงเร่ืองเกี่ยวกับคุณคาของชีวิตไปกอน เพื่อใหนักศึกษาไดรู

ความหมายของคําวาคุณคา ซ่ึงนักศึกษาไดทราบแลววา การศึกษาเร่ืองเกี่ยวกับคุณคามีเนื้อหา

หลากหลาย ในตอนตอไปน้ีจะกลาวถึงแนวความคิดเกี่ยวกับเปาหมายของชีวิตในมุมมองของนัก

ปรัชญาลัทธิตางๆ ซ่ึงจัดอยูในหัวขอศึกษาของปรัชญาสาขาจริยศาสตร

การศึกษาปรัชญา มีลักษณะบางประการท่ีคลายคลึงกับการศึกษาศาสนาแตก็มีขอแตกตาง

บางประการดังนี้

ขอคลายคลึงระหวางปรัชญากับศาสนา

1) มีเนื้อหาบางเร่ืองเกี่ยวของคลายกัน เชน เร่ืองของความดีงาม เร่ืองเกี่ยวกับส่ิงท่ีมนุษย

พึงแสวงหาหรือเปาหมายของชีวิต เร่ืองเกี่ยวกับสภาวะเหนือสัมผัสตางๆ (จิตวิญญาณ เทพเจา พระ

เจา) ชีวิตหลังความตาย เปนตน

2) มีธรรมชาติบางประการคลายกัน ไดแก เปนลักษณะการนําเสนอแนวคิดท่ีใชเปน

แนวทางหรือหลักในการดําเนินชีวิต

ขอแตกตางระหวางปรัชญากับศาสนา

ปรัชญา ศาสนา

1. มีกําเนิดจากความสงสัย

2. มีพื้นฐานบนหลักของเหตุผล

3. เนนความรูเชิงทฤษฎี

4. ไมมีองคกรท่ีแนนอน

5. ผูสอนมิใชผูนําในการปฏิบัติ

6. เนนเหตุผลเปนท่ีมาของความรู

1. มีกําเนิดจากความกลัว

2. มีพื้นฐานบนความศรัทธา

3. เนนความรูท่ีนํามาปฏิบัติใหเกิดผล

4. มีองคกรท่ีแนนอนเปนสถาบันทางสังคม

5. ผูสอนตองปฏิบัติตนตามท่ีสอนดวย

6. เนนประสบการณหรือการหยั่งรูโดยตรง

หัวขอท่ีจะกลาวถึงในตอนนี้ และตอนตอไปคือหัวขอเกี่ยวกับ เปาหมายของชีวิต

ซ่ึงมีแนวคิดท่ีนักปรัชญาไดกลาวไวเปนจํานวนมาก ในวิชาจริยศาสตรเรียกเปาหมายของชีวิต หรือ

ส่ิงสูงสุดท่ีมนุษยพึงแสวงหาวา Summum Bonum แนวคิดเชิงปรัชญาวาดวยเปาหมายของชีวิตท่ี

คลายกันจัดเปนกลุมแนวคิด ไดแก กลุมสุขนิยม (Hedonism) ปญญานิยม (Eudaemonism) วิมุตินิยม

และมนุษยนิยม (Hummanism) การจัดกลุมลัทธิทางปรัชญาหลายๆ ลัทธิเขาเปนกลุมแนวคิดเปน

การจัดกลุมโดยนักวิชาการในยุคหลัง อาจทําใหขาดความเปนเอกภาพในบางประเด็น เพราะแตลัทธิ

จะมีท้ังลักษณะท่ีเหมือนกัน และมีลักษณะท่ีแตกตางกันอยางไรก็ตาม ไดตัดรายละเอียดท่ีแตกตาง

ท่ีเปนเอกลักษณของแตละลัทธิในแตละแนวคิด โดยมุงกลาวถึงลักษณะรวมของกลุมแนวคิดเปน

หลัก โดยแตละกลุมแนวคิดมีเนื้อหาโดยสรุปดังนี้

Page 68: What is life

35

เปาหมายของชีวิตคือความสุข : สุขนิยม

แนวคิดเชิงปรัชญาท่ีถูกจัดกลุมเปน สุขนิยม ลักษณะท่ัวไปดังนี้

(1) ความสุขคือส่ิงดีท่ีสุด จึงเปนเปาหมายสูงสุดของชีวิต (Pleasure as Ultimate Goal)

(2) ความสุขคือเปาหมายสุดทาย ไมเปนทางผานไปสูเปาหมายอื่นใดอีก (Pleasure as

Intrinsic Value)

(3) ความสุขคือส่ิงท่ีมนุษยพึงแสวงหา (Pleasure Should to Sought)

(4) การกระทําท่ีมีคุณคา คือการกระทําใดๆ เพื่อใหไดมาซ่ึงความสุข (Ethical Value of

Human Action Determined by Pleasure)

แนวคิดนี้เปนแนวคิดท่ีเปนพื้นฐานสําหรับชีวิตในสังคมปจจุบัน หากในวงสนทนามีใคร

สักคนถามวา อะไรคือเปาหมายของชีวิต เพื่อนๆ หลายคนคงตอบวา “ความสุข” (Pleasure) เพราะ

ถาลําดับความเปนไปในชีวิตประจําวัน ดวยคําถามดังนี้

ถาม เรียนหนังสือไปทําไม?

ตอบ เพื่อจบปริญญา

ถาม เอาปริญญาไปทําอะไร?

ตอบ ไปทํางานท่ีดี

ถาม ทํางานท่ีดีเพื่ออะไร?

ตอบ เพื่อมีเงิน มีศักดิ์ศรี

ถาม เงินกับศักดิ์ศรี มีประโยชนอะไร?

ตอบ เงินใชซ้ือส่ิงของตางๆ ซ้ือบาน ซ้ือรถ ฯลฯ ศักดิ์ศรีทําใหอยูไดในสังคม

ถาม มีบาน มีรถ ฯลฯ อยูไดในสังคมเพื่ออะไร?

ตอบ เพื่อชีวิตท่ีมีความสุข

คําตอบหลังสุดคือ “เพื่อชีวิตท่ีมีความสุข” คงเปนคําตอบสุดทายท่ีคิดวาไมตองถามตอไป

จะเห็นไดวาแนวคิดเกี่ยวกับความสุข เปนแนวคิดท่ีเขาใจงายๆ อยางไรก็ตาม คําวาความสุขท่ีเรา

เขาใจกันในปจจุบัน มีความหมายโดยทั่วไปวา “สุขกายสบายใจ” (Well Being) ซ่ึงเปนความสุข

ชนิดหนึ่งจากความสุขหลายชนิดท่ีมนุษยสามารถเขาถึงได

คัมภีรพระเวท แนวคิดหลักทางปรัชญาและศาสนาของอินเดีย ไดกลาวถึง ความสุข หรือ

ประโยชนท่ีมนุษยพึงแสวงหา เรียกวา “ปโยชนํ4” ควบคูกับข้ันตอนของชีวิต 4 ข้ันตอน ซ่ึงเรียกวา

“อาศรม 4” ดังน (สุนทร ณ รังสี,.....)

1. อรรถะ หมายถึง ประโยชนท่ัวไป ไดแก ความสุขจากการไดมาซ่ึงทรัพยสินเงินทอง

เปนประโยชนท่ีผูอยูในวัยหนุมสาวควรแสวงหา กลาวคือ ใหรูจักสะสมทรัพยสินเงินทองไวกอน

แตงงาน (ศัพทเรียกผูอยูในข้ันตอนชีวิตดวยกอนแตงงานวาพรหมจรรย)

Page 69: What is life

36

2. กามะ หมายถึง ความสุขของผูครอบครองเรือน (คฤหัสถ) คือ ความสุขในการแตงงาน

การใชชีวิตรวมกัน การมีลูก เล้ียงดูลูก เปนตน

3. ธรรมะ หมายถึง ความสุขสงบทางจิตใจ ชาวอินเดียโบราณมีธรรมเนียมปฏิบัติประการ

หนึ่งคือ เม่ืออายุมากข้ึนจะยกบานเรือนใหบุตรหลาน แลวผูสูงอายุจะออกแสวงหาความสุขสงบ

ทางจิตใจอยูตามปาเขา ซ่ึงเรียกวา ผูอยูปา (วนปรัสถ)

4. โมกษะ หมายถึง การหลุดพนจากความทุกขอยางถาวร หรือการหลุดพนจากการเวียน

วายตายเกิดในสังสารวัฎ (ศาสนาพุทธใชศัพทเฉพาะวานิพพาน) การแสวงหาโมกษะ ไมจํากัดชวง

ชีวิตตามอายุ แตผูแสวงหาโมกษะ ไมจํากัดชวงชีวิตตามอายุ แตผูแสวงหาโมกษะอาจเรียกวาเปน

นักบวช หรือสันยาสิน ซ่ึงอาจยังอยูในวัยหนุมสาวก็ได เชน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ทรง

ออกผนวชเม่ือพระชนมอายุ 29 พรรษา ซ่ึงโดยท่ัวไปอายุขนาดนั้นนาจะอยูในวัยคฤหัสถ เปนตน

ความสุข 4 ประเภทท่ีพระเวทแยกแยะไวนั้น หากจัดกลุมลักษณะของความสุขจะจัดได

เปน 2 กลุม คือ อรรถะกับกามะ เปนความสุขท่ีเกี่ยวของกับวัตถุเกี่ยวของผูกพันกับเร่ืองของโลก จึง

เรียกวาเปนความสุขในระดับ “โลกียสุข” หรือความสุขท่ีอยูในโลก สวนความสุขท่ีอยูในโลก สวน

ความสุขจากธรรมะ กับโมกษะ นั้นเปนความสุข ความอ่ิมเอิบ ความปติทางดานจิตใจลวนๆ หลุด

พนจากความยึดถือในวัตถุตางๆ แลวจึงเรียกวาเปนความสุขในระดับ “โลกุตรสุข” หรือความสุข

ระดับเหนือโลก

ความสุขกายสบายใจ (Well Being) ท่ีกลาวถึงในตอนที่ผานมา จัดเปนความสุขใน

ระดับโลกียสุข เพราะยังเปนความสุขท่ีอิงอาศัยวัตถุตางๆ เปนสําคัญ จึงมีแนวคิดทางปรัชญาหลาย

กลุมต้ังคําถามวา มนุษยควรแสวงหาความสุขท่ียึดติดกับวัตถุเทานั้นหรือ มนุษยซ่ึงแปลวาผูมีใจสูง

นาจะมีส่ิงอ่ืนๆ ท่ีควรแสวงหามากกวานั้น หากมนุษยรูจักแสวงหาเพียงส่ิงสนองความ ตองการทาง

รางกายหรือวัตถุตางๆ แลว มนุษยก็คงไมแตกตางจากสัตวอ่ืนๆ แนวคิดท่ีเห็นวามนุษยควรแสวงหา

ส่ิงอ่ืนๆ ท่ีนอกเหนือจากความสุข ไดแก แนวคิดตางๆ ตอไปนี้

เปาหมายของชีวิตคือความสงบ : วิมุตินิยม

คําวามีความสุขทางจิตใจท่ีแนวคิดทางปรัชญาใหความสําคัญ มีความแตกตางจากความสุข

กายสบายใจในภาษาทั่วไป กลาวคือ ความสบายใจ หรือความสุขใจในภาษาท่ัวไป จัดเปนความสุข

ในระดับโลกียสุข เปนความสุขใจที่ยังเกี่ยวของกับวัตถุ เชน รูสึกมีความสุขเม่ือไดเล่ือนตําแหนง

เม่ือไดข้ึนเงินเดือน 2 ข้ัน รูสึกปล้ืมใจภูมิใจท่ีสามารถซ้ือบาน ซ้ือรถยนตเปนของตนเอง เปนตน

สวนความสุขทางจิตใจท่ีกลาวถึงในทางปรัชญาและศาสนานั้นเปนความสุขทางจิตใจท่ีไม

อิงอาศัยวัตถุหรือปจจัยภายนอก แตเปนความสุขภายใน เนนถึงความสุขสงบและการคนพบตนเอง

นักปราชญศาสดาจํานวนมาก โดยเฉพาะชาวอินเดียพบวา ความสุขท่ีเกิดจากการไดรับ

การตอบสนองความตองการตางๆ เปนความสุขท่ีเปนภาพมายา (Illusion) กลาวคือ เม่ือไดรับ

Page 70: What is life

37

ตอบสนองแลว ก็เกิดความตองการใหมตอไปดังเชนท่ีกลาววา “ความตองการของมนุษยไมมี

ขีดจํากัด” เม่ือสะสมเงินทองไดจํานวนหนึ่ง ซ้ือรถยนตได 1 คัน ก็มีความสุขในการไดเปนเจาของ

แตเม่ือเวลาผานไป 5 ป รถก็เร่ิมเกา ในทองตลาดก็มีรถยนตรุนใหมๆ ออกมา รายไดก็มีเพิ่มข้ึน

ตําแหนงหนาท่ีสูงข้ึน ก็ยอมมีความตองการถยนตคันใหม และวัฏจักรหรือวงจรของความตองการ

จะเปนเชนนี้อยางไมจบส้ินเสมือนงูกินหาง

ดังนั้น นักปราชญกลุมนี้จึงไมเห็นดวยกับการแสวงหาส่ิงตอบสนองความตองการที่ผูกพัน

อิงอาศัยปจจัยภายนอก แตใหความสําคัญกับการรูจักตนเองรูจักควบคุมความตองการ รูจักการ

เอาชนะใจตนเอง ในทางปรัชญาและศาสนาอินเดียเห็นวาการฝกควบคุมความตองการเปนวิธีการ

พื้นฐานสูการดับทุกขท่ีถาวร (บรรลุโมกษะ) หรือเรียกวาวิมุติสุข จึงเรียกลักษณะแนวคิดนี้วา วิมุติ

นิยม

วิทย วิศทเวทย (2537, 150) สรุปความสัมพันธระหวางความพอใจ ส่ิงท่ีเรามีกบส่ิงท่ี

ตองการเปนสมการไวดังนี้

ความพอใจ เทากับ ส่ิงท่ีเรามี หารดวย ส่ิงท่ีเราตองการ

ZYX =

สมมติ ส่ิงท่ีเรามี (Y) มีคาเทากับ 2 ส่ิงท่ีเราตองการ (Z) มีคาเทากับ 1 ความพอใจของเรา

(X) จะมีคาเทากับ (X) จะมีคาเทากับ 2 แตถาส่ิงท่ีเรามีคือ 2 ความตองการคือ 4 ความพอใจของเรา

จะเหลือเพียง 0.5 หรือติดลบ นั่นก็คือยิ่งมีความตองการมาก ความสุขความพอใจก็ยิ่งลดลง เพราะ

ส่ิงท่ีเราจะมีไดนั้น มีอยูเปนจํานวนจํากัด ดังนั้นแทนท่ีจะพยายามแสวงหาเพื่อใหมีมากข้ึน พวกมิ

มุตินิยมจะสอนวา ใหลดความตองการลงจะเปนวิธีท่ีถูกตองเปนไปไดอยางเหมาะสมและ

สมเหตุสมผลมากกวา

แนวความคิดแบบวิมุตินิยมเปนแนวคิดท่ีตรงกันขามกับความคิดเห็นวา “จัดสรรทรัพยากร

ท่ีมีอยูจํากัด ใหเพียงพอตอความตองการของมนุษยซ่ึงมีไมจํากัด” โดยเห็นวาแนวคิดดังกลาวไมสม

เหตุผล (Invalidity) หากทุกคนยอมรับวาทรัพยากรหรือส่ิงท่ีจะมีได เปนส่ิงมีอยูจํากัด ก็ยอมเปนไป

ไดท่ีมันจะเพียงพอตอความตองการของมนุษยซ่ึงมีไมจํากัด ความเปนไปไดประการเดียวเทานั้นคือ

จํากัดความตองการใหพอดีกับทรัพยากรหรือส่ิงท่ีจะมีได แนวคิดทางเศรษฐศาสตรลักษณะน้ี คือ

แนวคิดท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวองคปจจุบันทรงพระราชทานช่ือวา “เศรษฐกิจแบบพอเพียง”

อยางไรก็ตาม แนวคิดแบบวิมุตินิยม มีลักษณะกวางขวางรวมหลายแนวคิดท่ีอาจมี

รายละเอียดแตกตางเขาดวยกัน ลักษณะสําคัญของแนวคิดนี้ คือ ความพยายามในการเอาชนะ

ความตองการ ความอยาก หรือการเอาชนะใจตนเอง แตก็มีรายละเอียดบางอยางตางกัน เชน วิมุติ

Page 71: What is life

38

นิยมของอินเดียบางกลุมมุงเอาชนะใจตนเองดวยการทรมานรางกาย เพราะเห็นวารางกายเปน

อุปสรรคหรือตัวถวงมิใหจิตวิญญาณไดเขาสูสัจธรรม เชน ภาพของโยคีท่ีนิยมมาเขียนลอเลียนใน

หนังสือการตูนตางๆ เปนภาพชาวอินเดียนอนบนเตียงท่ีตอกดวยตะปู เปนตน โดยขอเท็จจริง

แนวคิดนี้มิไดมีแตในอินเดียเทานั้น ในประเทศกรีกในระยะเวลาใกลเคียง

แตมีวิมุตินิยมบางกลุม ไมเห็นดวยกับวิธีทรมานรางกาย เชน ศาสนาพุทธและปรัชญากลุม

มนุษยนิยมสวนมาก ท่ีเห็นวาการเอาชนะจิตวิญญาณน้ัน ไมจําเปนตองทรมานรางกายก็ได โดยจะ

กลาวรายละเอียดในตอนท่ีวาดวยมนุษยนิยม

เปาหมายของชีวิตคือความรู : ปญญานิยม

นักปราชญอีกกลุมหนึ่ง ต้ังขอสังเกตวา หากมนุษยแสวงหาแตเพียงความสุขกายสบายใจ

ตามแนวคิดของพวกสุขนิยมแลว อารยธรรมของมนุษยจะไมสามารถเกิดข้ึนได อารยธรรม ความ

เจริญกาวหนา ความเปนอยูของมนุษยทุกวันนี้ ลวนแตมีรากฐานอยูบนความรูและวิชาการตางๆ

และความรูตางๆ นั้น ไดมาจากความพยายามของนักปราชญท้ังหลาย ซ่ึงเปนผูมีความรักการ

แสวงหาความรูในอดีตนั่นเอง

ดังนั้น นักปรัชญากลุมนี้จึงมีทรรศนะวา ความรู เปนส่ิงสูงสุดท่ีมนุษยพึงแสวงหา

นักปราชญท่ีมีแนวคิดลักษณะนี้เรียกวา “ปญญานิยม” (Eudaemonism)

อาริสโตเติล (Aristole) นักปรัชญาชาวกรีก ไดพยายามวิเคราะหวาคุณสมบัติใดท่ีทําให

มนุษยแตกตางจากสัตวอ่ืนๆ และพบวาคุณสมบัติดังกลาวคือการรูจักใชความคิดและเหตุผล เขาได

ใหคํานิยาม (Definition) มนุษยไววา “มนุษยคือสัตวท่ีมีเหตุผล” (Man is The Reasoning Animal)

ในทางปรัชญา เห็นวาคุณสมบัติเฉพาะท่ีทําใหส่ิงๆ หนึ่งแตกตางจากส่ิงอ่ืนๆ ในประเภท

เดียวกันนั้น คือสาระ หรือสารัตถะ (Essence) ของส่ิงนั้นๆ ในทรรศนะของอาริสโตเติล สาระของ

ความเปนมนุษยก็คือการใชความคิด เหตุผลการใชสติปญญา และการแสวงหาความรู

ในทางวิชาการประวัติความเปนมาและพัฒนาการความรูของมนุษยเร่ิมข้ึนจากความสงสัย

และความพยายามในการแสวงหาคําตอบหรือความรู ในอดีตเม่ือประมาณ 2,500-3,000 ปท่ีแลว ยัง

ไมมีการแบงวิชาเปนสาขาตางๆ ผูท่ีพยายามแสวงหาความรูเพื่อตอบขอสงสัย และสามารถอธิบาย

หรือตอบขอสงสัยอยางสมเหตุสมผล ก็ไดช่ือวาเปนนักปรัชญา (Philosopher) ซ่ึงมีความหมายโดย

รากศัพทวา “ความรักความรู” ดังนั้น ความรักท่ีจะแสวงหาความรู จึงเปนพื้นฐานของวิทยาการท้ัง

ปวง

ตัวอยางเชน สมมติวาเม่ือ 2,500 ปท่ีแลวในประเทศกรีก มีผูใฝรูคนหน่ึงสงสัยใน

พฤติกรรมความเปนอยูของนก วันๆ หนึ่งเขาใชเวลาในการติดตามเฝาดูนก และพยายามอธิบาย

พฤติกรรมของพวกมัน จนสามารถอธิบายไดเปนคําตอบท่ีนาพอใจระดับหนึ่ง หากคนๆ นี้เกิดในยุค

Page 72: What is life

39

ปจจุบันเขาคงเปนนักปกษีวิทยา หรือ สัตววิทยาหรืออยางนอยเปนนักชีววิทยา แตถาเปนในสมัย

ดังกลาวคนผูนี้ไดไดช่ือวาเปน “นักปรัชญา”

แนวคิดแบบปญญานิยม มีความสัมพันธและสอดคลองกับวิมุตินิยม โดยท่ีท้ัง 2 กลุม ไม

เห็นดวยกับพวกสุขนิยม และแนวคิดของท้ังสองมีลักษณะเกื้อกูลแกกัน เชน คําสอนของศาสนา

พุทธมีลักษณะเปนวิมุตินิยมในแงเปาหมายสูงสุดคือการหลุดพนจากความทุกขอยางถาวร สวนใน

แงของความเปนมา สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงตรัสรู พบสัจธรรม หรือความจริงของชีวิต

คือ “อริยสัจ 4” เพราะพระองคมีความสงสัยในธรรมชาติของชีวิต และไดทรงพยายามตอบคําถาม

หรือแสวงหาความรูดวยวิธีการตางๆ ท้ังดวยการบําเพ็ญเพียรตามแนวทางของนักปฏิบัติท่ีมีอยูรวม

สมัย และวิธีการที่คนพบเองรวมเปนเวลาถึง 6 ป นั่นก็คือพระพุทธองคมีจิตสํานึกของความเปน

นักวิชาการ และพ้ืนฐานแบบปญญานิยมดวย

ในแงของความแตกตาง คือ แนวคิดปญญานิยมไมแพรหลายเทาวิมุตินิยม ซ่ึงเกือบท้ังหมด

เปนแนวคิดทางศาสนา และแนวคิดปญญานิยมก็มีฐานะเปนเคร่ืองมือมากกวาเปาหมาย เนื่องจาก

เนนทฤษฎีมากกวาผลการปฏิบัติ

ในตอนตอไปจะกลาวถึง แนวคิดท่ีประสานแนวคิดตางๆ เขาดวยกันในลักษณะบูรณาการ

1. สุขนิยม เห็นวาเปาหมายของชีวิตคือความสุข โดยเนนการตอบสนองความตองการทาง

รางกาย และความสุขท่ีไดจากการครอบครองวัตถุ

2. วิมุตินิยม เห็นวาเปาหมายของชีวิตข้ันพื้นฐานคือการเอาชนะใจตนเอง และข้ันสูงสุดคือ

ความบริสุทธ์ิผุดผองทางจิตวิญญาณ แนวคิดทางศาสนาสวนมากจัดเปนวิมุตินิยม

3. ปญญานิยม เห็นวาเปาหมายของชีวิตคือความรู และส่ิงตอบสนองความตองการทาง

สติปญญา

4. มนุษยนิยม เห็นวาเปาหมายของมนุษยคือแสวงหาส่ิงตอบสนองความตองการทุกดาน

แตใหรูจักใชกรอบพื้นฐานของวิมุตินิยม คือใหรูจักหักหามใจเม่ือไมไดมาซ่ึงส่ิงท่ีตองการ

ในตอนตอไปจะไดกลาวถึงเปาหมายของชีวิตในทรรศนะของศาสนาตางๆ ซ่ึงมีความ

แตกตางจากการศึกษาความคิดเชิงปรัชญา ดังตอไปนี้

เปาหมายของชีวิตในทรรศนะศาสนา

ในตอนท่ีผานมา ไดกลาวถึงเปาหมายของชีวิตในทรรศนะนักปรัชญาลัทธิตางๆ ในตอนนี้

เปนการศึกษาลักษณะแนวคิดทางศาสนา ซ่ึงมีความแตกตางจากศึกษาตามแบบปรัชญา กลาวคือ

การศึกษาแนวคิดทางปรัชญาในตอนท่ีผานมาเปนการจัดแนวคิดท่ีมีลักษณะคลายกันหลายๆ แนว

มาไวในกลุมเดียวกันแนวคิดบางกลุมจึงอาจขาดเอกภาพในการเสนอแนวคิด เชน แนวคิดแบบสุข

นิยมเปนแนวคิดรวมกันของลัทธิหลายๆ ลัทธิ เชน ลัทธิเอพิคิวเรียนในกรีก ลัทธิจารวากในอินเดีย

และลัทธิอ่ืนๆ ซ่ึงแตละแนวคิดก็มีท้ังลักษณะรวมและลักษณะท่ีแตกตางกัน ในตอนท่ีผานมาไดตัว

Page 73: What is life

40

รายละเอียดท่ีแตกตางออก โดยคงไวแตลักษณะรวมของแตละกลุม สวนการศึกษาแนวคิดของ

ศาสนาน้ัน เปนการศึกษาตามคําสอนท่ีไดมีการประมวลไวอยางเปนระบบแลว เนื้อหาของแตละ

ศาสนาจึงมีความเปนเอกภาพและชัดเจนกวาการศึกษาแบบจัดกลุมในตอนท่ีผานมา

ในตอนน้ีจะศึกษาทรรศนะของศาสนาตางๆ ท่ีเกี่ยวกับเปาหมายของชีวิตมนุษย ไดแก

ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต และศาสนาอิสลาม ตามลําดับ

เปาหมายของชีวิตในศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธเปนศาสนาท่ีมีรากฐานบนคําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาในแงของ

การศึกษาทางปรัชญา จัดวาพุทธปรัชญาเปนปรัชญาอินเดียในกลุมท่ีไมยอมรับตอความศักดิ์สิทธ์ิ

ของพระเวท แมจะมีการยอมรับคําสอนและความเช่ือบางอยางจากพระเวท ซ่ึงเปนหลักคําสอนท่ีมี

อิทธิพลสูงสุดตอชาวอินเดียรวมสมัย

ในแงของการศึกษาทางศาสนา ถือวาศาสนาพุทธเปนศาสนาสากล เพราะมีผูนับถือเปน

จํานวนมากกระจายอยูท่ัวโลกท้ังทวีปเอเชียและทวีปอ่ืนๆ จัดวาศาสนาพุทธเปนศาสนาประเภทอ

เทวนิยม (Atheism) ไมเช่ือในเร่ืองพระเจาสูงสุดผูสรางสรรพส่ิงและไมใหความสําคัญแกเทพเจา

ตางๆ

เกี่ยวกับเปาหมายของชีวิตในเชิงปรัชญา วิเคราะหไดวาคําสอนของพระพุทธเจา มีลักษณะ

ท่ีจัดอยูในกลุมวิมุตินิยม แตก็มีแนวโนมบางอยางท่ีเปนมนุษยนิยม สวนในทางศาสนาเปาหมาย

สูงสุดของชีวิตคือนิพพาน อยางไรก็ตาม ศาสนาพุทธมิไดบังคับวามนุษยทุกคนตองบรรลุนิพพาน

มีคําสอนท่ีเกี่ยวกับส่ิงท่ีชาวบานท่ัวไปควรแสวงหา กลาวอีกอยางหน่ึงก็คือ เปาหมายของชีวิตอาจ

แบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับสามัญ กับระดับสูง หรือเปาหมายชีวิตสําหรับประชาชนท่ัวไป

(คฤหัสถ) กับเปาหมายของนักบวช (บรรพชิต)

1. เปาหมายของชีวิตสําหรับประชาชนท่ัวไป เรียกวา คิหิสุข หรือความสุข ซ่ึงผูครองเรือน

ควรแสวงหา (สุจิตรา รณร่ืน,2540, หนา 70-71) ไดแก

1) อัตถิสุข คือความสุขจากการมีทรัพย

2) โภคสุข คือความสุขจากการใชจายทรัพย

3) อนณสุข คือความสุขการจากไมเปนหนี้

4) อนวัชสุข คือความสุขจากการประกอบอาชีพท่ีปราศจากโทษ

สําหรับความสุขจากการใชจายทรัพยสิน มีขออธิบายเพิ่มเติมวา ควรรูจักใชจาย

อยางไรบางเรียกวา โภคอาทิยะ ดังนี้

(1) เล้ียงตัวเล้ียงบิดามารดา บุตรภรรยาและคนในปกครอง

(2) บํารุงเล้ียงดูมิตรสหายและเพื่อนรวมงาน

(3) ใชปกปองรักษาสวัสดภิาพ ปกปองตนเองจากอันตรายตางๆ

Page 74: What is life

41

(4) รูจักสละทรัพยเพื่อ เชน สงเคราะหญาติ ตอนรับแขก ทําบุญอุทิศสวนกุศล

เปนตน

(5) อุปถัมภบํารุงพระสงฆ และเหลาบรรพชิตผูประพฤติดีประพฤติชอบ

จะเห็นไดวาความสุข หรือส่ิงท่ีประชาชนท่ัวไปพึงแสวงหา ในทรรศนะของศาสนาพุทธ

เปนความสุขท่ีเกี่ยวของกับวัตถุ หรือโลกียสุขท่ีกลาวถึงในตอนสุขนิยมในทางพุทธศาสนา มีศัพท

เฉพาะเรียกความสุขระดับนี้วา สามิสสุข (ความสุขจากการครอบครองวัตถุ) ตรงขามกับโลกุตตร

สุข ซ่ึงศาสนาพุทธเรียกวา นิรามิสสุข (ความสุขท่ีไมเกี่ยวของกับวัตถุ)

2. เปาหมายสูงสุดของชีวิตคือนิพพาน คําสอนเร่ืองนิพพานเปนคําสอนท่ีทําใหศาสนาพุทธ

แตกตางจากศาสนาอ่ืนๆ ซ่ึงสวนมากเปาหมายของชีวิตคือการไดกลับไปสูสภาวะด้ังเดิม ความคิด

เร่ืองนิพพาน มีสวนคลายกับกับความคิดในศาสนาฮินดูคือเปนภาวะแหงความหลุดพนจากความ

ทุกขอยางถาวร (โมกษะ) แตกตางตรงที่วาในศาสนาฮินดู ความหลุดพนจากความทุกขอยางถาวร

(โมกษะ) แตกตางตรงที่วาในศาสนาฮินดู ความหลุดพนคือการท่ีอาตมันหรือวิญญาณยอยของแต

ละคนไดกลับไปรวมอยูกับพรหมันซ่ึงเปรียบเสมือนวิญญาณสากล สวนนิพพานของศาสนาพุทธ

หมายถึงการหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิด และเปนภาวะของการดับสูญ ไมมีตัวตนหรืออาตมัน

หลงเหลืออยู ซ่ึงสอดคลองกับหลักคําสอนเร่ืองสภาวะของสรรพส่ิง (สามัญลักษณ) คืออนิจจัง ทุก

ขัง และอนัตตา

เปาหมายของชีวิตในศาสนาคริสต

ศาสนาคริตส เปนศาสนาจากคําสอนของพระเยซูแหงนาซาเรส หรือพระเยซูคริสต บน

รากฐานของศาสนายูดา ตามความเช่ือดั้งเดิมของท้ังสองศาสนาสอนวาพระเจา (God) ไดสราง

มนุษยข้ึนจากฉายาของพระองค (มีรูปรางคลาย) โดยใหช่ือวา อดัม และตอมาสรางมนุษยเพศหญิง

ข้ึนจากซ่ีโครงของอดัม ใหช่ือวาอีฟ หรือ อีวา พระองคใหท้ังสองอยูในสวนสวรรคช่ือวาสวนอี

เดน ตอมาดัมและอีฟถูกปศาจดลใจใหขโมยผลไมในสวนพระเจาจึงลงทาโดยใหท้ังสองลงมาอยู

ในโลกมนุษย และเปนตนตระกูลของมนุษยท้ังหมดในเวลาตอมา

ตามความเช่ือดังกลาว มนุษยตองจากอาณาจักรของพระเจาท่ีเปนดินแดนสวรรค ลงมาอยู

บนโลกมนุษยก็เพราะความบาป (Sin) ของมนุษยเอง

เปาหมายสูงสุดของมนุษยตามทรรศนะศาสนาคริตส จึงอยูท่ีการไดกลับคืนสูอาณาจักร

สวรรค และไดอยูรวมกับพระเจาเหมือนเชนเดิม ท้ังนี้ โดยมีหลักปฏิบัติสําคัญยิ่งสรุปเปน 2

ประการ คือ 1) จงรักพระเจาอยางสุดจิตสุดใจ และ 2) จงรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง ผูท่ี

เช่ือม่ันในพระเจาและพระเยซู จะไดกลับสูสวรรค สวนผูไมเช่ือถือและคนบาปท้ังหลายตองถูก

พิพากษาใหลงไปในบึงไฟนรก ทนทุกขทรมานช่ัวนิรันดร

เปามายของชีวิตในศาสนาอิสลาม

Page 75: What is life

42

ศาสนาอิสลามเปนศาสนาจากคําสอนของนบีมุฮัมมัด ซ่ึงมีพื้นฐานจากศาสนาทองถ่ิน

รวมท้ังศาสนาคริสต และศาสนายูดา ความเช่ือพื้นฐานของศาสนาอิสลามคลายกับศาสนาคริสต

และศาสนายูดา ท่ีเช่ือวา พระอัลเลาะฮ (พระเจา) สรางมนุษยคูแรกข้ึน แตเพราะความบาป มนุษย

จึงถูกสาปใหมาอยูบนโลกและเช่ือในวันพิพากษาหรือวันส้ินโลก เชนเดียวกัน

ดังนั้น แมวาศาสนาอิสลามจะมีหลักปฏิบัติตางๆ ท่ีแตกตางกับศาสนาคริสตแตในแง

เปาหมายแลว ท้ังสองศาสนามุงกระทําความดีและศรัทธาตอพระเจาก็เพื่อไดกลับสูดินแดนสวรรค

และไดกลับไปอยูรวมกับพระเจา

คุณคาเปาหมายและความสําเร็จของชีวิต

เปนส่ิงท่ีมีความสัมพันธกัน ดังไดกลาวแลวแตตน ความสําเร็จของชีวิต ข้ึนอยูกับ

เปาหมายของชีวิต เพราะความสําเร็จ หมายถึงการบรรลุตามเปาหมาย การกระทําเพื่อบรรลุ

เปาหมายหรือเพื่อความสําเร็จของชีวิต ถือเปนการกระทําท่ีมีคุณคา

จากการนําเสนอในบทเรียนนี้ นึกศึกษาจะเห็นไดวา เปาหมายชีวิตของมนุษยตามแนวคิด

ของนักปราชญศาสดามีหลายอยาง เชนเปาหมายคือความสุขเปาหมายคือความสงบ เปาหมายคือ

ความรู เปนตน ดังนั้น ในแงของปรัชญา ความสําเร็จของชีวิตจึงมีหลายอยาง ตามแตเปาหมายของ

แตละคน

อยางไรก็ตาม การดํารงชีวิตของมนุษย มีกรอบจํากัดท่ีสําคัญยิ่งประการหนึ่ง คือ มนุษย

ตองดํารงตําแหนงชีวิตอยูในสังคม ไมมีใครสามารถอยูในโลกไดโดยลําพัง ดังนั้น การกําหนด

เปาหมายของชีวิต ไมวาจะเปนความสุขกายสบายใจ ความสุข สงบทางจิตวิญญาณ หรืออ่ืนๆ ยอม

อยูภายใตเง่ือนไขวาตองเปนเปาหมายท่ีเม่ือมีการปฏิบัติแลว ไมกอผลกระทบใหเกิดความเดือดรอน

รบกวนผูอ่ืนในสังคม

เม่ือพิจารณาความสําคัญของการอยูรวมในสังคม อาจกลาวไดวา การยอมรับจากสังคม ถือ

เปนสวนประกอบสําคัญยิ่งของความสําเร็จในชีวิต ไมวาจะเปนความสําเร็จระดับใด คนท่ีจะไดรับ

การยอมรับ และถือวาเปนคนมีคุณคาของสังคมเปนผูมีคุณสมบัติดังนี้

(1) รูจักกําหนดเปาหมายของชีวิตอยางถูกตองดีงาม และมีความพยายามปฏิบัติเพื่อบรรลุ

เปาหมายของตนเอง คนท่ีปราศจากเปาหมายของชีวิต จะถูกมองวาเปนคนไรแกนสาร หาสาระ

ไมได และไมไดรับความไววางใจจากสังคม

(2) มีความรูความสามารถและศักยภาพที่พรอมจะตอบสนองความตองการของตนเองและ

ผูอ่ืน กลาวอีกอยางก็คือ เปนผูท่ีมีความรูความสามารถท่ีจะสรางประโยชนแกสังคม คนท่ีขาด

ความรูความสามารถ ไมฉลาด ไมเกง อาจไดรับการยอมรับจากสังคมไดในบางเร่ือง แตคนท่ีเกง

และฉลาด สามารถสรางประโยชนไดยอมเปนผูท่ีไดรับการยอมรับมากกวา อยางไรท่ีเกงและฉลาด

Page 76: What is life

43

สามารถสรางประโยชนได ยอมเปนผูท่ีไดรับการยอมรับมากกวา อยางไรก็ตามความเกงมักมี

ความสัมพันธผกผันกับความดี หากเปนคนเกงแตไมดี ก็หามีคุณคาอยางแทจริงไม

(3) มีมนุษยสัมพันธและรูจักประสานประโยชน จากท่ีกลาวมา คนมีคุณคาตองเปนคนเกง

และตองเปนคนดีดวย คําวาเปนคําท่ีตัดสินโดยสังคม การเปนคนดีของสังคม ก็คือรูจักสรางมนุษย

สัมพันธท่ีดี และรูจักประสานประโยชนกับผูอ่ืน ไมสรางความขัดแยงอันนํามาซ่ึงความเสียหายแก

ตนเองและผูอ่ืนเขาใจและยอมรับความมีอยูเปนอยูของตนเองและผูอ่ืน มีความรักและใหอภัยตอ

ผูอ่ืน เปนตน

ความสําเร็จของชีวิต คือการบรรลุเปาหมายที่กําหนด แตละคนอาจมีแนวคิดเกี่ยวกับ

เปาหมายของชีวิตท่ีแตกตางกัน แตสวนประกอบสําคัญยิ่งของความสําเร็จ คือการยอมรับจากสังคม

ปรัชญาและแนวคิดการดําเนินชีวิตในสังคม

ในสภาพของความเปนจริงส่ิงท่ีมีชีวิตอยูบนโลกน้ียอมมีการดําโรงอยูตามสภาวะของตัวเอง

ไมวาจะเปนสัตรเล็กสัตรใหญท่ีมองเห็นและมองไมเห็นยอมมีหนาท่ีหรือวิธีวีวิตท่ีแตกตางกันไป

โดยไดถูกธรรมชาติเปนผูกําหนดบทบาทในแตละชีวิตมาแลวทางนั้น บางชีวิตมีคุณและประโยชน

อยูในตัว บางชีวิตมีโทรษและคุณอยูในตัวข้ึนอยูสภาวะปจจัยเปนผูกําหนด ในสวนของความเปน

ชีวิตมนุษยท่ีไดช่ือวาเปนสัตรมีคุณสมบัติวิเศษจากสัตรท้ังหลาย คือสติบัญญามากกวาสัตรอ่ืนแต

มนุษยก็ไมไดช่ือวา เปนส่ิงมีชีวิตท่ีสมบูญ เพราะมนูษยในสังคมมีการดําเนินชีวิตท่ีหลากหลาย มี

ความแตกตางท้ังดานอารม สังคม สภิบัญญาและการดําเนินชีวิต ดวยเหตุนี้มนุษยในสังคมจึงมีท้ังดี

และเลว ประบน อยูบนโลกแหงความเปนจริงดวยเหตุนี้ นักเมธีปราชญจึงไดแสดงแนวปรัชญาและ

การดําเนินชีวิตไวตางๆ กัน

ความมุงหมายและคุณคาของชีวิต ตามแนวคิดของปรัชญา เมธีกลุมตางๆ 2.2.1 ทัศนะสุขนิยม 2.2.2 ทัศนะปญญานิยม 2.2.3 ทัศนะวิมุตินยิม 2.2.4 ทัศนะเอกซิสเท็นเวยีลลิสม 2.2.5 ทัศนะมนษุยนยิม

ความคิดหลัก 1. สุขนิยม เห็นวาความสุขเปนส่ิงมีคาสูงสุดเพราะความสุขเปนส่ิงท่ีมีคาในตัว

วิทยาศาสตรจะจะชวยใหมนุษยมีความสุขเพิ่มข้ึน

Page 77: What is life

44

2. ปญญานิยม เห็นวาปญญาเปนส่ิงสูงสุดเพราะถือวาจิตหรือวิญญาณ เปนส่ิงท่ี

สําคัญในความเปนมนุษยและปญญาเปนส่ิงสําคัญในวิญญาณ 3. วิมุตินิยม เห็นวาการท่ีมนุษยชวยตนเองไดเปนความสุขท่ีสุด เพราะหลุดพน

จากพันธการของความอยากในสวนเกินตางๆ เพราะทําใหคนมีวิญญาณในตัวเอง 4. เอกซิสเท็นเชียลลิสม เห็นวามนุษยสูญเสียความเปนตัวของตัวเอง มนุษยตก

เปนทาสของบุคคล สังคมและกฎระเบียบบังคับตางๆ มนุษยควรกลับมาหาตนเอง ประพฤติปฏิบัติ

และกระทําในส่ิงท่ีตนอยากประพฤติ 5. มนุษยนิยม เห็นวา มนุษยควรมองรอบๆ ขาง หาความสุขหลายประเภทหลาย

ระดับ มิฉะนั้นมนุษยจะขาดสวนใดสวนหนึ่งและเกินในบางสวน ความเปนมนุษยท่ีแทจริง

สมบูรณตองไดรับความสุขทุกๆ ประเภทและทุกๆ ระดับ 1. ทัศนะสุขนิยม (Hedonism) ทัศนะน้ีถือวาความมุงหมายของชีวิตคือความสุขสบาย

ความสุขเปนคาในตัว (Intrinsic Value) ส่ิงอ่ืนๆ เปนคานอกตัว (Extrinsic Value) ส่ิงอ่ืนๆ มีไว

เพื่อเปนวิถีไปสูความสุข นักปรัชญามีช่ือ เปนธัม (Bentham : 1748-1831) บอกวา มนุษยมีนาย 2

คน คือ นายแหงความสุข กับนายแหงความเจ็บปวด ยิ่งมนุษยหนีนายแหงความเจ็บปวดมากเทาใด

ก็แสดงถึงความมีอิทธิพลของความเจ็บปวด ยิ่งมนุษยหนีนายแหงความเจ็บปวดมากเทาใดก็แสดง

ถึงความมีอิทธิพลของความเจ็บปวดท่ีมนุษยอยากหลีกเล่ียง เพื่อแสวงหานายแหงความสุขมนุษย

จะตองรอบคอบมองการณไกล “ถาความสุขของเราข้ึนอยูกับของหายาก ของราคาแพง เราจะลง

เอยดวยความทุกข” และความสุขมีท้ังความสุขซ่ึงหนาและความสุขระยะยาว ความสุขซ่ึงหนาคือ

การแกปญหาเฉพาะหนา เชน เราหิว เราแกปญหาดวยการไปรับประทานอาหาร ซ่ึงทําใหเราหายหิว

ในม้ือนั้นแตทําอยางไรจะ ไมหิวในม้ือตอๆ ไป คือมีกินทุกม้ือ นี้เปนการแกปญหาในระยะยาว เรา

ตองมีการศึกษา มีงานทํา มีเงินไวแลกเปล่ียนปจจัยส่ี เปนตน

ชีวิตท่ีนาอยูมิใชชีวิตท่ีแสวงหาความพอใจใหกับรางกาย แตเปนชีวิตท่ีหันเขาสูสาระหรือ

ธาตุแทของตน คือชีวิตท่ีอยูกับปญญา การอยูกับปญญาคือการแสวงหาความรูและความจริง

ความรูในทัศนะ ของปญญานิยมมี 2 แบบ อยางแรกคือ ความรูท่ีชวย ใหมนุษยไดอยูสุข

สบายข้ึน ความรูแบบหนี้หนีไมพนจากรางกาย ยังติดอยูกับรางกายและถือรางกายเปนสรณะอีก

อยางหนึ่งเปนความรูบริสุทธ์ิ เปนสัจธรรมอันอมตะ ไมเกี่ยวเนื่องกับการสนองความอยากของ

รางกายความรูแบบนี้มนุษยเทานั้นท่ีรูได เปนสัจธรรมท่ีมนุษยเทานั้นจะดื่มด่ําช่ืนชมกับมันได การ

แสวงหาความจริงแบบนี้ทําใหจิตใจสงบ สัจธรรมเปนของกลางและมีจํานวนไมจํากัด การท่ีคนๆ

หนึ่งไดช่ืนชมกับความจริง มิไดเปนการขัดขวางมิใหคนอ่ืนไดโอกาสดวย ดังนั้นไมตองแกงแยง

กัน ทุกคนมีสิทธิเทากันท่ีจะบรรลุความหมายของชีวิต สําหรับชาวปญญานิยม ชีวิตท่ีมีคุณคามิได

วัดดวยความสุขทางรูปธรรมหรือรางกาย การเปนคนดีกับการมีความสุขสบายมิใชส่ิงเดียวกัน คนดี

คือคนท่ีสาระของเขาอันไดแกปญญาไดรับการเอาใจใสอยางพรอมบริบูรณ

Page 78: What is life

45

2. ทัศนะปญญานิยม ปรัชญาเมธีท่ีสําคัญในสํานักนี้ คือ โสกราติส เพลโต และอริสโตเติล

ปรัชญาเมธีกลุมนี้คือวา ธาตุแทของมนุษยมี 2 สวน คือรางกายกับวิญญาณหรือจิต ประการหลังนั้น

จริงลําคัญกวา อีกท้ังมมีคากวา ดังนั้นความมุงหมายของชีวิต จึงอยูท่ีวิญญาณไดหลุดพนจากความ

ปรารถนาของรางกายไปสูโลกของมันเอง

ขาวปญญานิยมเช่ือวาวิญญาณหรือจิต เปฯส่ิงสําคัญของมนุษย และในวิญญาณน้ัน ส่ิงสําคัญ

ทีสุดคือปญญา สําหรับชาวปญญานิยม ชีวิตที่ความมุงหมายและมีคุณคา หรือนัยหนึ่งชีวิตท่ีนาอยู

มิใชชีวิตท่ีอยูกับปญหาอยางเดียวเทานั้น การอยูกับปญญาคือการแสวงหาความรู และความจริงดวย

ความรูในทัศนะของปญญานิยมมี 2 แบบ อยางแรกคือ ความรูท่ีชวยใหมนุษยไดอยูสุข

สบายข้ึน ความรูสึกแบบนี้หนีไมพนจากรางกาย ยังติดอยูกับรางกายและ ถือรางกายเปนสรณะอีก

อยางหนึ่ง ในความบริสุทธ์ิเปนสัจธรรมอันอมตะไมเกี่ยวเนื่องกับ การสนองความอยากของรางกาย

ความรูแบบน้ี มนุษยเทานั้นท่ีรูได เปนสัจธรรมท่ีมนุษ เทานั้นจะค่ืมคํ่าช่ืนชมกับมันไดการแสวงหา

ความจริงแบบนี้ ทําใหจิตใจสงบ สัจฐรรมเปฯของกลาง และมีจํานวน ไมจํากัดการท่ีคน ๆ หนึ่งได

ช่ืนชมกับคววามจริงมิไดเปนการขัดขวาง มิใหคนอ่ืนไดโอกาสดวย ดังนั้นไมตองแกงแยงกัน ทุก

คนมีสิทธิเทากันท่ีจะบรรลุความหมายของชีวิต สําหรับชาวปญญานิยม ชีวิตท่ีมีคุณคามิไดวัดดวย

ความสุขทาง รูปธรรมหรือรางกาย การเปนคนดพกับการมี ความสุขสบายมิใชส่ิงเดียวกัน คนดีคือ

คนท่ี สาระของอันไดแกปญญาไดรับการเอาใจใส อยางพรอมบริบูรณ

3. ทัศนะวิมุตินิยม ชาววิมุตินิยมเนนเร่ืองการดับความตองการและการเอาชนะ ตนเอง

ความพอใจของมนุษยนั้น คือความพอดีระหวางส่ิงท่ีเรามีกับส่ิงท่ีเราตองการ เขียนเปน

สมการไดดังนี้

ความพอใจมีได 2 ทาง ทางแรกคือการหาทางเพ่ิมท่ีเรามี ทางหลังคือการพยายามหาส่ิงท่ี

เราตองการ ทางแรกนั้นเราตองไปแกงแยงกับผูอ่ืน เพราะส่ิงตางๆ มีจํานวนจํากัด นอกจากนั้น

วัตถุส่ิงของตางๆ ท่ีเราเปนเจาของนั้น มันไมคงท่ี มันอาจจะเส่ือมสภาพ อาจถูกขโมย หรืออาจสูญ

สลายไปก็ได ดังนั้นถาความความพอใจของเราข้ึนอยูกับวัตถุ ส่ิงของ ความสุขของเราก็อยูใน

สภาพงอนแงน เราอาจผิดหวังเม่ือใดก็ไดโดยไมรูตัว เพราะความสุขของเราผูกพันอยูกับส่ิงท่ีไม

ความพอใจ = สิ่งที่เรามี สิ่งที่เราตองการ

Page 79: What is life

46

แนนอน อันเราไมสามารถควบคุมได ควรใชวิธีหาความพอใจประเภทหลังดีกวา เพราะวาถาเรา

ลดความตองการลงก็จะเทากับเรามีส่ิงของมากข้ึน สําหรับชาววิมุตินิยมนั้นเศรษฐีมิใชคนท่ีมีมาก

แตคือคนท่ีตองการนอย ตัวอยางเชนทานมีเส้ืออยู 2 ตัวแตทานตองการ 3 ตัว ทานก็ไมมีความสุข

ถาทานไปดิ้นรนเพื่อจะหามาใหไดอีกตัวหนึ่งทานอาจผิดหวัง เพราะไมประสบความสําเร็จ ทางท่ี

แนนอนก็คือลดความตองการลงใหเหลือเพียง 2 ตัว ยิ่งถาทานลดไดเหลือตัวเดียว ทานก็จะมีของ

เหลือใชแจกผูอ่ืน วิธีการนี้แนนอนเพราะมันข้ึนอยูกับตัวทานท้ังหมด การเอาชนะผูอ่ืนเพื่อจะให

ไดมาอีกตัวหนึ่งนั้นยาก แตการลดความตองการโดยเอาชนะตัวเองงายกวาและแนนอนกวา

ชาววิมุตินิยมสอนวาถาทานชนะตนเอง ทาจะชนะโลกท้ังโลก ทานตองพยายามเห็นความ

จริงท่ีวา ไมมีอะไรในโลกท่ีอยูในเง้ือมมือของทานเทากับตัวทานเอง จงถือวาทุกส่ิงท่ีทานมีอยูนั้น

มิใชของทาน ถาทานคิดไดเชนนี้ก็เทากับทานไมมีอะไรเลย และเม่ือไมมีอะไร ทานก็จะไมมีอะไร

ม่ีจะเสีย ทานก็จะไมมีความเสียใจ ไมผิดหวัง จะมีก็แตความสงบ

4. ทัศนะเอ็กซิสเท็นเซียลยิสม

คราวนี้เรามาพิจารณาอีกทัศนะหนึ่งซ่ึงแตกตางไปมากจนทัศนะท้ังสามท่ีกลาวมาแลว

ขางตน นั้นคือสํานักเอกวิสเท็นเซียลลิสม (Existentialisn) ในท่ีนี้จะเรียกยอๆ วา เอ็กซิสฯ

ชาวเอ็กซีสฯ เห็นวามนุษยในสมัยปจจุบันไดสูญเสียตัวเองไป ในสังคมอันสลับซับซอน

เชน ปจจุบันคนเราตองแสดงหลายบท พิจารณาดูนายแดงเพื่อนบานของทาน แดงมีมารดาซ่ึงมี

ชีวิตอยูและมีภรรยาและลูกคนหนึ่ง เขาเปนครู เปนสมาชิกคุรุสภา เขาเปนนายกสมาคมศิษยเกา

โรงเรียนวิทยาศึกษา เปนสมาชิกคนหนึ่งของชมรมครูใหญ เขาเปนเพื่อนสนิทของขาวกับเขียน

นอกจากนั้นเขายังเปนนายของลูกจางท่ีบานอีก 2 คน และเปนอ่ืนๆ อีกมากมาย ชีวิตประจําวันของ

แดงนั้นคือต่ืนแตเชาพาลูกไปโรงเรียน แลวก็ไปสอนหนังสือ บางวันเขาตองไประชุมท่ีสมาคม

และชมรม บางวันเขาตองไปเยี่ยมมารดา บางวันเขาตองพาภรรยาไปซ้ือของ บางทีเขาตองแวะไป

คุยกับเขียว และขาว ฯลฯ

ส่ิงตางๆ ท่ีแดงทําไปแตละวันนั้น บางทีเขาก็ไมอยากทํานัก แตก็จําเปนตองทํา บางทีเขา

ตองทําอะไรบางอยางเพราะความเปนพอ บางทีเพราะความเปนลูก เปนเพื่อน เปนครู เปนนายก

สมาคม ฯลฯ มีบางไหมท่ีเขาทําอะไรโดยท่ีเกิดจากตัวเขาเองจริงๆ มิใชเพียงในฐานะเปนนั่นหรือ

เปนนี่

ชาวเอ็กซิสฯ ตอบ ในสังคมปจจุบันแทบจะไมมีใครเลย ท่ีไมถูกบีบรัดโดยบทบาทตางๆ

ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีทําใหสังคมมนุษยสลับซับซอนทับทวีข้ึน และ

ความสลับซับซนนี้ มันดึงใหมนุษยออกจากตัวเอง คนสมัยใหมไมมีเวลาท่ีจะมาพิจารณาดูตัวเอง

วาตัวเองรูสึกอะไรหรืออยากทําอะไร ท่ีเขาทําอะไรอยูทุกวันนั้นก็เพราะเขาตองทํา หัวโขนมันบง

Page 80: What is life

47

การเชนนั้น การกระทําท่ีเกิดจากความรูสึกจริงๆ วาอยากทํานั้นไมมีอีกตอไป คนเราเปนแตเพียง

ทางผานของส่ิงอ่ืน มิไดมีอะไรเปนของตัวเอง

ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรทําใหมนุษยสะดวกสบายข้ึน นั่นก็จริงอยู แตในขณะ

เดียวกับท่ีมันสรางความสุขให มันกลับทําลายความเปนมนุษยลงไป ขาวของเคร่ืองใชท่ีอํานวย

ความสะดวกใหแกมนุษยนั้น มันกลับเปนนายเหนือมนุษย บางทีมนุษยไดลดคาตัวเองเสมอกับ

วัตถุส่ิงของท่ีเขามี คนท่ีซ้ือรถมาใหมๆ นั้น ถาเขาเห็นเด็กมือบอนเอาตะปูขีดรถของเขา เขาจะรูสึก

เจ็บแทนเหมือนกับตนเองถูกขีด เขาไดนําตัวเขาไปเปนส่ิงเดียวกับรถเสียแลว ของอ่ืนๆ ก็

เหมือนกัน ยิ่งเขามีของมากเทาไหรเขาเองก็ยิ่งหดไปเทานั้น ยิ่งกวานั้นขาวของเคร่ืองใชเหลานี้บาง

ทีมันยังบังคับใหเขานอนดึกๆ เพราะถานอนหัวคํ่าก็จะไมมีเงินมาซ้ือของเหลานี้ เขาคิดวาเขามี

ความสุขท่ีไดส่ิงของเหลานี้ แตความจริงเขาอยูในสภาพท่ีกําลังเดินไปสูความสุขโดยท่ีไมเคยบรรลุ

ถึงมันเลย

เสรีภาพของการดําเนินชีวิต

ความสลับซับซอนของสังคมคนสมัยใหมและความกาวหนาของวิทยาศาสตรไดดึงมนุษย

ออกจากตัวเองเสียแลว เม่ือเปนเชนนี้คนเราควรทําอยางไร ชาวเอ็กซิสฯ บอกวา ก็ขอใหมนุษย

กลับมาหาตัวเอง การกลับมาสูตัวเองก็คือ การตระหนักถึงเสรีภาพอันเปนธาตุแทของมนุษย ความ

เปนอิสระท่ีจะเลือกกระทําส่ิงตางๆ นั้น เปนส่ิงท่ีแยกไมออกจากมนุษย ไมเคยมีคร้ังใดเลยท่ีจะพูด

ไดวา มนุษยไมเปนเสรี และไมมีสถานการณใดเลยท่ีจะกลาวไดวา ในสภาพอยางนั้น มนุษยถูก

บังคับ

ทหารท่ีถูกขาศึกจับไดและถูกทรมานเพื่อใหบอกความลับนั้น โดยท่ัวไปเราจะบอกวาเขา

ถูกบังคับ แตสําหรับชาวเอ็กซิสฯ สถานการณนั้นเปนเพียงขอมูล การถูกจับและการถูกขูวาจะถูก

ทรมานน้ัน เปนขอเท็จจริงหรือเปนขอมูล แตการตัดสินใจท้ังหมดวาจะทําอยางไรกับขอมูลนี้ ก็

ยังคงอยูกับทหารคนนั้น เขามีสิทธ์ิท่ีจะเลือกระหวางบอกหรือไมบอก ชาวเอ็กซิสฯ ถือวาในกรณี

นี้สถานการณ “อยูในมือ” ของทหาร เขาเปนอิสระท่ีจะตัดสินใจ และประวัติศาสตรก็ไดบันทึกไว

วาในบางกรณีทหารบางคนตัดสินใจไมบอกและถูกทรมานจนตาย

เม่ือมารดาทานปวย ทาบอกเลิกกับเพื่อนวาไปเท่ียวดวยไมได เพราะตองไปเยี่ยมแมทาน

บอกวาเหตุการณบังคับทําใหทานงดการไปเท่ียว นี้ทานก็หลอกตัวเอง การปวยของมารดานั้นเปน

ขอเท็จจริง คือเปนเพียงขอมูล ขอมูลนั้นมันบังคับใครไมได มีก็แตคนท่ีทักเองวามันบีบบังคับ ทาน

มีสิทธ์ิเลือกระหวางการไปเย่ียมแมกับการไปเท่ียว ทานตัดสินใจเลือกอยางแรก โดยแกนแทแลว

ไมมีอะไรบังคับทานได ทานตัดสินใจเลือกเปนลูกท่ีดี มากกวาจะเปนเพื่อนท่ีรักษาคําพูด แตถา

ทานพูดวาใจจริงแลวอยากไปกับเพื่อนแตไปไมได ทานโกหกตัวเอง เพราะในกรณีนี้ใจจริงของ

ทานคือการไปเยี่ยมแม

Page 81: What is life

48

ศีลธรรมกับการดําเนินชีวิต

ตรงนี้ทานอาจบอกวาท้ังๆ ท่ีทานอยากไปเท่ียว แตหนาท่ีของลูกหรือนัยหนึ่งกรอบของ

ศีลธรรมทําใหทานไปไมได ชาวเอ็กซิสฯ ก็จะตอบวา นั่นก็เทากับทานเลือกท่ีจะปฏิบัติตามกรอบ

แตทานก็ยังมีโอกาสเลือกอยูดี ทานก็อาจแยงวา “แตคนเราก็ตองมีศิลธรรม”

ตรงนี้เราจะเห็นความแตกตางระหวางชาวเอ็กซิสฯ กับคนท่ัวไป โดยท่ัวไปเราคิดวามนุษย

เราในสังคมนั้นตองมีกรอบหรือแบบแผนบางอยางเปนหลักในการปฏิบัติตามกรอบหรือแบบแผน

นี้จะเปนจารีตประเพรณีหรือกฎศีลธรรมก็แลวแต แตมันเปนส่ิงท่ีเราจะตองคํานึงถึงเม่ือเราจะทํา

อะไร ชาวเอ็กวีสฯ เห็นแยงกับเร่ืองนี้ เขาคิดวาบแบบแผนเหลานี้คือส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึน เขาเห็นวา

โลกของแบบของเพลโตที่มีอยูดั้งเดิมเปนิรันดรและเปนอิสระจากความคิดมนุษยนั้น เปนเร่ืองเพอ

ฝน มนุษยเปนผูบัญญัติศีลธรรมมิใชพระเจาตามท่ีชาวคริสตเช่ือ และเม่ือมนุษยเปนผูบัญญัติมันก็

อยูในมือของเขาท่ีจะเลือกบัญญัติอะไร

มนุษยเปนผูสรางคุณงามความดี และในการสรางนี้มิไดมีแบบอะไรที่จะคลอยตาม มนุษย

เปนอิสระ เขาควรทําในส่ิงท่ีเขารูสึกอยากทํา ไมมีเกณตายตัวใดๆ ท่ีจะมาตัดสินไดวา อยางไรผิด

อยางไรถูก อยางไรดี อยางไรช่ัว ถามนุษยทําส่ิงตาง ๆ คลอยตามแบบแผนอันใดอันหนึ่งแลว ก็

เทากับวาเขายกใหแบบแผนนั้นเปนจริง แตตัวเขาเองลดลงมาเปนเพียงภาพสะทอนของแบบนั้นเทา

นั้นเอง สําหรับชาวเอ็กซิสฯ ศีลธรรมก็เหมือนศิลปะ งานสรางสรรคของศิลปนนั้นเกิดจาก

จินตนาการอันเปนเสรี ถาศิลปนถูกบังคับใหเดินตามแบบแลว ผลงานอันมีคาทางศิลปะจะเกิดได

อยางไร ศีลธรรมก็เชนกัน ความเปนคนของคนๆ หนึ่ง ไมใชอะไรอ่ืนนอกจากการกระทําคร้ังแลว

คร้ังเลา ดวยความรูสึกเสรีตัวเราเองเปนผลผลิตของเสรีภาพเทาๆ กับท่ีภาพวาดเปนผลิตผลของ

จิตรกรผูเปนอิสระ

สรีภาพกับการดําเนินชีวิต

เสรีภาพนั้นเปนธาตุแทของตน แตมนุษยเรามักจะไมตระหนักขอนี้ เขามักจะหลอกตัวเอง

วาเขาทําอะไรนั้นเพราะเขาถูกบังคับ ทําไมจึงเปนเชนนั้น ก็เพราะตองการปดความรับผิดชอบเพ่ือ

จะไดสบายใจ ถากอนหินท่ีถูกพายุพัดกล้ิงลงจากภูเขาไปทับคนขางลางพูดได มันคงพูดวา “เสียใจ

ดวย ฉันชวยไมได เพราะถูกพายุผลักดันมา” คนท่ีทําอะไรแลวชอบอางเพราะอยางนั้นอยางนี้ก็

คลายกัน เขามักจะมีเหตุผลมากมายท่ีจะมาบอกวาท้ังหมดนั้นไมใชเขาหรอกท่ีทํา แตเพราะฝนตก

เพราะแมเจ็บ เพราะรักเพื่อน เพราะ....เขาเปนเพียงทานผาน เปนเพียงบุรุษไปรษณีย เขาไมไดทํา

อะไรเลย ดังนั้นเขาควรพนจากความรับผิดชอบ

คนท่ัวไปอยากเปนกอนหินมากกวาเปนตน นั้นเปนการลดฐานะมนุษย ท้ังนี้ก็เพราะมนุษย

ขาดความจริงใจ เรามักจะหลอกตัวเอง การหลอกตัวเองทําใหความเปนคนของเราหายไป เราจะ

กลับคืนมาสูตัวเองได ก็ตอเม่ือมีความจริงใจ เม่ืออยูในสถานการณอันใดอันหนึ่ง จงตระหนักวา

Page 82: What is life

49

สถานการณนั้นเปนเพียงขอมูล การเลือกท่ีจะทําอะไรในสถานการณนี้ข้ึนอยูกับเราท้ังหมด ถามตัว

ทานเองวามีความรูสึกอยางไร อยากทําอะไร จงซ่ือสัตยตอตนเอง อยาพยายามอางนั้นอางมี แลวก็

จงทําตามความรูสึกนั้น

นั่นเทากับทานไดบรรลุความมุงหมายของชีวิต ทานไดผลิตศิลปกรรมข้ึนมาชิ้นหนึ่งแลว

คือตัวทานเอง และเม่ือหลังจากนั้นอะไรเกิดข้ึนทานจงยอมรับ อยาโยนความรับผิดชอบใหผูอ่ืน

หรือส่ิงอ่ืน โลกเปนของทาน ท่ีจะตกแตง สรางสรรค ไมมี ระเบียบแบบแผนอันใดท่ีจะใหทาน

คลอยตามการท่ีไมมีอะไรยึดเหนี่ยวทานอาจวาเหว แตถาทานอยากเปนเสรีชน ทานก็ตองยอมรับ

สภาพอันนั้น แตมันทําใหเขากลายเปนกอนหิน ชาวเอ็กซิสฯ เห็นวามนุษยสมัยปจจุบันไดละท้ิง

ตัวเองไปท่ีอ่ืน เขาจึงเรียกรองใหมนุษยกลับมาสูตัวเอง มาสูความเปนคน และมาสูศักดิศรีของ

มนุษย แมจะเจ็บปวดหรือวาเหวก็ตองทน

ขอจบตอนน้ีดวยคํากลาวของเอ็กซิสฯ ท่ีรูจักกันแพรหลายคนหนึ่ง คือ สารท (Sartre) ดังนี้

มนุษย มิใชอะอ่ืนนอกจากผลิตผลท่ีเขาสรางข้ึนใหแกตัวเอง นั่นคือหลักขอแรกของเอ็ก

ซิสเท็นเซียลลิสม...คํากลาวนี้มิไดหมายความวาเปนอ่ืน นอกจากวา มนุษยมีศักดิ์ศรีท่ียิ่งใหญกวา

กอนหินหรือโตะ มันหมายความวามนุษยมีอยูกอน กลาวคือ เร่ิมแรกก็มีมนุษยกอน แลวเขาก็

หมุนตัวตลอดเวลา เขาไมใชตะไครน้ําหรือขยะหรือดอกไม ไมมีอะไรมีอยูกอนแบบแผนอันนี้ ไม

มีอะไรในสวรรค มนุษยจะตองเปนส่ิงท่ีเขาเองวาดใหเปน...

5. ทัศนะมนุษยนิยม

ชาวมนุษยนิยมรูสึกวาทัศนะท้ังส่ีท่ีกลาวมาแลวนั้น แตละทัศนะก็มีสวนถูกใจของแตละคน

แตเขารูสึกวาทัศนะเหลานี้มองชีวิตแคบไป ชาวเอ็กซิสฯ นั้นสอนใหเราทําทุกอยางอยางจากใจจริง

รูสึกอยางไรก็ทําอยางนั้น โดยไมตองคํานึงถึงแบบแผนกฎเกณฑใด ถาอยางนั้น ถาเรารูสึก

อยากจะฆาใครก็ไปฆาอยางนั้นหรือ ชาวเอ็กซิสฯ ตองการที่จะใหมนุษยเปนตัวของตัวเอง นั่น

เปนส่ิงท่ีสมควรแตท้ังนี้ตองมีขอบเขต ชีวิตท่ีเกิดมาโดยไมเคยชวยตัวของตัวเองเสียเลยนั้น เปน

ชีวิตท่ีนาสงสาร แตชีวิตท่ีเอาแตความรูสึกของตนเปนสวนใหญนั้น จะอยูรวมกับคนอ่ืนได

อยางไร

ชาวปญญานิยมและวิมุตินิยมนั้นมองโลกและชีวิตสุดโตงไปอีกดานหนึ่ง ชาวมนุษยนิยม

จะกลาววาชาวปญญานิยมและวิมุตินิยมเปนคนคอนขางข้ีขลาด ชอบหนี ไมสู จริงอยูถามนุษยเอา

แตหาความสุขสบายแตหาความสุขสบายทางวัตถุ ไมยอมหาอาหารใหแกจิตหรือวิญญาณ เขาก็ได

ขาดบางอยางไปอยางเนาเสียดาย มนุษยมีสติปญญาท่ีสามารถจะช่ืนชมกับความรูและความจริงซ่ึง

เปนส่ิงท่ีสัตวมีไมได ถาเราไมแสวงหามันบาง เราก็ใชชีวิตไมเต็มท่ี แตชาวปญญานิยมและวิมุติ

นิยมไปไกลเกินไปเขาสอนใหเราละวางทุกส่ิงท่ีเกี่ยวกับรางกาย ซ่ึงมันเปนไปไมได แมเปนไปไดก็

ไมควรทํา ความสุขท่ีเกิดจากการรับประทานอาหารอรอยนั้นมิไดเปนส่ิงเลวในตัวมันเอง วิธีปรุง

Page 83: What is life

50

อาหารแบบตางๆ เปนผลิตผลของอารยธรรมมนุษย เทาๆ กับท่ีศิลปะวิทยาการเปนท่ีควรทํา มิใช

เลิกอาหารอรอยแตทวาทําอยางไรตัวเราและเพื่อนมนุษยรวมโลกของเราจะไดมีโอกาสน้ันบางเปน

บางคร้ังบางคราว

ในสายตาของมนุษยนิยม สุขนิยมนั้นเขาถึงรากแทของชีวิต พื้นฐานของชีวิตคือรางกาย

ดังนั้นความสุขทางรางกายจึงยังเปนบทนําของชีวิต แตชาวสุขนิยมก็มองโลกแคบไป เขาคิดวา

ความสุขสบายและความอภิรมยในรูป รส กล่ินเสียง สัมผัส เปนส่ิงเดียวท่ีเปนแกนแทของชีวิต

นั่นเปนการเขาใจผิด มนุษยเปนผลิตผลอันยาวนานของวิวัฒนาการ แมจะถือกําเนิดมาจากสัตว

แตมนุษยก็หลุดพนจากสัตว มีโลก มีชีวิต และมีประสบการณท่ีมีลักษณะเฉพาะตัวเอง สามารถท่ี

จะรูจักและช่ืนชมกับส่ิงอ่ืนๆ นอกไปจากการสนองแรงกระตุนของรางกาย ซ่ึงสัตวก็มีเชนเดียวกับ

มนุษย

สําหรับชาวมนุษยนิยมท้ัง 4 ทัศนะดังกลาว แตละทัศนะตางก็มีสวนถูก แตเขามองชีวิตแง

เดียว สุขนิยมเห็นมนุษยมีแตรางกาย ปญญานิยม และวิมุตินิยม ใฝฝนแตความสงบของ

วิญญาณเอ็กซิสเท็นเชียลลิสมเชิดชูแตความรูสึก แตมนุษยไดมีทุกส่ิงท่ีกลาวมานี้ ดังนั้นเราไมควร

ถือวาอยางหนึ่งอยางใดสําคัญท่ีสุด ถาทานเอาแตดิ้นรนหาเงินเพื่อซ้ือความสุขสบายทานอาจตองหา

ตลอดชีวิตโดยมิไดมีเวลาท่ีจะเสพความสุขเลย ถาทานหันเขาหาแตความสงบทานก็ขาดบางอยางท่ี

มนุษยพึงมี ถาทานเอาแตความรูสึกทานก็อยูกับคนเขาไมได ดังนั้นสําหรับชาวมนุษยนิยมทางท่ีดี

ท่ีสุดก็คือการรอมชอมระหวางส่ิง 3 ส่ิง คือ ความสุข ความสงบ และความรูสึก ท้ังนี้ก็เพราะมนุษย

นั้นสลับซับซอน ไมสามารถจะทอนลงไปเพียงอยางหนึ่งอยางใดได

การดําเนินชีวิตตามหลักศาสนาคริสต

ศาสนาคริสตเปนศาสนาหน่ึงท่ีแพรหลายไปไดอยางรวดเร็ว ปจจัยสําคัญท่ีทําใหคนเกิด

ความเคารพศรัทธา เห็นไดจากลักษณะท่ีมุงส่ังสอนผูตกทุกขไดยาก ไมเนนพิธีรีตองใหคนรักกัน

เสมือนพี่นอง ชวยเหลือและรวมมือกัน โดยใชวิธีการทุกดานเชน การแพทย อาหาร การศึกษา

เงินทุนมูลนิธิเพื่อชวยเหลือผูทุกขยาก จนกลายเปนรูปแบบการสังคมสงเคราะหขามประเทศ

ในสังคมไทยก็เชนเดียวกัน การเผยแพรคริสตศาสนาเร่ิมเขามามีบทบาทในสมัยพระ

นารายณมหาราช โดยมีมิชชันนารีใหการชวยเหลือหลังจากศึกสงครามสงบลงแลว เปนตนวา การ

สรางวัดคริสต โรงเรียนสอนพระธรรม สรางโบสถ ดวยความเช่ือวามนุษยคือฉายาของพระเจา

หรือเปนสวนหนึ่งท่ีพระเจาสรางมา ไมวาชายหญิง ไมแยกผิวพรรณ เช้ือชาติถือวาเปนหนึ่ง

เดียวกัน

Page 84: What is life

51

หลัการดําเนินชีวิต

เนื่องจากศาสนาคริสตมีรากฐานและไดรับอิทธิพลมาจากศาสนายิว ซ่ึงเกิดข้ึนทามกลาง

ความเช่ือและสังคมในอาณาจากยูดาหท่ีนับถือพระเจาองคเดียวคือ พระยะโฮวาห โดยมีนักบุญผู

ฉลาดดวยปฏิภาณและปญญารอบรูเหตุการณไดดีนามวา โมเสส เปนผูนําคําสอนมาประกาศแก

ชาวโลก เรียกวา บัญญัติ 10 ประการดังนี้

1. จงนมัสการพระเจาเพียงอยางเดียว

2. อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมเหตุ

3. จงถือวันพระเจาเปนวันศักดิ์สิทธ์ิ

4. จงนับถือบิดามารดา

5. อยาฆาคน

6. อยาผิดประเวณี

7. อยาลักทรัพย

8. อยาใสความนินทา

9. อยาคิดมิชอบ

10. อยามีความโลภในส่ิงของผูอ่ืน

คําสอนดังกลาว นําไปสูความเชื่อโดยท่ัวไป

1. เช่ือและเคารพนับถือศรัทธาในพระเจาสูงอะไรอื่นอีก

2. เช่ือวาพระเจาเปนผูไมได พระองคทรงธํารงอยูและ

3. เช่ือในภาวะท่ีทรงพระบิดา คือผูสรางโลก พระบุตร คือพระผู พระจิต คือ พระผูเสด็จ

4. มนุษยทุกคนเกิดมามีบาปติดตัวและจําตองไถบาปดวยการทําความดี มนุษยสะสมบาป

เร่ือยมา กลายเปนอุปสรรคขวางกั้นใหเหินหางพระเจา กอใหเกิดความตาย สงครามอาชญากรรม

ความทุกขเดือดรอนนานัปการข้ึนในโลก ซ่ึงเปนความเลวรายท่ีสะสมอยางนากลัวอันเปนผลของ

บาปทุกชนิดซ่ึงเปนเหตุใหมนุษยเขาถึงคําสอนไดยาก

5. ชีวิตหลังความตายมีวันตัดสิน

ความเช่ือพื้นฐานในศาสนาคริสต มีรากฐานอยูท่ีเคารพในคุณคาของมนุษยแตละคน ยิ่งกวา

ทุกส่ิงทุกอยางในจักรวาลหรือท้ังโลก โดยถือวามนุษยเปนวิญญาณอมตะท่ีมีคาสูงสงจากแนวคิด

เร่ืองพระเจาในฐานบิดาแหงมวลมนุษยทําใหเห็นมนุษยแตละคนเปนพี่นองกันและมีคุณคาเทาเทียม

กัน ไมวาจะเปนคนดีหรือคนบาป คุณคาของมนุษยไมไดลดลงเพราะเขาทําผิดจึงควรเปดใจกวาง

ไมดวนประณามตัดสินคนอ่ืน การตัดสินมีแตพระเจาท่ีควรเปนผูพิพากษาไมใชมนุษย

หลักความเช่ือดังกลาวนําไปสูคําสอนสูงสุดคือ การสอนใหมนุษยมีความ (agape) ท้ังในแง

ท่ีใหความสําคัญสูงสุดแกพระเจาในมนุษย ซ่ึงหมายถึงการยอมมีพันธะผูกพันอันสูงสุดตอมนุษย

ดวยกัน การใหอภัย การมีเมตตา การสละตน การมีใจรักผูอ่ืน และการทํางานตามภารกิจท่ีมีตอ

Page 85: What is life

52

เพื่อนมนุษยอยางสุดจิตใจ วิญญาณ กําลังและปญญา ดังคํากลาวท่ีวา ไมมีความรักใดจะยิ่งใหญไป

กวาการท่ีบุคคลยอมสละชีวิตเพื่อเพื่อนของเขา

ตามหลักความเช่ือของศาสนาคริสตมุงเนนวิธีปฏิบัติตามบัญญัติของพระเจา ซ่ึงส่ิงท่ีมี

อิทธิพลสําคัญตอการดําเนินชีวิตของชาวคริสตประกอบดวย 4 ประการคือ ความรัก การเสียสละ

การใหอภัย และการบําเพ็ญประโยชนตอผูอ่ืน

ความรัก เปนคําสอนท่ีสําคัญอยางยิ่งของพระเยซู ซ่ึงพระองคทรงส่ังสอนใหมนุษยมี

ความรักอันแทจริง คือรักและไววางใจในพระเจา การตัดสินใจตองอยูบนพื้นฐานของความเช่ือใน

พระเจาผูบริสุทธ์ิและมีความหวัง นอกจากนี้ยังสอนใหรักเพื่อนบานเหมือนกับรักตนเอง รวมท้ังรัก

แมกระท่ังศัตรูของตน ซ่ึงลักษณะนี้เปนความรักท่ีสามารถรวมมนุษยกับพระเจาใหเขากันได

การเสียสละ การที่พระองคทรงยอมส้ินพระชนมบนไมกางเขนอยางทรมาน นับเปนการ

เสียสละเพ่ือแสดงความรักอันไมมีขอบเขตและส้ินสุด ชาวคริสตท่ัวโลกจึงใชไมกางเขนเปน

สัญลักษณแทนความเช่ือของตนเสนดิ่งหมายถึง ความรักพระเจาอยูเบ้ืองบน สวนเสนระดับ

หมายถึง ความรักพระเจาอยางดีท่ีสุด เปนการตอบสนองความรักท่ียิ่งใหญ เสียสละโดยไมหวัง

ผลตอบแทนและหวังใหผูอ่ืนไดดี

การใหอภัยและการบําเพ็ญประโยชนตอผูอ่ืนไดมีปรากฎชัดเจนในชีวประวัติของพระเยซู

คริสต ชวงประกาศพระศาสนาและกอนส้ินพระชนม

สวนการปฏิบัติดานพิธีกรรมทางศาสนาเรียกวา ศีลศักดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงต้ังข้ึนเพื่อเปนเคร่ืองมือ

ชวยใหคนสูความหลุดพนซ่ึงความทุกข (นิกายโปรแตสแตนมีเพียง 2 ศีลคือ ศีลลางบาปและ

ศีลมหาสนิท)

1. ศีลลางบาป เปนพิธีกรรมสําหรับผูนับถือศาสนาท้ังเด็กแรกเกิดและผูใหญ ซ่ึงบาทหลวง

เปนผูทําพิธีลางบาปเพราะมีความเช่ือวามนุษยทกคนมีบาปติดตัวมาแตกําเนิด โดยการเทน้ํามนตลง

บนศีรษะ 3 คร้ัง นิกายโปรเตสแตนตเรียกพิธีนี้วา ศีลจุม

2. ศีลกําลัง โดยพระสังฆราชเจิมน้ํามนตท่ีหนาผากของเด็กโตที่รูรับผิดชอบแลวเปนรูป

กางเขน ซ่ึงแสดงวาพระจิตเสด็จเขาสูจิตใจผูนั้นแลวถือวาเปนคริสตชนโดยสมบูรณ

3. ศีลแกวบาป การคุกเขาลงตอหนาบาทหลวงและสารภาพความผิดท่ีไดกระทําไปเพื่อ

ปลดเปล้ืองบาปของตน เปนความพอใจหรือความสบายใจหลังจากไดสารภาพบาปแลว

4. ศีลมหาสนิท การไปรวมในโบสถทุกวันอาทิตยเรียกวา มิสซาเพ่ือระลึกถึงชีวิตและคํา

สอนของพระเยซู คริสตชนตองอดอาหารกอนหนึ่งช่ัวโมงแลวจึงสวดบทสวดตางๆ จึงเขารับศีล

รวมท้ังรับขนมปง และเหลาองุนอันเปนสัญลักษณแทนพระกายและพระโลหิตของพระเยซู จาก

บาทหลวงหรือพระสงฆท่ีมารับประทานพิธีนี้สืบเนืองมาจาก การเล้ียงอาหารคํ่าม้ือสุดทายของพระ

เยซู

Page 86: What is life

53

5. ศีลเจิมคนไขหรือเจิมคร้ังสุดทาย เปนพิธีเจิมคนไขดวยน้ํามันโดยบาทหลวงตองการให

คนไขระลึกถึงพระเจา เพื่อใหมีกําลังใจท่ีจะเอาชนะการเจ็บไขไดปวย

6. ศีลสมรส การประกอบพิธีแตงงานในโบสถระหวางคูบาวสาว โดยมีบาทหลวงเปน

ผูกระทําพิธีใหและเปนสามีภรรยากันถูกตองตามกฎของศาสนา

7. ศีลบวชหรืออนุกรม การประกอบพิธีบวชเปนบาทหลวง โดยมีพระสังฆราชเปนผูทําพิธี

จุดหมายสูงสุดของศาสนาคริสต

ในการดําเนินชีวิตในโลกนี้ ชาวคริสตเช่ือกันวา เกิดมาแลวเพียงชาติเดียวหรือเพียงครั้ง

เดียว เม่ือตายไปแลว จุดหมายของชีวิตมนุษยคือ สวรรคและไดไปอยูกับพระเจาตามหลักคําสอนท่ี

ปรากฏดังนี้

1. อุดมคติ คือ จุดประสงคสูงสุดของคริสตชน ไดแก การเขาไปมีชีวิตใกลชิดกับพระเจา

บนสวรรค

2. มรรค คือ วิธีการปฏิบัติเพื่อใหเขาสูอุดมคติ ไดแก การสวดมนตภาวนาและทําตามพระ

ประสงคของพระเจา มีระเบียบวินัยในตนเอง

3. อุปกรณ คือ เคร่ืองมือท่ีชวยสงเสริมใหการปฏิบัติตามมรรคเปนไปอยางสะดวก และ

เขาถึงอุดมคติไดรวดเร็ว ไดแก การหาความรูจากบัญญัติตางๆ ในพระคัมภีร ขอความชวยเหลือจาก

นักบุญและเพ่ือนมนุษยดวยกัน

4. อุตตมภาวะ คือ การบรรลุภาวะสูงสุดตามคําสอน ไดแก การมีชีวิตอยูกับพระเจาบน

สวรรคหลังจากตายแลว

อยางไรก็ตาม การมองความจริงของชีวิตตามทัศนะของคริสตธรรมนั้น อาจจะเปนการมอง

ในประเด็นของความรักในพระเจา พันธะผูกพันท่ีมนุษยมีตอมนุษยดวยกัน การใหอภัย การมี

เมตตา การเสียสละ การมีใจรักผูอ่ืน เปนตน

การดําเนินชีวิตตามหลักศาสนาอิสลาม

ศาสนาอิสลามไดเผยแพรเม่ือเช่ือกันวา หลังจากท่ีศาสดาผูไดรับโองการแลวเร่ิมส่ังสอนคน

ใกลชิดกอนแลวจึงขยายคนผูศรัทธาขึ้นเร่ือยๆ เนื่องจากหลักคําสอนเขาถึงตรงใจของผูทุกขยาก

ท่ัวไปโดยไมเลือกสีผิวและฐานะเชน หลักคําสอนท่ีวา บุคคลทุกคนสามารถติดตอกับพระเจาได

โดยตรงดวยตัวของเขาเองไมวาคนน้ันจะยากดีมีจน ดีงามหรือช่ัวชา เลวทรามอยางไรหรือโงเขลา

เขาไมจําเปนท่ีจะใหคนอ่ืนนําคําวิงวอนของเขาเพ่ือขอความชวยเหลือหรือลุแกโทษตอพระเจาแทน

ตนเอง ชวนมุสลิมจึงไมจําเปนตองติดตอกับพระเจาในวิหารหรือสุเหราที่ไหน เพราะพระเจาสถิตย

อยูในทุกหนทุกแหง ทุกคนเทาเทียมกันตอหนาพระพักตรของพระเจา

Page 87: What is life

54

อิสลาม มาจากคําวา อัสละมะ แปลวา สันติ การยอม นอบนอมตน ยอมจํานนโดยส้ินเชิง

(ตอพระเจา) ชาวมุสลิมมุงในการปฏิบัติตามกฎแหงพระเจา โดยถือวาไมแบงแยกระหวางชีวิตทาง

ศาสนาและชีวิตทางสังคมมนุษย กลาวคือ การปฏิบัติศาสนกิจคือการปฏิบัติพันธกิจทางสังคม ดัง

บันทึกในหะดีษวา บุคคลผูทํางานหาเล้ียงครอบครัวของตนก็กําลังปฏิบัติศาสนกิจในการบูชาพระ

เจาเหมือนๆ กับการสวดมนตภาวนา ดวยหลักการท่ีไมแยกศาสนาออกจากชีวิตสังคมนี้เองนําไปสู

การไมแยกอํานาจศาสนจักรกับอาณาจักร หรืออุดมทางการเมืองระหวางสถาบันศาสนากับสถาบัน

แหงรัฐ กฎหมายแหงพระเจาจึงครอบคลุมการดําเนินชีวิตชาวมุสลิมทุกแงทุกมุม ความเช่ือตามกฎ

ของพระเจาท่ีกลาวถึงนี้ประกอบดวยหลักศรัทธา 6 ประการ

หลักศรัทธา 6 ประการ ไดแก

1. ศรัทธาในพระเจา ชาวมุสลิมตองศรัทธาตออัลเลาะห พระเจาเพียงองคเดียวไมสักการะ

พระเจาองคอ่ืนและเช่ือมั่นวา พระองคทรงสรางโลกคํ้าจุนโลกใหคงอยูช่ัวนิรันดร

2. ศรัทธาในบรรดามลาอิกะหหรือเทวทูตของพระเจา ซ่ึงเปนคนกลางทําหนาท่ีส่ือสาร

ระหวางศาสดามะหะหมัดกับพระเจา เพื่อทําหนาท่ีนําโองการจากพระเจามาถายทอดแกศาสดา

บันทึกความดีความช่ัวของมนุษย ถอดวิญญาณของมนุษยออกจากรางเวลามนุษยดวย และสัมภาษณ

ผูตาย ณ หลุมฝงศพ

3. ศรัทธาในพระคัมภีรอัล-กุรอาน อันเปนคัมภีรสุดทายท่ีพระเจาไดประทานลงมาใหแก

มนุษยชาติโดยผานทางศาสดาตามหะหมัด

4. ศรัทธาตอบรรดาศาสนทูต ตองเช่ือวาพระเจาไดทรงคัดเลือกบุคคลใหทําหนาท่ีเปนผู

ส่ือสารนําบทบัญญัติของพระองคมาส่ังสอนมวลมนุษยทุกยุคสมัยไดแก นะปและศาสนฑูตหรือรอ

ซูล

5. ศรัทธาตอวันพิพากษาโลกน้ีเปนโลกแหงการทดลอง สักวันหนึ่งจะตองถึงกาลอวสาน

พระเจาเปนผูพิพากามนุษยตามกรรมดีและกรรมช่ัวของแตละบุคคลเรียกวันพิพากษาวา วันกียา

มะห

6. ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจา เช่ือวาพระเจาไดทรงกําหนดกฎท้ังท่ีตายตัวและไม

ตายตัว ไดแก กฎท่ีเปล่ียนแปลงไมไดเชน การถือกําเนิดชาติพันธุ และกฎท่ีดําเนินไปตามเหตุผล

เชนทําดีไดดีทําช่ัวไดช่ัว

วิธีการดําเนินชีวิต

จากพ้ืนฐานความเช่ือตาง ศาสนาอิสลามกําหนดขอปฏิบัติเพื่อความสอดคลองในการ

ดําเนินชีวิต ประกอบดวยหลักปฏิบัติ 5 ประการ

หลักปฏิบัติ 5 ประการ ชาวมุสลิมตองปฏิบัติศาสนกิจพรอมท้ัง 3 ทางคือ กาย วาจา และใจ

อันถือเปนการภักดีตลอดชีวิตดังนี้

Page 88: What is life

55

1. การปฏิภาณตน โดยเปลงวาจายอมรับวา ไมมีพระเจาอ่ืนใดนอกจากอัลเลาะหและ

มะหะหมัดเปนศาสนทูตแหงอัลเลาะห การเปลงวาจาดังกลาวตองทําดวยจิตใจเส่ือมใสอยางแทจริง

2. การละหมาด คือ การนมัสการและสวดมนตภาวนาพระเจาวันละ 5 คร้ัง ไดแก เชาตรู

กอนพระอาทิตยข้ึน เท่ียงวัน บาย พระอาทิตยตก และเวลาคํ่า ชาวมุสลิมไมวาอยูสถานท่ีใดตองทํา

การละหมาดเพื่อแสดงความขอบคุณ สรรเสริญและขอขมาอัลเลาะหเปนการขัดเกลาจิตใจเอง ให

ตรงตอเวลา มีระเบียบวินัย และมีความอดทนโดยกอนลงมือทําละหมาดตองชําระรางกายให

สะอาดและทําใจใหสงบเพราะถือวาเปนการเขาเฝาพระเจา ผูกระทําตองยางเขาวัยหนุมสาว

จนกระท่ังวาระสุดทายของชีวิตยกเวนผูหญิงท่ีมีประจําเดือน เปนตน และขณะทําละหมาดตองหัน

หนาไปสูทิศทางเปนท่ีต้ังของวิหารกาบะห นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบีย

3. การถือศีลอด คือการบังคับตนใหงดดื่ม งดประพฤติไปตามอารมณฝายตํ่าท่ีตองหามใน

ชวงเวลารุงอรุณเร่ือยไปจนกระท่ังพระอาทิตยลับฟาเปนเวลาหนึ่งเดือนในเดือนรอมมาดอน ซ่ึงเปน

เดือนท่ีเกาทางจันทรคติทางศาสนาอิสลาม หลักปฏิบัติขอนี้ถือเปนหนาท่ีของชาวมุสลิมทุคนซ่ึง

ไดแก ผูบรรลุศาสนภาวะ (อายุ 15 ป) มีรางกายสมบูรณ ยกเวน คนชรา คนปวย หญิงมีครรภ หญิง

แมลูกออนท่ีใหนมทารก หญิงมีรอบเดือน คนทํางานหนัก และบุคคลท่ีอยูในวันการเดินทาง เพื่อ

ตองการทดสอบความศรัทธาท่ีมีแตพระเจา การฝกอบรมจิตใหตัดจากกิเลสและตัณหาตางๆ การทํา

จิตใจใหบริสุทธ์ิพนจากอํานาจฝายตํ่า การมีขันติอดกล้ัน เพื่อใหรูรสชาติแหงความหิวโหย เพื่อให

คนรวยนึกถึงความยากจน

4. การบริจาคทรัพย (ซะกาด) คือการทําใหบริสุทธ์ิ หมดมลทิน หมายถึง การบริจาคในทุก

รอบป เพื่อแบงปนใหผูอ่ืน โดยตระหนักวาทรัพยสินท่ีไดมาเปนของฝากจากพระเจาท่ีเสียสละแก

คนยากจนเปนการลดชองวางระหวางชนช้ันในสังคม ละความตระหนี่และลดความเห็นแกตัว ซ่ึงผู

มีสิทธิไดรับ ไดแก คนยากจน คนอนาถา หญิงหมายท่ีตองเล้ียงดูบุตรกําพรา ทาส ผูมีหนี้สิน

และผูเผยแผศาสนา

5. การประกอบพิธีอัจญ แปลวา การมุงไปสูหรือการไปเยือน หมายถึง การเดินทางไป

ประกอบศาสนกิจท่ีศาสนสถานบัยตุลเลาะห นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบีย ซ่ึงหนึ่งปมีคร้ัง

เดียวใชเวลาประมาณสองสัปดาหโดยมุสลิมท้ังชายและหญิงเดินเวียนรอบวิหารกาบะและจูบหรือ

สัมผัสหินดํากอนใหญเพื่อเตือนใหมนุษยลืมวา ผูมีเกียรติท่ีสุดนั้นคือ ผูท่ีสํารวมตนตออัลเลาะห

มิใชข้ึนอยูกับสังคม เช้ือชาติหรือวงศตระกูล รวมท้ังเปนการอบรม ใหทอดทิ้ง ความประพฤติบาง

อยางเชน การดูถูกเพื่อนมนุษยและยังปลูกฝงขันติธรรม นําความเทาเทียมกันมาสูชาวมุสลิมท่ัวไป

รวมท้ังเปนการเพิ่มศรัทธาใหม่ันคงยิ่งข้ึน พิธีนี้ไมไดบังคับใหชาวมุสลิมทุกคนตองปฏิบัติตาม

Page 89: What is life

56

จุดหมายสูงสุด

การดํารงอยูของชีวิตนั้นชาวมุสลิมมีความเช่ือวา มีชีวิตอยูในโลกน้ีเพียงคร้ังเดียวการ

ดําเนินชีวิตอาศัยหลักศรัทธา 6 ประการ และหลักปฏิบัติ 5 ประการซ่ึงเนนถึงหนาท่ี 3 ประการ คือ

หนาท่ีตอพระเจา หนาท่ีตอมนุษย และหนาท่ีตอตนเอง จะทําใหเกิดความผูกพันระหวางมนุษยกับ

พระเจาและมนุษยกับมนุษยดวยกันเองและถือวาความสําเร็จทางสังคมท่ีสูงสุดก็คือการแทนท่ีการ

ปกครองโดยสายเลือดในเผาเดียวกันดวยความผูกพันทางศาสนาหรือกลาวคือการไมแยกเช้ือชาติลา

ภาษา แตมุงความเปนพี่นองกัน มุงสูจุดหมายเดียวกันตามหลักศาสนาอิสลามคือ สวรรคหรืออยูกับ

พระเจานั่นเอง

การดําเนินชีวิตตามทัศนะของลัทธิตางๆ

1. การดําเนินชีวิตตามลัทธิเตา

แนวความคิดของลัทธิเตายิ่งใหญและสําคัญมากตอวิถีชีวิตของชาวจีน ผูกอต้ังหรือ

ศาสดา คือ เลาจื้อ จึงไดบันทึกคําสอนบางอยางท่ีไดรับการยกยองวาเปนมรดกแหงปญญาแก

มนุษยชาติรวบรวมอยูในคัมภีรท่ีเรียกวา เตาเต็กเก็ง มีลักษณะเปนขอคิดเห็นทางดานจริยธรรมใน

ระดับศีลธรรมคลายกับระบบศีลในพระพุทธศาสนา แตจะเปนปรัชญามากกวาศาสนา

คําสอนของเลาจื้อเนนถึงธรรมชาติและชีวิต เพราะ เตา แปลวา วิถีทาง หมายถึง หลักการ

ยิ่งใหญท่ีควบคุมแนวทางของธรรมชาติ เปนปฐมเหตุแหงโลกและจักรวาลบันดาลใหสรรพส่ิงท้ัง

โลกและสัตวเกิดข้ึน จึงมีฐานะเปนท้ังบรรพบุรุษและเปนมารดาของส่ิงท้ังปวงมีสภาวะเปนนิรันดร

แทรกอยู ทุกหนทุกแหง ไมสามารถมองเห็นและสัมผัสได อธิบายดวยภาษาไมได จึงมี

ความสัมพันธอยูกับความวางเปลา ในสภาพท่ีส่ิงสมบูรณ หมุนเวียนไมหยุดนิ่ง จึงมีการ

เคล่ือนไหวลักษณะเปนวงกลมเปนสัจภาวะสูงสุดทุกส่ิงทุกอยางเกิดจากเตาและจะกลับคืนสูเตา

วิธีการดําเนินชีวิต

ตามความเช่ือของเตานั้น ประกอบดวยหลักคําสอนท่ีสอดคลองถึงการดําเนินชีวิต ซ่ึง

ปรากฏไดชัดในเร่ืองตางๆ

โดยหลักคําสอนท่ีถือวา สรรพส่ิงท้ังมวลดําเนินไปตามกฎแหงธรรมชาติ ทุกส่ิงทุกอยาง

ประกอบดวยความเงียบสงบ ธรรมชาติสรางมนุษยใหดําเนินชีวิตไปตามธรรมชาติอันสงบ การ

ดํารงชีวิตของบุคคลจึงมุงหมายการทําตนใหสอดคลองกับธรรมชาติ สภาวะท่ีตองทุกขเพราะสภาพ

สังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปวิถีทางที่จะมีความสุขไดก็คือ การขจัดอารยธรรมวัฒนธรรมและ

ขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆ ท่ีสังคมสรางข้ึนใหหมดไป และดํารงชีวิตอยูอยางสันโดษและสงบ

สุขโดยผูกพันกับธรรมชาติอยางใกลชิด

Page 90: What is life

57

การดํารงชีวิตอยางกลมกลืนกับธรรมชาติ ในทางปฏิบัติก็โดยใหมนุษยรูจักตนเองบําเพ็ญ

คุณงามความดีไมฟุงเฟอ ไมมักใหญใฝสูง ทําใจใหสงบ รูจักถอมตัว ไมแขงขันกับใคร

ยิ่งกวานั้น เตาไดเนนทางธรรมมากกวาทางโลก โดยตองการใหมนุษยหันเขาหาธรรมชาติ

ใหรูจักตนเอง ไมสนใจส่ิงตางๆ การทําความดียอมทําใหความเห็นแกตัวลดนอยลง กลาวคือ มุงดาน

สติปญญาอันนําไปสูการรูจักตนเอง

นอกจากนี้ ยังเปนผลกับคานิยมเกี่ยวกับชีวิตและจิตใจของชาวจีนท่ัวไปคือทําใหมีจิตจี่

เรียบงาย ชอบความงายๆ ชอบปฏิบัติมากกวาทฤษฎี ชอบส่ิงท่ีเปนจริงไดมากกวาความเพอฝนและ

เนื่องจากภายหลังท่ีมีการตีความทางภาษาแตกตางกันไปในลักษณะคําสอนการนับถือและการ

ทํานาย กลาวคือ มีการขออํานาจดวยวิธีไสยศาสตรเพื่อใหมีอายุวัฒนะ จึงมีเทพเจาเขามาปะปนดวย

ยิ่งบูชามากเทาใดยิ่งไดรับพรตามปรารถนาและมีอายุยืนนาน มีการพิจารณาโลกและชีวิตดวยการ

ทํานาย การติดตอกับเทพเจาและวิญญาณของผูตายจะชวยบอกเหตุรายเหตุตางๆ ได คานิยมของ

ชาวจีนไมวาทางธรรมชาติหรือทางโลกใหมีความสําคัญเทากับคานิยมของวิญญาณ

ดานพิธีกรรมท่ีปรากฏคือ การบูชาบรรพบุรุษ และมักเกี่ยวของกับเวทมนต คาถา การปลูก

เสกตางๆ นักบวชทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษาเกี่ยวกับการขอฤกษยามและวันมงคลในการประกอบพิธี

ตางๆ เร่ืองของวิญญาณและเคร่ืองรางของขลังปองกันภูตฝปศาจ ซ่ึงเปนเร่ืองทางไสยศาสตร

จุดหมายสูงสุด

จุดหมายสูงสุดของชีวิตคือการเขาถึงเตา และการจะเขาถึงเตาอันเปนสภาวะท่ีแทจริงไดก็

ดวยการเปนอยูอยางงายๆ ไมเกี่ยวของหรือระคนดวยคนหมูมาก ไมสนใจในเร่ืองอ่ืนนอกจากเตา

เลาจื้อเช่ือวา ผูใดบรรลุเตาจะมีอายุยืนนาน รูทุกส่ิงทุกอยาง ถึงวันตายรางกายจะไมเนาเปอย อีกท้ัง

ยอมรับวาชีวิตท่ีดีท่ีสมบูรณคือชีวิตท่ีผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติกฎเกณฑตางๆ ของ

สังคมท่ีมนุษยสรางข้ึนมาเปนการฝนธรรมชาติและไมมีความจําเปนธรรมชาติลวนมีความสมบูรณ

อยูในตัวเองพรอมจะใหคุณแกผูท่ีทําความดี และในขณะเดียวกันก็พรอมจะลงโทษแกผูท่ีทําความ

ช่ัว

2. การดําเนินชีวิตตามลัทธิเชน

ลัทธิเชน ไดปรากฎหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีเช่ือกันวาเกาแกมากอนพุทธกาล

ในอินเดียและคําสอนทุอยางท่ีมีอยูเปนสวนหน่ึงของศาสดาตรีธังกร ซ่ึงพระมหาวีระเปนองค

สุดทายเปนคําบัญญัติหรือจารึกเกี่ยวกับความประพฤติปฏิบัติของท้ังนักพรตและคฤหัสถผูครอง

เรือนรวมทั้งชาดกในศาสนา

ตามหลักคําสอนเช่ือวา สภาพความเปนจริงท่ีเท่ียงแทและมีอยู เปนนิรันดร

ประกอบดวย 2 ลักษณะคือ ชีวะ หมายถึง วิญญาณอันมิสัมปชัญญะ มีอยูท้ังส่ิงมีชีวิตและไมมีชีวิต

เชน ในคน สัตว ตนไม น้ํา ไฟ และมีท้ังวิญญาณของผูหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดแลว และผู

Page 91: What is life

58

ท่ียังไมหลุดพน อีกลักษณะหนึ่งคือ อชีวะหรือสสาร ปราศจากสัมปชัญญะ ส่ิงท่ีเขามาสัมผัสกับ

วิญญาณทําใหเกิดเหตุและผลตอเนื่องกันในเร่ืองของการเกิดและการตาย จึงตองกําจัดไมให

วิญญาณรับกรรมใหมเขามาอีก

แนวคิดตามหลักธรรมของศาสนาเชน อยูบนความเช่ือพื้นฐานวา ชีวิตท้ังหลายเปน

ทุกข ไดแก การเกิด การเจ็บ การตาย หรือการปรารถนาส่ิงใดแลว ไมไดส่ิงนั้น ตนเหตุสําคัญอยูท่ี

ความปรารถนามากมาย ทําใหเปนทุกข ดังนั้นวิธีแกปญหาจึงตองไมปรารถนามาก นอกจากนี้หลัก

คําสอนยังไดเนนถึง หลักอสิงหา ไมกอความรุนแรงหรือทํารายผูอ่ืนท้ังกาย วาจาและใจ ซ่ึงถือวา

ความรุนแรงกวาการกระทํา แนวคิดนี้ทําใหเกิดการเคารพ ความเห็นหรือทัศนะที่ไมตรงกับผูอ่ืน

อันเปนแนวทางสนับสนุนในเร่ืองความเสมอภาค

วิถีทางดําเนินชีวิต

ภายหลังท่ีส้ินศาสนาองคสุดทายไปแลว สาวกของพระมหาวีระไดแยกเปน 2

นิกาย ดวยวิธีปฏิบัติท่ีแตกตางกัน แตก็ยังคงหลักสําคัญเดิมคือ

1. นิกายทิคัมพร ไดแก นักบวชท่ีเปลือยกาย ถือปฏิบัติอยางเครงครัด ยึดการ

ทรมานรางกายของตนเองใหไดรับความทุกขยากลําบาก โดยไมมีเคร่ืองปกปดรางกาย เพราะเช่ือวา

เปนเครื่องกังวลใจกับบริขารท้ังปวง เปนตนวา ไมกินน้ําและอาหารใดๆ ในเวลาปฏิบัติไมมีสมบัติ

ติดตัวแมแตผานุง และปฏิเสธสตรีวาไมสามารถหลุดพนหรือบรรลุคุณธรรมได

2. นิกายเศวตคัมพร ไดแก นิกายนุงขาวหมขาวเพ่ือปกปดกาย เพราะพิจารณาวา

คนยังมีความละอายในการสัญจร การปฏิบัติอยูในทางสายกลาง

สวนการปฏิบัติทางศาสนาของคฤหัสถ มีความเขมงวดนอยกวานักบวชเชนใน

เร่ืองการกําหนดหามบริโภคเนื้อ เหลา น้ําผ้ึง ผลไม รากไม และหามบริโภคในเวลากลางคืนการถือ

คําสัตยและหลักธรรมสําคัญท่ีเรียกวา อนุพรต 5 ประการคือ

(1) อหิงสา ไมเบียดเบียนทําลายชีวิต หรือกอความรุนแรง

(2) นิกายเศวตคัมพร ไดแก นิกายนุงขาวหมขาวเพ่ือปกปดกาย เพราะพิจารณาวา

ตนยังมีความละอายในการสัญจร การปฏิบัติอยูในสายกลาง

สวนการปฏิบัติทางศาสนาของคฤหัสถ มีความเขมงวดนอยกวานักบวชเชนใน

เร่ืองการกําหนดหามบริโภคเนื้อ เหลา น้ําผ้ึง ผลไม รากไม และหามบริโภคในเวลากลางคืน การถือ

คําสัตยและหลักธรรมสําคัญท่ีเรียกวา อนุพรต 5 ประการคือ

(1) อหิงสา ไมเบียดเบียนทําลายชีวิต หรือกอความรุนแรง

(2) สัตยะ ไมพูดเท็จหรือฉอฉล

(3) อัสเตยะ ไมลักขโมย

(4) พรหมจริยะ ไมประพฤติผิดในกามและพอใจในส่ิงท่ีมีอยู

Page 92: What is life

59

(5) อปริครหะ ไมโลภ การมีทรัพยสินพอประมาณ

จากหลักธรรมที่เนนเร่ืองอหิงสา สงผลตอวิถีการดําเนินชีวิตของชาวบาน คือ ทําให

หลีกเล่ียงการประกอบอาชีพทางดานเกษตรกรรม การจําหนายหรือการผลิตอาวุธ และวัตถุมีพิษ

สวนใหญจะประกอบอาชีพเกี่ยวกับการคาขาย นอกจากนี้ความเช่ือเร่ืองความเสมอภาคยังทําให

ชาวบานรวมรับประทานอาหารกับทุกคนได รวมถึงการกําเนิดพรตก็เปดโอกาสแกทุกคนโดยไม

เลือกชนช้ันและเช้ือชาติ

จุดหมายสูงสุด

ศาสนาเชนถือวา สาเหตุสําคัญท่ีเปนอุปสรรคของการสูจุดหมายสูงสุดของชีวิต คือ กิเลส

ตัณหา ไดแก โลภะ โทสะ โมหะ ซ่ึงมาจากอวิชชาหรือความไมรูในธรรมชาติแทจริงของชีวะและ

ส่ิงตางๆ ท่ีเกี่ยวของ จึงมุงท่ีจะเอาชนะหรือทําลายอวิชชาใหหมดส้ินสามารถตัดกิเลสตัณหาของ

ตนเองได ปฏิเสธในพระเจาโดยเช่ือวา ไมมีเทพเจาองคใดมีความสําคัญในโลกมนุษยและทําลาย

โลกนี้ ไมมีการสวดออนวอนรูปเคารพหรือทําพิธีบูชายันตใดๆ บุคคล ผูประกอบคุณงามความดี

และมีศีลธรรมจึงมีศีลธรรมจึงจะหลุดพนจากความทุกขและพิชิตบาปกรรมท้ังปวงแนวคิดของ

ศาสนาเชน เนนจุดหมายคือ การทําใหธรรมชาติของมนุษยมีความสมบูรณสูความหลุดพนหรือ

ความเปนอิสระของวิญญาณเรียกวา โมกษะ หมายถึงการทําใหวิญญาณหลุดพนจากอัตตาและความ

ไมบริสุทธ์ิท้ังปวง ไมกลับมาเกิดอีก ซ่ึงบงช้ีใหเห็นวาวิญญาณและอัตตาเปนคนละสวนกัน ความ

พยายามแยกวิญญาณออกจากอัตตามีวิธีตางๆ กัน เชน การบําเพ็ญทุกข กิริยาและโยคะ ซ่ึงทําใหเกิด

ความรูสึกถึงสภาพท่ีเปนจริง หยุดการประพฤติช่ัวและประพฤติชอบ ซ่ึงนําไปสูความหลุดพนกรรม

จึงมีคุณคาเทากับการปฏิบัติตามหลักรัตนตรัย 3 ประการ คือ

1. สัมมาศรัทธา ไดแก ความเห็นชอบ ตามทัศนะของศาสนาเชน มีความศรัทธาเช่ือม่ันตอ

ศาสดาผูหลุดพนแลว อันจะนําไปสูความสันโดษ อุเบกขาและปฏิบัติตามคําสอน

2. สัมมาญาณ ไดแก ความรูชอบตามในคัมภีร อันเปนหลักธรรมเกี่ยวกับความจริงท่ี

ศาสดาส่ังสอนไว

3. สัมมาจริต ไดแก ความประพฤติชอบตามกฎปฏิบัติของศาสนเชนท้ังคฤหัสถและ

นักบวช

3. การดําเนินชีวิตตามลัทธิชินโต

ศาสนชินโตมาจากความเช่ือดั้งเดิมอันเปนรากฐานทางจิตใจท่ีเกิดข้ึนพรอมกับประเทศ

ญ่ีปุน ชนชาติญ่ีปุนศรัทธาในเทพเจา และมีการบูชากันตามขนบธรรมเนียมเปนระเบียบแบบแผน

สืบกันมาชานาน ศาสนาชินโดจึงไมมีศาสดาและเปนศาสนาพ้ืนเมืองเดิมโดยถือวามนุษยท่ีทําความ

ดีจนเขาถึงความเปนอยูควรบูชากราบไหวในฐานะเปนเทพเจา ผูทรงคุณธรรมความดี มนุษยทําตน

เปนคนดีมีใจสูงแลวยอมเขาถึงฐานะแหงเทพเจาไดเชนกัน นอกจากนั้นยังบูชาธรรมชาติ

Page 93: What is life

60

บรรพบุรุษ วีรชนและจักรพรรดิ ซ่ึงทําใหชาวญ่ีปุนเปนคนรักแผนดินรักเผาพันธุ ภักดีตอพระ

จักรพรรดิและเปนลัทธิชาตินิยมสูง สัญลักษณท่ีมีความหมายในดานคุณธรรมและถือเปนสมบัติอัน

ศักดิ์สิทธ์ิ ถายทอดสืบตอมา ไดแก กระจกเปนเคร่ืองหมายแหงปญญา ดาบเปนเคร่ืองหมายแหง

ความกลาหาญและรัตนมณีเปนเคร่ืองหมายแหงการบําเพ็ญประโยชน

วิถีการดําเนินชีวิต

คําสอนบางประการที่ใหเคารพสักการะบรรพบุรุษ กตัญูกตเวทีตอผูวายชนมบูชาปฏิบัติ

ตอผูสูงอายุกวา จงรักภักดีตอพระจักรพรรดิ ครูและอาจารยคือ เทพบิตร จักรวรรดิ มีสิทธ์ิทุกอยางท่ี

บิดามารดามีตอบุตร วิญญาณเปนของไมตาย การตายเปนการเปล่ียนเคร่ืองแตงตัวใหมช่ัวประเดี๋ยว

เดียว เม่ือผูท่ีเคารพถูกดูหม่ิน ใหแกแคนให ไมควรอยูรวมฟากับบุคคลท่ีดูหม่ินผูท่ีตนสักการะ เม่ือ

แกแคนไมไดใหทําฮาราคีรีหรือควานทองเสียดีกวา ความกลาหาญและไมกลัวตายคือเสบียงใน

สงคราม สวนไดเสียของพระจักรพรรดิและประเทศชาติคือ สวนท่ีทุกคนตองรับผิดชอบ ส่ิงเหลานี้

ไดเคยยึดปฏิบัติมาอยางเครงครัด

สําหรับปจจุบัน พิธีกรรมท่ีสําคัญคือ การไหวเจาโดยผูบูชาอาบน้ํากอนไปศาลเจาแตงตัวให

สะอาด คร้ังเม่ือถึงก็ตองลางมือลางหนา ลางปากใหสะอาดอีกคร้ัง เพราะถือวาผูท่ีจะเขาใกลท่ีบูชา

ตองชําระกาย ซ่ึงเปนสวนภายนอกใหสะดวกกอนแลวเขาไปโคงคํานับตรงหนาศาลเจาหลังตา

ปรบมือเรียกดวงวิญญาณมารับกราบไหว หรือยืนสมาธินิ่งอยูครูหนึ่งแลวก็กลับออกไป นอกนั้น

สุดแตนักบวชหรือผูเฝาศาลแนะนําใหทํา

จุดหมายสูงสุด

หลักปฏิบัติเพื่อความดีสูงสุดในศาสนาชินโด คือ การปฏิบัติจริยธรรมทางใจดังตอไปนี้

1. ใหมีความคิดเบิกบาน

2. ใหมีความคิดบริสุทธ์ิสะอาด

3. ใหมีความคิดถูกตอง

4. ใหมีความคิดเท่ียงตรง

การปฏิบัติใหดวงใจมีสภาพดังกลาวสามารถพามนุษยไปสูความเปนเทพเจาสมกับความ

เปนเผาพันธุแหงสวรรคได

4. การดําเนินชีวิตตามลัทธิสิกข

ลัทธินี้สืบเนื่องมาจากการตอสูกับอํานาจการกดข่ีของคนในศาสนาอ่ืนและตองการรวม

ศาสนาเพื่อขจัดขัดแยงตางๆ แตไมสําเร็จ กลับมาเปนศาสนาใหมของผูปกครอง สัจธรรมอยางกลา

หาญ เสียสละ และนักรบ เม่ือป พ.ศ. 2012 โดยปฐมศาสดาช่ือ นานักเทพ

Page 94: What is life

61

ลักษณะของศาสนานี้เปนเอกเทวนิยม เช่ือวาพระเจาผูสรางโลกมีเพียงองคเดียวปฏิเสะคํา

สอนบางประการของศาสนาฮินดูและอิสลาม ตอตานความเช่ืองมงาย การแบงชนช้ันการประกอบ

พิธีกรรม บูชายัณ และยกยองบานะของสตรีเทพ นอกจากนี้ยังมองชีวิตวา มิไดมีแตทุกข ชีวิตยอม

มีความหวังเสมอและมีโอกาสพบความสําเร็จได ถามีความพยายามและทําความดีโดยไมมีการหยุด

ซ่ึงตางจากศาสนาพุทธท่ีมองชีวิตเปนทุกข ลัทธินี้จึงจะละท้ิงความเช่ือเกาๆ เชน ในเร่ืองของ

เคร่ืองรางของขลัง พิธีกรรมท่ีปราศจากเหตุผล การกราบไหวบูชาแตส่ิงไรสาระและยังมองวา ชาว

สิกขทุกคนตองทํางานเพ่ือพัฒนาตัวเองและสังคม ตามหลักในคัมภีร คําสอนจึงไมตองมีพระ มี

นักบวชในศาสนา

หลักคําสอนท่ีสําคัญมี 4 ประการ ดังนี้

1. ความสามัคคี มาจากคร้ังท่ีพยายามสมานสามัคคีชาวฮินดูและชาวมุสลิมมิใหยึดเอา

ศาสนาเปนเหตุใหเกิดความแตกแยกในอินเดีย ไดประยุกตรวมคําสอนเขาดวยกัน

2. ความเสมอภาคเนนลัทธิเทาเทียมกันท้ังชายและหญิงไมจํากัดชาติช้ัน วรรณะ ศาสนา

3. ความศรัทธา สอนใหทุกคนเช่ือในพระเจา เร่ืองการสรางโลกและการเกิดใหมการ

เขาถึงความจริงของชีวิต และหนทางนําไปสูการหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดเพื่อใหอยูกับพระ

เจา

4. ความรัก สอนใหรวมประพฤติปฏิบัติตามหลัก

วิถีการดําเนินชีวิต

วิธีปฏิบัติของชาวสิกขคือ ทุกคนจะต่ืนเขา อาบน้ําแลวเขาสมาชิก รําลึกถึงพระเจาและสวด

มนตภายในโบสถ หลังจากอานคัมภีรแลวจะมีการแจกขนมใหผูเขาประกอบพิธีทุกคร้ัง

สําหรับพิธีกรรมมีการปฏิบัติท่ีสําคัญ 2 ประการดังนี้

1. สังคัต เปนพิธีชุมนุมหมูชาวสิกขในเวลาเย็นและสวดมนตสรรเสริญพระเจารวมกัน

2. อมฤตสังสการ เปนพิธีรับคนเขาในศาสนาโดยน่ังเสมอหนากันภายในโบสถวิหาร

เดียวกัน โดยไมคํานึงถึงชาติ ช้ัน วรรณะ เพื่อหยิบอาหารใสปากใหแกกัน

การเปนสิกขไดสมบูรณตองผานพิธีปาหลุ ซ่ึงเปนพิธีลางบาป รับเอาสัญลักษณ 5 ประการ

ซ่ึงเห็นไดวาเกี่ยวกับการรบท้ังส้ินมาเปนเครื่องเตือนใจใหเขมแข็ง และเปนผลดีในการรวมกันเปน

กลุมกอน

1. เกศา คือ การไวผม หนวดเครายาวไมตัด

2. กังฆา มีหวีสับผมเสมอ

3. กัจฉา นุงกางเกงในประจํา

4. กระ กําไลเหล็กสวมขอมูล

5. กริปาน ดาบประจําตัว

Page 95: What is life

62

ปจจุบันชาวสิกขโดยสวนรวมไมมีปญหาเรื่องการถูกเบียดเบียนเชนในสมัยกอน จึงมีสิทธิ

เสรีภาพเทาเทียมชาวอินเดียท่ัวไป และมีลักษณะเดนในการประกอบอาชีพทางเกษตรกร ทหาร

นักกีฬา รวมท้ังการคาและกิจกรรมตางๆโดยเฉพาะชาวสิกขในประเทศไทยจะมีบทบาทในองคทาง

สังคมตางๆ อยางมากมาย

จุดหมุงหมาย

การที่บุคคลจะกาวไปสูสุอันนิรันดรหรือนิรวาณ มีอยู 5 ข้ันตอนดังนี้ 1)ธรรมขัณฑ

อาณาจักรแหงการกระทําคือ กรรมดีและกรรมช่ัว ดวยการทําแตแรรมดี 2)คิอานขัณฑหรืออ

ญาณขัณฑ อาณาจักรแหงปญญา 3) สรมขัณฑ อาราจักรแหงมหาสมบัติ 4) กรรมขัณฑ อาณาจักร

แหงกําลัง หมายถึง กรลังทางจิตไมหวาดกลัว 5) สัจขัณฑ อาณาจักรแหงสัจจะ คือ ความเปน

เอกภาพกับพระเจา

สรูป

อริสโตเติล โดกลาววามนุษยเปนสัตรสังคม นั้นหมายความวามนุษยเปนสวนหนึ่งของส่ิงท่ี

มีชีวิตบนโลกนี้ ท่ีมีความเปนอยูตามครรลองของชีวิตมนุษย มีการกินอาหาร มีการสืบพันธและการ

ตายในท่ีสุด เชนเดียวกับส่ิงท่ีมีชีวิตอ่ืนๆ และรวมท้ังมนุษยในโลกน้ี ชีวิตมนุษยยอมมีคุณและ

ประโยชนหรือโทษอันเปนความเปนหรือความชั่วในมนุษย หรือชีวิตนั้นๆ มนุษยในสังคมบนโลก

นี้แมจะถูกสรางมาดวยคุณสมบัติพิเศษท่ีแตกตางจากสัตรท้ังหลายคือสติปญญาท่ีสามารตพัฒนาไม

มีท่ีส่ิงสุด มนุษยจึงไดช่ือเปนสัตรประเสริฐ แตวาในความเปนจริงของมนุษยปนโลกนี้มิใชเปนผู

สมบูรณท้ังหมด ท้ังนี้ดวยความแตกตางทางช้ือชาติ อาสา วัฒนาธรรม และอ่ืนๆ อันเปนวิธีชีวิตของ

ส่ิงท่ีมีชีวิตจึงทําใหมนุษยมีความแตกตางกัน ดวยเหตุนี้มนุษยในสังคมจึงไมใชเปนผูสมบูรณมีดีมี

เลวอยูบนโลกแหงความเปนจริง

การดําเนินชีวิตดวยหลักคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อตนเองและสังคม

มนุษยคือ สัตวท่ีมีชีวิตท่ีไดรับการพัฒนาการหลาย ๆ ดานเชนเดียวกับส่ิงท่ีมีชีวิต

ประเภทอ่ืน ตางกันเพียงแตมนุษยมีองคประกอบหลายอยางท่ีลักษณะพิเศษแตกตางลักษณะของ

ชีวิตประเภทอ่ืน ๆ คือ ระบบกลไกท่ีมีความสลับซับซอนอยูในคุณสมบัติพิเศษของมนุษยอันไดแก

ปญญา อันตัวพัฒนามนุษยไปอุดมการณของชีวิตในระดับตํ่าจนถึงกระท่ังระดับสูงสุดชีวิตทุกชีวิต

Page 96: What is life

63

เกิดมา ยอมมีเปาหมายเดียวกัน คือการกําเนิดชีวิตอยางมีความสุข ความสุขมี 2 ระดับ คือ สุข

ทางกายอันไดแก ความสมบูรณดวยปจจัย เรียกอยางหนึ่งคือ สุขแบบทางโลกคือ โลกิยสุข

ความสุขประเภทที่ 2 คือ สุขทางใจ คือสุขภายในดานจิตใจ อันไดแก ปรปตถสุข การพัฒนา

มนุษย หมายถึงการพัฒนาระบบของการกระทําความดี เรียกอีกอยางหน่ึงวา คุณภาพจริยธรรม

และศีลธรรมอันเปนสมบัติภายใน การเวนช่ัวทําดีเปนหลักการสําคัญพึ่งศาสนาทุก ๆ ศาสนา ให

มนุษยชาติปฏิบัติเพื่อการปฏิบัติและเปาหมายสูงสุดของชีวิตคือ ความสุขเปนส่ิงท่ีดีสําหรับชีวิต

ซ่ึงเปรียบเสมือนเปาหมายของชีวิตท่ีมนุษยทุกคนตองมี ดังนั้นอุดมคติของชีวิตจึงเปนส่ิงท่ีตองมีจุด

จบในตัวเองเนื่องจากเปนส่ิงท่ีดีท่ีสุดสําหรับชีวิต นั่นหมายถึงอุดมคติของชีวิตตองมีคุณคาในตัวเอง

ในทางพระพุทธศาสนาไดมีหลักธรรมคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนหลักทฤษฎี

และหลักปฏิบัติเปนจํานวนมาก แมในความเปนจริงชีวิตมนุษยทุกชีวิตยอมมีความแตกตาง แตใน

ความแตกตางนั้น มนุษยทุกคนก็คงยังตองแสวงหาความสุขอันเปนแกนแทของชีวิตดวยการดําเนิน

ชิวิตอยางตอเนื่องดวยความรูสึกหนาวรอนตามแตครรลองของชีวิตเหลานั้น ฉะนั้นในทาง

พระพุทธศาสนาจึงไดวางทฤษฎีสัจจะธรรม การดําเนินชีวิตใหเปนไปตามเปาหมาย สูอุดมคติของ

ชีวิตอยางแทจริง

คุณธรรมและจริยธรรมในการบําเพ็ญประโยชน

เปนท่ียอมรับวาในยุคปจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจเกษตรกรรมมาเปนอุตสาหกรรมดวย

เทคโนโลยีก็ควรเปล่ียนแปลงคร้ังใหม ของสังคมโลก การแขงขันทางเศรษฐกิจในโลกท่ีจะเจริญ

แลวหรือท่ีพัฒนาไปกอนแลว ยอมมีผลกระทบตอการพัฒนาเศรษฐกิจ ตอมาประเทศท่ีดอยพัฒนา

หรือกําลังท่ีจะพัฒนา โอกาสแหงการเสียเปรียบในเชิงแลกเปล่ียนยอมมีผลมากหากประเทศท่ี

พัฒนาแลวไมตกอยูในกลุมของลัทธินิยมอยางแมจริง สังคมก็พอเยียวยาได แตมนุษยพื้นฐานแหง

การแขงขันหาเปนเชนนั้นลัทธิ ทุนนิยมมีบทบาทอยางสูงตอการไดเปรียบหากไมนําหลัก

จรรยาบรรณ คุณธรรม หรือหลักศาสนามาชวยสังคมก็จะแยกสวนการพัฒนา ซ่ึงจะเปนการ

พัฒนาท่ีไมยั่งยืน หลักธรรมแมบททางพระพุทธศาสนเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ

1. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน 3

ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน หมายถึง ประโยชนในปจจุบันความสุขในปจจุบันท่ีเห็นทันตา

ในชาตินี้ เปนหลักธรรมท่ีอํานวยประโยชนสุขข้ันตน หรือเรียกวา โลกิยสุข

1.1 อุฏฐานสัมปทา หมายถึง ความถึงพรอมดวยความขยันหม่ันเพียร ตอสูปญหา

อุปสรรค ไมทอแมในการศึกษาเลาเรียนการทํามาหาเล้ียงชีวิต ในการปฏิบัติหนาท่ีตาง ๆ หม่ัน

ฝกฝนเพื่อใหเกิดความชํานาญในหนาท่ีของตน

Page 97: What is life

64

1.2 อารักขสัมปทา หมายถึง ความถึงพรอมดวยการรักษา รูรักษา รูคุณคาของส่ิงของท่ีหา

มาได รูจักเก็บดูแลรักษาทรัพยสินส่ิงของเหลานั้นใหคงอยู ใชอยางเปนประโยชนและ คุมคาไมใช

อยางท้ิง ๆ ขวาง ๆ

1.3 กัลยาณมิตตตา หมายถึง ความมีเพื่อเปนคนดีไมคลคนช่ัว รูจักเลือกคบเพ่ือนท่ีไม

ชักชวนกันไปในทางท่ีเส่ือมเสีย รวมถึงการรูจักเลือกคูครอง

1.4 สมชีวิตา หมายถึง ความเล้ียงชีวิตตามสมควรแกกําลังทรัพยท่ีหามาได รูจักการใช

สอยทรัพยสมบัติใหพอเหมาะพอดีกินอยูอยางพอเพียง ไมสุรุยสุรายเกินไป ไมฝดเคืองจนดูเปนคน

ตระหนี่

ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน เรียกกันอีกอยางวา หัวใจเศรษฐีเพราะทําใหผูท่ีปฏิบัติตาม

สามารถกอรางสรางตัวจนมีฐานะท่ีม่ันคงได

คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อการดํารงชีวิตดวยความสุขของคฤหัสถ 4

สุขของคฤหัสถ หมายถึง ความสบายกาย สบายใจไมมีความวิตกทุกขรอนในการ

ดําเนินชีวิต ซ่ึงความสุขสบายเชนนี้เปนผลพวงมาจาการปฏิบัติตามหลักของทิฏฐธัมมิกัตถ

ประโยชนอํานวยใหไดรับความสุข 4 ชนิด ท่ีเห็นผลทันตา คือ

1 อัตถิสุข หมายถึง สุขเกิดจากการมีทรัพย มีคําท่ีคนมักกลาวกันวา มีเงินเขาก็นับเปน

นอง มีทองเขาก็นับเปนพี่คํานี้แสดงใหเห็นถึงอํานาจของทรัพยหรือท่ีเรียกกันจนชินวา เงิน เพราะ

มีเงินตัวเดียวทําอะไรที่วายากก็จะงายไปหมด ดังนั้นเม่ือตองการสุข ส่ิงแรกท่ีตองทําคือ ทํางาน

สรางฐานะเพื่อไดมาซ่ึงสมบัติพัสถานอันจะบันดาลเปนคามสุข

2 โภคสุข หมายถึง สุขเกิดจากการใชจายทรัพย เม่ือมีทรัพยสินเงินทองก็ตองรูจักใช

จายบํารุงตนใหสะดวกสบายตามควรแกอัตภาพ ส่ิงใดท่ีพอจะซ้ือจะจายเพื่อความสบายของตน

และคนรอบขางก็ตองจับจายใชสอย ขอควรระวังอยางเสียเกินได อยาใชเกินมี เพราะเดี๋ยวจะ

เปล่ียนจากสุขเปนทุกขภายหลัง

3 อนณสุข หมายถึง สุขเกิดจากการไมมีหนี้ คนเปนหนี้ไมเคยมีความสุข พระพุทธเจา

ยังตรัสวา การเปนหนี้เปนทุกขในโลก ฉะนั้น อยาพยายามกอหนี้ยืมสินผูอ่ืน นอกจากนั้นเงินทอง

ยังเปนเหมือนดาบ 2 คม ทําใหคนเปนมิตรกลายเปนศัตรูกันได คนจึงมักกลาวกันวา เงินเปนมิตร

เม่ือกู เปนศัตรูเม่ือทวง

4 อนวัชชสุข หมายถึง สุขเกิดจากการประกอบอาชีพสุจริต การทํามาหาเล้ียงชีพ ถาจะ

ใหไดผลท่ีเปนความสุขจริงตองใหไดมาดวยอาชีพสุจริต ไมสรางความเดือดเนื้อรอนใจใหท้ังแก

ตนและผู อ่ืน แตถาไปของแวะกับอาชีพท่ีทุจริตมันจะเปนบวงท่ีคลองเอาความทุกขมาให

นอกจากนั้นการเล้ียงชีวิตดวยอาชีพท่ีทุจริต ไมเคยสรางความสุขใหไดแมเพียงหลับตา

Page 98: What is life

65

ความสุข 4 ประการนี้ คือ การดํารงชีวิตของคฤหัสถชน การใหมีเกิดข้ึนในครอบครัว

เพราะจะทําใหชีวิตมีความสุข แบบคฤหัสถท่ียั่งยืนและอยางแทจริง

คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความพอดีพอประมาณ

สันโดษ

ความสันโดษนี้ ในภาษาบาลีเปน สนฺตฏฐี ท่ีใช สนฺโตโส ก็มีบางแตนอยแหง แปลได

ดังนี ้

1 ความยินดีพรอม คือความพอใจ

2 ความยินดีในของท่ีมีอยู

3 ความยินดีในของๆ ตน

4 ความยินดีโดยชอบธรรม

รวมความวา ความยินดีในของท่ีตนมีซ่ึงไดมาโดยชอบธรรม หรือความพอใจในส่ิงท่ีมีอยู

เทาท่ีเปนของตน ซ่ึงตนไดมา และหามาไดโดยชอบธรรม สามารถหาความสุขไดจากส่ิงท่ีเปน

สมบัติของคนน้ันๆ สันโดษมีท่ีมาหลายแหง เชน มงคลสูตรและธรรมบท เปนตน

พระอรรถกถาจารย ไดแบงสันโดษออกเปน 3 คือ

1. ยถาลาภสันโดษ คือความยินดีตามท่ีได ในเม่ือของท่ีไดมานั้น ไดมาโดยวิธีท่ีถูกตอง

2. ยถาพลสันโดษ คือยินดีตามกําลังความสามารถที่จะหามาได ไมทําเกินกําลัง

3. ยถาสารุปปสันโดษ ยินดตีามสมควรแกภาวะและหนาท่ีของตน

วัตถุประสงคของสันโดษมีอยางไรบางแกวา วัตถุประสงคของสันโดษอาจแบงได 2

ระดับ คือ

1. วัตถุประสงคท่ัวไป การท่ีตองปฏิบัติสันโดษกเ็พื่อเปนสวนประกอบชวยเสริมและ

สนับสนุนการปฏิบัติตามสายกลางคือ อริยมรรคมีองค 8 ซ่ึงมีจุดหมายสูงสุดคือ วิมุตติ ไดแกความ

หลุดพน หรืออิสรภาพโดยสมบูรณ

2. วัตถุประสงคเฉพาะ การปฏิบัติสันโดษก็เพื่อ ใหจิตปลอดโปรง ม่ังคงไมคิดในส่ิงเยา

ยวน ไรกังวลท่ีจะตองบํารุงบําเรอตนเอง จะไดนําเวลาและความคิดมาอุทิศทุมเทแกการปฏิบัติ

หนาท่ีของตนใหเต็มท่ีและเต็มกําลัง

สันโดษมีหลักการปฏิบัติ ดงันี้

1. สันโดษมุงใหคนมีความเปนอยูทางดานวัตถุ คือ ปจจัยส่ีสะดวกสบาย แตไมใชเพื่อได

ฟุงเฟอ ฟุมเฟอย หรูหรา

Page 99: What is life

66

2. สันโดษ กระตุนใหคนมีความเพยีรพยายามแสวงหาปจจัย 4 เทาท่ีเปนไปไดโดย

ถูกตองชอบธรรม เหมาะสมกับภาวะและฐานะของตนและไมขดหรือกระทบกระเทือนตอการ

ปฏิบัติหนาท่ี

3. สันโดษ ชวยใหเกิดความพอใจและหาความสุขไดจากส่ิงท่ีตนหามาได เปนผลสําเร็จ

ของตนเอง ทําจิตใจ ใหปลอดโปรง ต้ังม่ันสงบ ไมกระวนกระวาย

4. สันโดษทําใหมนุษยนําเวลา ความคิดและกําลังงานมาอุทิศใหแกการปฏิบัติหนาท่ีของ

ตนโดยเต็มท่ี พยายามแกไข ปรับปรุงทํางานใหกาวหนา ใหเจริญยิ่งๆ ข้ึนๆ ไป ไมทําใหเวลาและ

ความคิดใหเสียไป ดวยความฟุงเฟอ ความปรนเปรอ และไมใหจิตใจถูกรบกวนดวยส่ิงเยายวน

เหลานี้

ขอท่ีควรระวังก็คือ อยาใชสันโดษทุกกรณี เพราะกรณีท่ีสอนไมใหสันโดษก็มีดวย

เนื่องจากพระพุทธองค ไมไดสอนใหสันโดษในทุกเร่ือง ในบางกรณีกลับทรงสอนไมใหสันโดษ

และความไมสันโดษนี้นับเปนคุณธรรมสําคัญอยางหนึ่งดวย เชนท่ีตรัสไวในอังคุตตรนิกาย ทุกนิ

บาติวา

“ดูกรภิกษุท้ังหลาย เราไดเห็นประจักษแลวในคุณธรรม 2 ประการ คือ ความเปนผูไม

สันโดษ ในกุศลธรรมความดีท้ังหลายหนึ่ง และความไมรูจักยนระยอทอถอยในการทําความเพียร

หนึ่ง”

พระพุทธเจาตรัสรูได ก็เพราะอาศัยธรรม 2 ประการนี้ เปนเพราะยังไมทรงพอพระทัยใน

ความรูและคุณพิเศษท่ีไดในสํานักของอาฬารดาบสและอุทกดาบสจึงทรงแสวงหาธรรมและทรง

บําเพ็ญเพียรตอมา และเพราะไมทรงทอถอยจึงทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ

อนึ่ง พระพุทธองคไดตรัสพุทธพนจอันปรากฏในคัมฎีรอังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาตวา

“ดูกรภิกษุท้ังหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม 6 ประการ ยอมบรรลุความเปนผูใหญและ

ความไพบูลยในธรรมท้ังหลายในเวลาไมนานเลย คือเปนผูมากดวยความสวางแหงญาณ ผูมากดวย

การประกอบความเพียร 1 เปนผูมากดวยความเบิกบานใจ 1 เปนผูมากดวยความไมโดยในกุศลธรรม

ท้ังหลาย 1 เปนผูไมทอดธุระในกุศลธรรมท้ังหลาย 1 และมุงม่ันพยายามทําใหข้ึนไป 1” ดังนี้

ตามหลักฐานนี้แสดงวา คุณธรรมคือความไมสันโดษ ก็มีอารมณและขอบเขตดวย

เหมือนกัน จํากัดใหใชกับกุศลธรรมท้ังหลาย อันไดแกส่ิงท่ีเปนความดีงามถูกตอง ชอบดวยเหตุผล

เกิดจากการตัดรอนความช่ัวและกอใหเกิดประโยชนแกตนและบุคคลอ่ืน

การที่พระพุทธเจามุงตรัสสอนสันโดษแกพระภิกษุสงฆเปนพิเศษนั้น เปนเพราะการออก

บวชเปนพระ มีความมุงหมายท่ีจะทําความเพียรและบําเพ็ญขอปฏิบัติทางจิตใจโดยเฉพาะซ่ึงตองตัด

ความกังวลทางวัตถุใหนอยลง เพื่อเกื้อกูลตอการปฏิบัติสมณธรรม เชนชวยใหจิตเปนสมาธิ

ไดงายข้ึน เปนตน

Page 100: What is life

67

แมวาสันโดษจะเปนธรรมท่ีมุงเฉพาะสําหรับบรรพชิต แตก็สามารถนําสอนฆราวาสได

เชน ทานสอนในหลักเบญจธรรมวาผูครองเรือนความมีสทารสันโดษคือพอในภรรยาตน มิควร

ประพฤตินอกในจะสงเสริมใหศีลขอท่ี 3 คือ การงดเวนจากการประพฤติผิดในกามสมบูรณ ทําให

เปนคนมีกามสังวร คือ ระมัดระวังในเร่ืองกามคุณ ไมฟุงเฟอ รูจักคุณคาแทของส่ิงตางๆ ไมติด

คุณคาเทียม แลวมุงใฝใจในการปฏิบัติหนาท่ีของตน

เราจะสังเกตลักษณะของผูสันโดษไดอยางไร ผูมีสันโดษมีลักษณะพึงสังเกตได ดังนี้คือ

ประการแรก เปนผูแสวงหาเคร่ืองเล้ียงชีพดวยความเพียรและปญญาตามความเหมาะสม

ในภาวะของตนและเทาท่ีเปนความชอบธรรม

ประการท่ีสอง เปนผูท่ีไมอยากไดของผูอ่ืน หรือของท่ีไดมาดวยความฉอฉลไมทําการ

ทุจริตเพราะปากทองและผลประโยชนสวนตัว

ประการท่ีสาม เม่ือหามาไดและใชสอยส่ิงเหลานั้น กไ็มติด ไมหมกมุนมัวเมา

คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความเจริญของสังคม

มนุษยไดช่ือวาเปนสัตวสังคม ตามคํานิยามของนักปรัชญา คําวา “สังคม” หมายถึงการ

รวมตัวกอใหเกิดกิจกรรมไดกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงอยางมีระบบ และเปนท่ีแนนอนวาในสังคม

ปจจุบันยอมมีท้ังความดีและความไมดีปนกันไปตามวิถีชีวิตมนุษยท่ียังเปนปุถุชนอยู ฉะนั้นการ

รวมตัวกันทางสังคมนั้นยอมมีความมุงหมายตอการกระทําความดีเปนหลักใหญท่ีจะนํามาซ่ึงการมี

สังคมท่ีมีแตสันติสุขอยางยั่งยืนแตส่ิงท่ีนาเปนหวง คือปจจุบันสังคมทุกวันนี้กลายเปนสังคมท่ีมี

ความสุขเพียงระยะส้ันเทานั้น

1. อปริหานิยธรรม

อปริหานิยธรรม หมายถึง ธรรมเปนท่ีตังแหงความไมเส่ือม เปนไปเพื่อความเจริญฝาย

เดียว บุคคลหรือสังคมท่ีมีธรรมเหลานี้เกื้อหนุนยอมไมพบกับความเส่ือม สามารถปองกันภัยตาง ๆ

ได

1.1 ประชุมกันเนืองนิตย คือ การประชุมกันก็เพื่อปรึกษาหารือพิจารณาถึงเร่ืองท่ี

เกิดข้ึน หรือเร่ืองท่ีจะตองชวยกันทํา การประชุมรวมกันอยูเปนประจําทําใหเกิดความสามัคคี เปน

อุบายวิธีท่ียึดเหนี่ยวน้ําใจระหวางกันได

1.2 ประชุมและเลิกประชุมพรอมกัน เม่ือมีกิจเกิดข้ึนก็ชวยกันทํา คือ เม่ือกิจเบ้ืองตน

แคการประชุมก็สามารพทําพรอมกันได ก็เปนเร่ืองท่ีส่ือใหเห็นถึงความสามัคคีปรองดองในหมู

คณะอันเปนกําลังสําคัญท่ีจะบริหารหมูคณะ และกิจการใหเปนไปโดยพรอมเพรียงกัน ชวยกัน

ทํากิจท่ีเกิดข้ึนใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

Page 101: What is life

68

1.3 ไมบัญญัติเพิ่ม ไมร้ือถอนพุทธบัญญัติ ต้ังใจศึกษาสิกขาบทท่ีพระองคบัญญัติ คือ

พระพุทธเจาทรงดํารงอยูในตําแหนงสังฆบิดรของพุทธบริษัทโดยเฉพาะพระสงฆ ผูมีความเคารพ

ในพระองค ยอมไมบัญญัติส่ิงท่ีพระองคไมบัญญัติไว และไมร้ือถอนขอบัญญัติ แตต้ังใจศึกษา

และปฏิบัติตามพุทธบัญญัตินั้นดวยการเวนขอหามแลวทําตามขอท่ีทรงมีพุทธานุญาตไว

1.4 เคารพผูเปนใหญเปนประธาน คือ ผูท่ีมีความเคารพยําเกรงตอผูใหญ เปนอุบายวิธี

ถอนความอวดด้ือถือดี แต เสริมความสามัคคีใหมากข้ึนเพราะถาหมูคณะใดปราศจาก

ความเคารพยําเกรงตอกัน ตางก็จะทําอะไรตามความพอใจของตน เม่ือเปนเชนนั้นก็จะหาความ

เจริญไมไดเลย

1.5 ไมลุอํานาจแกความอยาก คือ ตัณหาความดิ้นรนอยากไดจนเกิดขอบเขต โดยไมทํา

เหตุท่ีสมควรแกการได ทําใหเกิดทุกขนานัปการ เม่ือหักหามใจไมใหอยากไมไดยอมเปนเหตุใหทํา

อกุศลกรรมได การไมลุแกอํานาจจองความอยากท่ีเกิดข้ึน รูจักขมใจสํารวมใจไว ยอมเปนอุบาย

วิธีตัดตนเหตุแหงความช่ัวรายท้ังปวง

1.6 ยินดีในเสนาสนะปา คือ การคลุกคลีกับหมูคณะจนเกินไปโดยไมรูจักแบงเวลาช่ือ

วาเปนผูผลาญประโยชนสวนตนและอาจทําใหผูอ่ืนเสียประโยชนดวย เพราะบางทีเขาก็มีธุระท่ี

จะตองทํา ผูชอบการอยูในสถานท่ีสงบเงียบเปนเหตุใหไดความสงบทางกาย และใจไปจนถึงความ

สงบกิเลสไดเปนท่ีสุด

1.7 ความตั้งใจวา ผูท่ียังไมมาขอใหมา ผูท่ีมาถึงแลวขอใหอยูเปนสุข คือ ผูมีความ

ต้ังใจเชนนี้ เปฯผูหวังความสุขความเจริญใหเกิดมีแกผูอ่ืน เปนอุบายวิธีอยางหนึ่งของการเจริญ

เมตตาจิตอันเปนกิจท่ีทุกคนควรทํา เพราะเปนเหตุใหละความรูสึกอิจฉาริษยาผูอ่ืน แตทําใหเปนผูมี

น้ําใจโอบออมอารีแทน

หลักธรรม 7 ประการนี้เปนการรวมมือการทํางาน และปลูกฝงไวดวยวัฒนธรรม ของ

ความสามัคคี เปนหลักสําคัญแมแตในการบริหารงานในสังคมทุกระดับ

คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อทําเปนท่ีตัง้ ท่ีพึ่งแกตน

นาถกรณธรรม 10

นาถกรณธรรม หมายถึง ธรรมทําท่ีพึ่ง, ธรรมท่ีสรางท่ีพึ่งใหแกตน คือธรรมท้ัง 10

ประการนี้ เม่ือผูใดปฏิบัติตามดวยความเคารพ ยอมเปนท่ีพึ่งของผูนั้น

1 สีล การรักษากายวาจาใหเรียบรอย

2 พาหุสัจจะ ความเปนผูไดสดับตรับฟงมามาก

Page 102: What is life

69

3 กัลยาณมิตตตา หมายถึง ความมีเพื่อท่ีดีงาม การคบกัลยาณมิตรเพ่ือนท่ีดีงามนั้นตอง

ประกอบดวยมิตรธรรม 4 อยาง คือ มีอุปการะตอกัน รวมสุขรวมทุกข แนะนําแตเร่ืองท่ีเปน

ประโยชนและมีความรักใครตอกัน เพื่อท่ีประกอบดวยคุณธรรมเหลานี้ถึงจะเรียกกัลยาณมิตรเปน

เพื่อแทผูปรารถนาดีตอเพื่อนดวยไมตรีจิต

4 โสวจัสสตา หมายถึง ความเปนผูวางายสอนงายเปนคนไมหัวดื้อ ไมกระดางกระเดื่อง

ดื้อดึง เม่ือผูใหญแนะนําส่ังสอน หรืออกคําส่ังอยางไรก็ยอมรับคําแนะนําแลวปฏิบัติตามพูดงาย ๆ

คือ เปนคนไมอวดดื้อถือดี

5 กิจกรเณสุ ทักขตา หมายถึง ความขยันเอาใจใสในกิจธุระของเพื่อภิกษุสามเณร คือ

เม่ือมีกิจธุระอยางใดอยางหนึ่งของผูอ่ืนเกิดข้ึน ก็ไมนิ่งดูดายชวยขวนขวาย ชวยทําตามกําลัง

ความสามารถโดยไมถือวาธุระไมใช

6 ธัมมกามตา หมายถึง ความเปนผูใครในธรรมท่ีชอบเปนผูใครรูใครเห็น อยากศึกษา

หาความรู และปฏิบัติตามธรรมวินัยนั้นอยางเครงครัด หรือเม่ือตนมีหนาท่ีอยางใดก็ทําตามหนาท่ี

นั้นใหอยางเครงครัด หรือเม่ือตนมีหนาท่ีอยางใดก็ทําตามหนาท่ีนั้นใหสําเร็จเรียบรอยเรียกวา เปน

คนเครงครัดในหนาท่ี

7 วิริยะ ความเพียรเพื่อละความช่ัว เพิ่มความดี

8 สันโดษ หมายถึง ความยินดี ความพอใจ เปนความพึงพอใจในส่ิงท่ีไดมาดวยความ

มานะพยายามในทางสุจริตของตน อาการสันโดษมี 3 ลักษณะคือ ยินดีตามได ยินดีตามกําลัง

ยินดีตามสมควร

9 สติ จําการท่ีทําคําท่ีพูดแมนานได

10 ปญญา รอบรูในกองสังขารตามเปนจริงอยางไร

หลักธรรม 10 ประการนี้ คือการกระทํางานอยางพึ่งพากันและกัน รวมสุขรวมทุกข

ดวยการปฏิบัติอยูในครรลองแหงหลักธรรมทางศาสนาเปนกรอบปฏิบัติ

คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความสามัคค ี

ความสามัคคีจึงไดช่ือวา เปนคุณธรรมอันสูงสงสําหรับพวกเราท่ีอยูดวยกัน ความสามัคคี

เปนเหตุนํามาซ่ึงความสุข พระพุทธองคตรัสวา

“สุขา สํ ฆสฺส สามคฺคี”

ความพรอมเพรียงของในหมูคณะนํามาซ่ึงความสุข ดังนี้ ความพรอมเพรียงของหมูคณะ

ต้ังแตสองคนข้ึนไปเรียกวา คณะ ส่ีคนข้ึนไปเรียกวา หมู ความพรอมเพรียงของหมูคณะเปน

ความสุขอยางยิ่ง คนยิ่งมากข้ึนไปจะเปน 20–30–40 หรือ 50 คนหรือต้ัง 100–200 คน มีความสามัคคี

กัน ยิ่งไดความสุขมาก ดูแตตัวของเราคนเดียวก็แลวกัน ถาไมสามัคคีกันก็ไมไดความสุขเหมือนกัน

ตัวอยางเชน ใจคิดอยางหนึ่ง มือไมไมทํา ขาไมเดิน งอยเปล้ียเสียขา เปนอัมพาตไป มันก็ไมสบายใจ

Page 103: What is life

70

ปากทองของเราก็เหมือนกัน เราหาอาหารมาใหรับประทานลงไป ปากมันก็เค้ียวกลืนลงไป แตลําไส

มันไมทํางาน มันไมพรอมเพรียงสามัคคีกัน มันจะตองปวดทอง อึดอัด เดือดรอนแกเราเพียงใด คิด

เอาเถอะ สวนรางกายของเราก็เหมือนกัน ทุกช้ินทุกสวนถาหากขาดความสามัคคีนิดเดียว เปนตนวา

แขนท้ังสองหยุดไมทํางาน เทานั้นแหละเปนอันรองอูยเลยทีเดียว เหตุนั้น เราควรอดควรทนตอ

เหตุการณ เม่ือมีจิตใจตางกัน มีกิริยาอาการตางกัน จึงควรอดอยางยิ่ง อยาเอาอารมณของตนควร

คิดถึงอกเราอกเขาบาง ถาหากเราเอาแตอารมณของตนแลว จะแสดงความเหลวไหลเลวทรามของ

ตนแกหมูคณะเปนเหตุใหเสียคน เพราะช่ือเสียงยังกระจายออกไปท่ัวทุกทิศ เสียหายหลายอยาง

หลายประการ ส่ิงใดท่ีไมสบอารมณของเรา อยาผลุนผลันทันแลน จงยับยั้งต้ังสติต้ังจิต พิจารณาให

ดีเสียกอนวาส่ิงนั้นถาเราพูดหรือทําลงแลว มันจะเปนผลดีและผลเสียแกเราและหมูคณะนอยมาก

เพียงใด

เบ้ืองตนใหต้ังสติกําหนดคําวา “อด” คําเดียวเทานั้นเสียกอน จึงคิดจึงนึกและจึงทําจึงจะ

ไมพลาดพล้ังและจะไมเสียคน อดท่ีไหน อดท่ีใจของเรา “อด” คํานี้กินความกวางและลึกซ้ึงดวย

เม่ือเราพิจารณาถึงความอดทนแลวก็จะเห็นวา สรรพกิเลสท้ังปวงท่ีจะลนมาทวมทับมนุษยสัตว

ท้ังหลาย ในโลกน้ีแหลกละเอียดเปนจุลวิจุลไปก็เพราะความอดน้ีท้ังนั้น เชน โกรธจะฆากัน แตมี

สติอดทนอยูไดจึงไมฆา เห็นส่ิงของเขา คิดอยากจะลักขโมยของเขา มีสติอดทนยับยั้งไว เพราะกลัว

เขาจะเห็นหรือกลัวโทษ จึงไมขโมย เห็นบุตรภรรยาสามีคนอ่ืนสวยงาม เกิดความกําหนัดรักใคร คิด

อยากจะประพฤติผิดในกาม มีสติข้ึนมาแลวอดทนตอความกําหนัดหรือกลัววาเขาจะมาเห็น กลัวตอ

โทษในปจจุบันและอนาคต แลวอดทนตอความกําหนัดนั้น การที่จะพูดเท็จ พูดคําไมจริง หรือดื่ม

สุราเมรัยก็เชนกัน เม่ือมีสติข้ึนมาแลวก็อดทนตอความช่ัวนั้นๆ ได แลวไมทําความช่ัวนั้นเสีย

ความอดทนเปนคุณธรรม ท่ีจะนําบุคคลในอันท่ีจะละความช่ัวไดทุกประการ และเปน

เหตุใหสมานมิตรกันท้ังโลกไดอีกดวย ถาเราไมมีการอดทนปลอยใหประกอบกรรมช่ัวดังกลาว

มาแลว โลกวันนี้ก็จะอยูไมได แตกสลายไปเลย

โทษ 5 ประการ เปนเหตุใหมนุษยสัตวโลกแตกความสามัคคีปรองดองซ่ึงกันและกัน

วิวาททุมเถียงฆาตีซ่ึงกันและกัน โลกซ่ึงเดือดรอนวุนวายอยูทุกวันนี้ก็เพราะโทษ 5 ประการนี้

คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความเปนผูรู

การศึกษา คือ การทําใหเกิดความรูเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ เปนหัวใจของการดํารงชีวิต

การศึกษาชีวิต หมายถึงการเรียนรูความเปนจริงของธรรมชาติ ชีวิต และอ่ืน ๆ ตามสภาวะแหงกฎ

ของส่ิงนั้น การเรียนมิใชใหเพียงแครู แตตองนําผลของความรูใหเกิดความเขาใจทุก ๆอยาง อยาง

ถูกตอง และสมเหตุผล สมผล จึงจะไดช่ือเปนผูรูอยางยิ่งยืน และสามารถจะพัฒนาองคความรู

Page 104: What is life

71

ไปสูความสุขได แตปญหาปจจุบันนั้นการศึกษาเพียงแครู แตมิใชถึงข้ึนปฏิบัติ จึงกลายเปนความรู

ท่ีไมพัฒนาและไมยั่งยืน

ไตรสิกขา หลักการศึกษาหรือหลักการฝกอบรมในพระพุทธศาสนามี 3 ประการ เรียก

ไตรสิกขา ไตรแปลวา 3 สิกขาแปลวา ศึกษาอบรม ฝกปฏิบัติ รวมกันเขาเปนไตรสิกขา (The

Three fold Training) หมายถึงการเรียนรู เปนระบบการศึกษา หรือระบบการฝกฝนอบรม เม่ือมี

กาศึกษาแลว ก็เกิดการดําเนินชีวิตท่ีดี ดับนั้นเม่ือฝกตามไตรสิกขา มรรคหรือการดําเนินชีวิตก็

เกิดข้ึน มรรคเปนระบบการดําเนินชีวิต ไตรสิกขาเปนระบบการศึกษา ไตรสิกขาจัดรูปออกจาก

มรรค เพราะฉะน้ัน หลักท้ังสอบเน่ืองอยูดวยกัน การศึกษาไมสามารถแยกออกจากการดําเนินชีวิต

ได แตเนื่องอยูดวยกันกับการดําเนินชีวิต

ศีล

ปญญา สมาธิ

สิกขา 3 คือ อธิศีลสิกขา (ศีล) อธิจิตตสิกขา (สมาธิ) อธิปญญาสิกขา (ปญญา)

1. อธิศีลสิกขา (Training in Higher Morality) คือการฝกความประพฤติสุจริตทาง

กาย วาจา และอาชีวะ ไดแก รวมเอาองคมรรค 3 ประการ คือ สัมมาวาจา สวัมมากัมมันตะ

และ สัมมาอาชีวะ เขามา พูดงาย ๆ ส้ัน ๆ ก็คือ ศีล คือการควบคุมกาย วาจา ใหปกติ

ประเภทของศีล

1. อาคาริยวินัย คือ วินัยของคฤหัสถ (ผูครองเรือน) เชน เบญจศีล เปนศีลท่ีควร

ปฏิบัติรักษาเปนประจํา เรียกนิจศีลก็ได เปนกฎท่ีทําใหคนเปนมนุษย ซ่ึงเปนการยกระดับจิตให

สูงสุด เรียกวามนุษยธรรม

ศีล 5 มีดังนี้

1. การงดเวนจากการฆาสัตว

2. การงดเวนจากการลักทรัพย

Page 105: What is life

72

3. การงดเวนจากการประพฤติผิดในกาม

4. การงดเวนจากการพูดเท็จ

5. การงดเวนจากการดื่มสุราและเมรัย อันเปนท่ีต้ังแหงความประมาท

ศีล 8 หรือศีลอุโบสถ เปนขอปฏิบัติท่ีสูงข้ึน เพิ่มข้ึนอาจปฏิบัติในชีวิตตลอดไป หรือ

ตามท่ีระยะเวลาในการกําหนดรักษาในวันอุโบสถเพิ่มจากศีล 5 คือ ศีลขอ 1,2,4 และ 5 เหมือน

เบญจศีล ตางกันแตศีลขอ 3 คือเวนจากประพฤติผิดพรหมจรรย

ขอ 6 การงดเวนจากการรับประทานอาหารในเวลาวิกาลตั้งแตเท่ียงวันจนถึงรุงอรุณของ

วันใหม

ขอ 7 การงดเวนจากการดูการฟอนรําขับรองและประโคมดนตรี จากการทัดทรง

ดอกไม ลูบไลของหอมและตกแตงดวยเคร่ืองยอม เคร่ืองทาทุกชนิด

ขอ 8 การงดเวนจากการนอนบนท่ีนอนสูงและท่ีนอนใหญ ซ่ึงยัดดวยนุนและสําลี

1. อานาคาริยวินัย เปนวินัยสําหรับบรรพชิต หรือนักบวชในพระพุทธศาสนาไดแก

ศีล 10 สําหรับสามเณร ศีล 227 สรหรับพระภิกษุ และศีล 311 สําหรับภิกษุณี

การรักษาศีลไมวาเปนอาคาริยวัย หรืออนาคาริยวินัยก็ตาม การงดเวนกหรือการเวนจาก

ลวงละเมิดศีล เรียกวาวิริต การเวน แบงออกเปน 3 ประการ

1. สมาทานวิรัติ เจตนางดเวนโดยการสมาทาน คือ การเปลงวาจารรับศีลปฏิญานวา

จะงดเวน

2. สัมปตตวิระติ เจตนางดเวนโดยฉับพลันเม่ือประจวบเหตุ คือ เม่ือเกิดเหตุใหลวง

ละเมิดศีลก็สามารถงดเวนได โดยความรูสึกวาไมควรลวงละเมิด แมมิไดสมาทานมากอน

3. สมุจเฉทวิรัติ การงดเวนอยางเด็ดขาด เปนการงดเวนท่ีเกิดข้ึนในจิตของพระ

อริยบุคคลเปนการเกิดข้ึนในตัวพระอริยบุคคล ศีลมาพรอมกับความเปนอริยะ

การศึกษา คือ การเรียนรูของชีวิตท่ีมีเปาหมายในทางโลก คือการดําเนินชีวิตใหมี

ความสุข สวนการศึกษาดานจิตเปนการยกระดับจิต สูความสําเร็จ คือสูงสุดอันไดแกนิพพาน

ศีลพื้นฐานใหเกิดสมาธิ และปญญาตอไป

2. อธิจิตตสิกขา (Trainning in Higher Mentality) คือการศึกษาหรือการฝกอบรม

จิตใจเปนกรปลูกฝงคุณธรรม เสรมสรางคุณภาพจิตและการรูจักใชความสามารถในกระบวนการ

สมาธิเพื่อพัฒนาคุณภาพจิตและพัฒนาสมรรถภาพจิตใหสูงข้ึน ไดแก การรวมเอาองค มรรคขอ

สัมมาวายามะ สัมมาสติและสัมมาสมาธิ เขามา วาโดยสาระก็คือ การฝกใหมีจิตใจเขมแข็ง ม่ันคง

แนวแน ควบคุมตนไดดีมีสมาธิ มีกําลังใจสูง ใหเปนจิตมีสมรรถภาพสูง

อธิจิตตสิกขา หรือสมาธิวาโดยระดับสูงสุดซ่ึงไดแก สมถวิธี วีทําใหใจสงบ บําเพ็ญ

กรรมฐาน (ฝายสมถะ) แบบตาง ๆ ซ่ึงหลายอาจารยหลายสํานักปฏิบัติไดเพียรจัดเพียรกําหนดข้ึน

Page 106: What is life

73

และวิวัฒนาการเร่ือยมาในประวัติพระพุทธศาสนา อธิจิตตสิกขา ท่ีประพฤติกันมานั้น ครอบคลุม

ทุกระดับ ซ่ึงชวยชักจูงใจใหทําความดีความงามยิ่งข้ึนไป ตลอดจนท่ีจะชวยสงเสริมคุณภาพจติของ

คนท่ีปลุกเราคุณธรรม การสงเสริมกําลังใจในการทําความงามดี มีอุดมคติ และฝกจิตใหเข็มแข็ง

หนักแนนม่ันคงมีสมรรถภาพสูง

การทําใจใหสงบ หรืออกรทําจิตใจใหเปนสมาธิจึงหมายถึง สมถะ แปลวา ความสงบ

แตท่ีใชในความความหมายท่ัวไปหมายถึงวิธีทําใหใจใหสงบ ขยายความวา ขอปฏิบัติตาง ๆ ใน

การฝกอบรมจิตใหเกิดความสงบ จนต้ังม่ันเปนสมาธิถึงข้ึนไดฌานระดับตาง ๆ จุดหมายของสมถะ

คือ กําหนดใจไวส่ิงใดส่ิงหนึ่ง (เรียกวา อารมณ) ใหแนงแนจนจิตนอมดิ่งอยูในส่ิงเดียว เรียกวา

จิต มีอารมณเปนหนึ่ง หรือจิตมีอารมณอันเดียวความแนวแนหรือต้ังม่ันของจิตนี้เรียกวาสมาธิ เม่ือ

สมาธิแนบสนิทเต็มท่ีแลวก็จะเกิดภาวะจิตท่ีเรียกวาฌาน ซ่ึงแบงเปนระดับตาง ๆ ระดับท่ีกําหนด

เอารูปธรรมเปนอารมณ เรียกวา รูปฌาณ มี 4 ข้ัน ระดับท่ีกําหนดอรูปธรรมเปนอารมณ เรียก

อรูปฌาณ มี 4 ข้ัน รวมรูปฌาณ 4 และ อรูปฌาณ 4 เรียกวา สมาบัติ 8

กรรมฐาน แปลวา ท่ีต้ังแหงการทํางานของจิตหรือท่ีใหจิตทํางานซ่ึงหมายความวา ส่ิงท่ี

ใชอารมณในการเจริญภาวนา หรือุปกรณในการฝกฝนอบรมจิตหรืออุบายหรือกลวีเหนี่ยวนําสมาธิ

พูดงาย ๆ วา ส่ิงท่ีเอามาใหจิตกําหนด จิตจะไดทํางานเปนเร่ืองเปนราว สงบอยูไดไมเท่ียววิ่งเลน

เตร็ดเตรหรือเล่ือนลอยฟุงซานไปอยางไรจุดหมาย มีท่ีเกาะท่ียึด พระอรรถกถาจารยรวบรวมแสดง

ไว 40 อยาง คือ กสิณ 10 อสุภ 10 อนุสสติ 10 อัปปมัญญา 4 อาหาเร ฏิกูลสัญญา จตุธาตุว

วัตถาน อรูป 4

การปฏิบัติกรรมฐานตองเลือกใหเหมาะกับจริยาหรือจริต ซ่ึงหมายถึง บุคบผูมีลักษณะ

นิสัยและความประพฤติอยางนั้นเรียกวา จริต เชนคนมีราคจริยา เรียกวา ราคจริต จริตของคน

แบงประเภทใหญไว 6 ประการ คือ

1. ราคจริต ผูมีความประพฤตินิสัยหนักไปทางราคะ

2. โทสจริต ผูมีความประพฤตินิสัยหนักไปทางโทสะ

3. โมหจริต ผูมีความประพฤตินิสัยหนักไปทางโมหะ

4. สัทธาจริต ผูมีความประพฤตินิสัยหนักไปทางศรัทธา

5. พุทธิจริต หรือญานจริต ผูมีความประพฤตินิสัยหนักไปทางใชความคิดพิจารณา

6. วิตกจริต ผูมีความประพฤตินิสัยหนักไปทางชอบครุนคิดวกวน

กรรมฐาน 40 อยาง นอกจากเหมาะกับจริตท่ีตางกันแลวยังใหผลสําเร็จท่ีเกิดข้ึนไดสูง

ตํ่ามากนอยกวากันดวย

นิมิต คือ เคร่ืองหมายสําหรับใหจิตกําหนดหรือภาพท่ีเห็นในใจซ่ึงเปนตัวแทนของส่ิงท่ี

ใชเปนอารมณกรรมฐาน แบงเปน 3 อยาง คือ

Page 107: What is life

74

1. บริกรรมนิมิต แปลวา นิมิตข้ันเตรียมหรือเร่ิมตนดวยการกําหนดส่ิงใดเปนอารมณ

ในการเจริญกรรมฐาน

2. อุคคหนิมิต นิมิตติดตาหรือนิมิตท่ีต้ังใจเรียน คือ การบิกรรมนิมิตนั่นเอง เพงจน

ติดตาหลับตาก็มองเห็น ภาพติดตา

3. ปฏิภาคนิมิต นิมิตเสมือน นิมิตคู เปรียบหรือนิมิตเทียบเคียง คือนิมิตท่ีเปน

ภาพเหมือนของอุคคหนิมิต แตติดลึกเขาไปอีกจนเปนภาพท่ีเกิดจากสัญญาของผูไดสมาธิ

ภาวนา 3 ขั้น การภาวนาเพื่อใหเกิดสมาธิมี 3 ขั้น คือ

1. บริกรรมภาวนา การเจริญสมาธิข้ันเร่ิมตน คือกําหนดนิมิตเปนอารมณกรรมฐาน

หรือกําหนดบริกรรมนิมิต จนเกิดภาพส่ิงนั้นติดตาติดใจ จนเกิดอุคคหนิมิต เรียก บริกรรมสมาธิ

จิตข้ันนี้เปนขณิกสมาธิ

2. อุปจารภาวนา การเจริญสมาธิข้ึนอุปจาร อาศัยบริกรรมสมาธิ จิตกําหนด

อุคคหนิมิตจนเปนปฏิภาคนิมิต นวิรณ ก็สงบระงับ จิตต้ังม่ันเปนอุปจารสมาธิ เปนข้ึนสูงข้ึน

3. อัปปนาภาวนา การเจริญสมาธิข้ันอัปปนา ไดแก เสพปฏิภาคนิมิตท่ีเกิดข้ึนแลวนั้น

สมํ่าเสมอดวยอุปจารสมาธิพยายามรักษาไวไมใหเส่ือมหายไปเสีย ประคับประคองจิตใจ ท่ีสุดก็

เกิดอัปปนาสมาธิบรรลุปฐมฌาน

เม่ือบรรลุปฐมฌานแลว ตอจากนั้นก็เปนบําเพ็ญความชํานาญใหเกิดข้ึนในปฐมฌานและ

ทําความเพียรเพื่อบรรลุฌานข้ันตอ ๆ ข้ึนไปตามลําดับ

อภิญญา เม่ือบุคคลไดฌานสมาบัติยอมประสบผล คือความสามารถพิเศษเรียกอภิญญา

ซ่ึงเกิดจากฌานสมาบัติมี 6 อยาง คือ

1. อิทธิวิธี แสดงฤทธ์ิได

2. ทิพฺพโสต หูทิพย

3. เจโตปริยญาณ กําหนรูใจคนอ่ืนได

4. ทิพฺพจักขุ ตาทิพย

5. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ ระลึกชาติได

6. อาสวักขยญาณ ญาณหยั่งรูความส้ินอาสวะ

หลักธรรม 3 ประการน้ี คือ การศึกษาแกนแทของชีวิตตามหลักสัจจธรรม ความเปน

จริงของทุก ๆ ชีวิต ท่ีตองเปนไปตามธรรมชาติ

3. อธิปญญาสิกขา (Trainning in Higher Wisdom) การฝกปรือปญญาใหเกิด

ความรูความเขาใจส่ิงท้ังหลาย เปนการฝกอบรมปญญาข้ันสูง คือการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อความรู

แจงเห็นจริง จิตใจหลุดพนจากกิเลส เปนอิสระจากเคร่ืองรอยรัดพันธนาการซ่ึงเปนจิตบริสุทธ์ิผอง

ใสเบิกบานโดยสมบูรณ

Page 108: What is life

75

ในความหมายของปญญาในพระพุทธศาสนา วาโดยสาระก็คือ การฝกอบรมใหเกิด

ปญญาบริสุทธ์ิท่ีรูแจงชัดตรงตามสภาพความเปนจริง ไมเปนความรูความตองการรู จากวิชาการท่ี

ไมรู

ความหมายของปญญาในพระพุทธศาสนา วาโดยสาระก็คือ การฝกอบรมใหเกิดปญญา

บริสุทธ์ิท่ีรูแจงขัดตรงตามสภาพความเปนจริง ไมเปนความรูความคิดความเขาใจที่ถูกบิดเบือน

เคลือบคลุม เปนปญญาหรือความรอบรูในกองสังขาร ในไตรลักษณในอริยสัจ 4 เปนตน

การศึกษาในพระพุทธศาสนาเปนการศึกษาจากภายในจิตใจตนเอง ศึกษาจิตใจเปนการศึกษาชีว

ปญญาหรือความรูในพระพุทธศาสนามาจากแหลง 3 ประการ คือ

1. สุตมยปญญา หมายถึงความรูท่ีเกิดจากศึกษาเลาเรียนหรือรับการถายทอดตาง ๆ กัน

มาจากผูอ่ืน (ปรโตโฆสะ)

2. จินตามยปญญา หมายถึงความรูท่ีเกิดจากคิดพิจารณาหาเหตุผล

3. ภาวนามยปญญา หมายถึงความรูจากประสบการณตรง อันเกิดจากสัญญาบริสุทธ์ิ

และสัญญาพิเศษ อนึ่งปญญาสิกขาซ่ึงรวมเอาสัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะเปนองคประกอบของ

ปญญา ซ่ึงเปนโลกุตตรสัมมาทิฎฐิ และโลกียสัมมาทิฎฐิ

การศึกษาและชีวิตประเสริฐ

จุดเร่ิม / เคร่ืองเสริม

(ปจจัยของสัมมาทิฏฐิ)

กระบวนการของ

การศึกษา

(ไตรสิกขา)

ชีวิตประเสริฐ

(มรรค)

จุดหมายของชีวิต

(อัตถะ)

สังคม จิต ปญญา

1. ปรโตโฆสะท่ีดี 1. อธิศีล อธิศีล อธิศีล = สัมมาวาจา

สัมมากัมมันตะ 1. ทิฎฐธัมมิกัตถะ

สัมมาอาชีวะ

สัมมาทิฎฐิ 2. อธิจิต อธิจิต อธิจิต = สัมมาวายามะ

สัมมาสติ 2. สัมปรายิกัตถะ

สัมมาสมาธิ

2. โยนิโสมนสิการ 3. อธิปญญา อธิปญญา อธิปญญา = สัมมาทิฎฐิ 3. ปรมัตถะ

Page 109: What is life

76

สัมมาสังกัปปะ (สัมมาญาณ –

สัมมาวิมุตติ)

คุณธรรมและจริยธรรมวาดวยกฎแหงความเปล่ียนแปลง

ไตรลักษณ

ลักษณะท่ีเสมอกันแกสังขารท้ังปวง เรียกสามัญลักษณะ ไตรลักษณก็เรียกสามัญ

ลักษณะ หมายถึง ภาวะท่ีเกิดข้ึนมีข้ึนเปนไปแกสังขารท้ังปวงอยางเสมอภาคกันไมมีขอยกเวน

เรียกอีกอยางหนึ่งวา ไตรลักษณ หมายถึง ลักษณะประจํา 3 อยางของสังขาร

“สังขาร หมายถึง ปรุงแตง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1. ผูปรุงแตง ไดแก กายสังขาร คือ ลมหายใจ ปรุงแตงรางกายใหมีชีวิต, วจีสังขาร

คือ ความตรึกตรอง ปรุงแตงใหเปนภาษาพูด, จิตตสังขาร คือ ความจํา ปรุงแตงความคิด

ความรูสึก ปรุงแตงอารมณ

2. ผูถูกปรุงแตงใหเกิดข้ึน ไดแก อุปาทินนกสังขาร สังขารท่ีมีใจครอง เชน คน หรือ

สัตวเดรัจฉาน, อนุปาทินนกสังขาร สังขารไมมีใจครอง เชน ตนไม ภูเขา บานเรือน รถยนต

เปนตน” (พระเทพวิสุทธิญาณ (อุบล นนฺทโก ป.ธ. 9), 6/2544 : 61 - 62)

คําวา “สังขารท้ังปวง” ในท่ีนี้หมายถึง สังขารผูถูกปรุงแตงใหเกิดข้ึน มีลักษณะท่ีเสมอ

เหมือนกันอยู 3 ลักษณะ คือ

1. อนิจจตา หมายถึง ความท่ีสังขารท้ังปวงไมอยูคงท่ีมีการเปล่ียนรูปสภาพอยู

ตลอดเวลา เชน เม่ือเกิดเปนเด็ก ไมสามารถคงท่ีอยูเปนเด็กตลอดไปไดตองเติบโตเร่ือยไป จนถึง

วาระสุดทายก็ตาย เปนตน มีลักษณะคือ เกิดมาแลวดับไป, ผันแปรเปล่ียนสภาพตลอดเวลา, เปน

ส่ิงช่ัวคราวต้ังอยูไดช่ัวขณะ, แยงตอนิจจังความเท่ียงแท

2. ทุกขตา หมายถึง ความท่ีสังขารทั้งสังขารท้ังปวงทนไดยากไมสามารถดํารงทนอยู

อยางเดิมได เชน เปนเด็กก็ทนอยูอยางเดิมไมไดตองแก และเม่ือแกแมไมอยากตายก็ทนอยูไมได

ตองตายเปนตน มีลักษณะ คือ ถูกบีบค้ันโดยการเกิดและดับตลอดเวลา, ทนอยูในสภาพเดิมไมได

เปนท่ีต้ังแหงความทุกข แยงตอความสุข

3. อนัตตตา หมายถึง ความเปนของมิใชตัวตน มีลักษณะคือ เปนสภาพท่ีวางเปลา

หาสภาวะท่ีแทจริงไมได, หาเจาของไมไดไมมีใครเปนเจาของท่ีแทจริง, ไมอยูในอํานาจบังคับ

บัญชาของใคร, แยงตออัตตา ความมีตัวตน

คุณธรรมและจริยธรรมของการละอายตอความชั่ว

Page 110: What is life

77

มีคํากลาววาศาสนากับการเมืองหรือการเมืองกับศาสนาตองแยกออกจากกัน เปนคําพูด

ของผูท่ีพยายามแยกระหวางการเมืองกับศาสนาออกจากันอยางชัดเจนเพ่ือจะไดรูวาความเปนเหตุ

กับผลที่ถูกตองของความจริงคืออะไร และขอไหนคือคําตอบท่ีถูกท่ีสุด แตประการสําคัญ คํา 2

คํานี้เปนเพียงนามธรรม โดยลึกและความเปนจริงแลว การเมืองกับศาสนาแยกกันไมออกอยาง

ชัดเจน เพราะคําวาการเมืองก็หมายถึงนักการเมือง ก็คือบุคคลที่ทํากิจกรรมทางการเมือง

นักการเมืองถาไมมีหลักศาสนา ไมมีคุณธรรม จริยธรรม หรือจรรยาบรรณ ก็เปนนักการเมืองท่ีดี

ไมได เม่ือเปนนักการเมืองท่ีดีไมได ก็นําพาการเมืองประเทศนั้นสูความหายนะ

1. หิริโอตัปปะ

หิริ ความละอายแกใจ หมายถึง ความละอายใจตัวเองในการทําความเลว ผิดตอ

ศีลธรรมและกฎหมายบานเมืองหรือความละอายใจตัวเองท่ีจะงดเวนการทําความดีท่ีตนสามารถทํา

ได

โอตัปปะ ความเกรงกลัว หมายถึง ความสะดุงกลัวตอความผิด ดวยคํานึงถึงผล คือ

ทุกขโทษท่ีจะไดรับจากการทําความผิดนั้น ๆ จากการทําทุจริตของตน

ธรรมท้ัง 2 ทานกลาววาเปนโลกปาลธรรม ธรรมคุมครองโลก เพราะใหโลกเกิด

สันติสุข หิริ ชวยทําใหคนเกลียดความช่ัว ละอายใจท่ีทํา โอตตัปปะ ชวยใหคนกลัวท่ีจะทํา

ความผิด ทําใหละเวนการทําความผิดตาง ๆ ได เม่ือเปนเชนนี้คนในสังคมก็อยูรวมกันไดอยาง

รมเย็นเปนสุข มีแตความเห็นอกเห็นใจกัน

หลักธรรม 2 ประการนี้เปนคุณธรรมเบ้ืองตนและเปนหลักธรรมใหญ ใหควบคุม

พฤติกรรมภายในภายนอก ซ่ึงนําไปสูการปกครอง การบริหารจัดการ การเปนนักการเมืองท่ีดี

คุณธรรมและจริยธรรมของการเปนประชาธิปไตย

อธิปไตย คือ รูหลักการบริหารที่ดีท่ีเรียกวา อธิปไตย 3 ประการ ดังนี้

1 อัตตาธิปไตย คือ ถือตนเปนใหญ คือ ถือเอาตนเอง ฐานะ ศักดิ์ศรีเกียรติภูมิ

ของตนเปนใหญ กระทําดวยปรารภตนและส่ิงที่เนื่องดวยตนเปนประมาณในฝายกุศล ไดแก เวน

ช่ัวทําดีดวยการตั้งตนเปนท่ีต้ัง

2 โลกาธิปไตย ถือโลกเปนใหญ คือ ถือความนิยมของชาวโลกเปนใหญหวั่นไหว

ไปตามเสียงนินทาและสรรเสริญ กระทําการดวยปรารภจะเอาใจหมูชน หาความนิยม หรือหวั่น

กลัวเสียงกลาววาเปนประมาณ ในฝายกุศลไดแกเวนช่ัวทําดี ดวยเคารพเสียงหมูชน

3 ธรรมาธิปไตย ถือธรรมเปนใหญ คือ ถือหลักการ ความจริง ความถูกตอง ความ

ดีงาม เหตุผลใหญ กระทําการดวยปรารภส่ิงท่ีไดศึกษาตรวจสอบตามขอเท็จจริง และความคิดเห็น

Page 111: What is life

78

ท่ีรับฟงอยางกวางขวางแจงชัดและพิจารณาอยางดีท่ีสุด เต็มขีดแหงสติปญญาจะมองเห็นไดดวย

ความบริสุทธ์ิใจวา เปนไปโดยชอบธรรม และเพื่อความดีงามเปนประมาณอยางสามัญ ไดแก ทํา

การดวยความเคารพหลักการ กฎ ระเบียบ กติกา

เม่ือรูอยางนี้แลว ถาตองการรับผิดชอบตอรัฐประชาธิปไตย พึงถือหลักขอ 3 คือ

ธรรมาธิปไตย

หลักธรรม 3 ประการนี้ คือ การวางตน เขาถึงหมูชน และหลักความชอบธรรม ใน

การกระทําการเมืองการปกครอง เพื่อหลักสังคมอยางมีความสุข

อริยสัจ 4

อริยสัจ หมายถึง ความจริงอยางประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ, ความจริงท่ีไปจาก

ขาศึก คือ กิเลส, ความจริงท่ีทําปุถุชนเปนอริยะชน

1 ทุกข หมายถึง ความไมสบายกายไมสบายใจ แบงออกเปนได 2 ประเภท คือ

สภาวทุกข ทุกขประจํา ทุกขท่ีมีอยูดวยกันทุกคนไมมีขอยกเวน ไดแก ความเกิด ความแก ความ

ตาย, ปกิณณกทุกข ทุกขจร ทุกขท่ีจรมาเปนคร้ังคราว ไดแก ความเศราโศก ความพรํ่าเพอรําพัน

ความเจ็บปวย ความนอยใจ ความคับแคนใจ ความประสบส่ิงท่ีไมชอบใจ ความพลัดพรากจากส่ิง

ท่ีชอบใจ ความผิดหวังไมไดตามท่ีตองการ

2 สมุทัย หมายถึง เหตุเกิดแหงทุกข ส่ิงท่ีทําใหทุกขเกิดคือตัณหา มี 3 ประเภท

คือ กามตัณหา ความอยากไดอารมณหรือส่ิงท่ีนาใครนาชอบใจ ภวตัณหา ความอยากได อยากดี

อยากมี อยากเปน ความอยากจะเปนอยางนั้นอยางนี้ วิภวตัณหา ความอยากใหอารมณหรือส่ิงท่ี

ไมนาชอบใจวิบัติสูญหาย

3 นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข ทุกขจะดับไดก็ตองดับความดิ้นรนเพื่อจะได เพื่อ

จะมี ไมมีความดิ้นรนอยากไดท่ีเรียกวา ตัณหา ทุกขก็ดับไปหมดนิโรธ ก็คือ พระนิพพาน แต

นิโรธเปนผลของการดับตัณหา ไมใชขอปฏิบัติท่ีใชในการดับ

4 มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติอันเปนทางใหถึงความดับทุกข เปนวิธีปฏิบัติท่ี

ประเสริฐท่ี

ทําใหผูดําเนินตามเปนพระอริยบุคคลได มี 8 ประการ คือ ความเห็นท่ีถูกตอง ความดําริท่ีถูกตอง

วาจาท่ีถูกตอง การงานท่ีถูกตอง การเล้ียงชีวิตท่ีถูกตอง ความพยายามท่ีถูกตอง สติท่ีถูกตอง สมาธิ

ท่ีถูกตอง

อริยสัจ 4 แบงออกเปนสวนเหตุและผล คือ สมุทัยกับมรรค เปนเหตุ ทุกขกับนิโรธ

เปนผล (สมุทัย เปนตัวปญหาเปนเหตุใหทุกขเกิด มรรค เปนตัวปญญาเปนเหตุใหดับทุกขทุกขกับ

นิโรธ เปนผลคือ เปนผลที่เกิดจากเหตุนั้น ๆ)

Page 112: What is life

79

ความเจริญดวยเทคโนโลยีคือสวนหนึ่งการพัฒนาดวยวิธีการท่ีทันสมัยแตอีกสวนหน่ึง

เราก็ตองยอมรับวา เม่ือส่ิงหนึ่งเจริญก็มีอีกส่ิงหนึ่งเส่ือม การรูเทาทันความเจริญเทคโนโลยี คือการ

เขาถึงสวนอยางแทจริง

คุณธรรมและจริยธรรมในการเขาถึงความดี

บุญกิริยาวัตถุ หมายถึง วิธีท่ีจะทําบุญ วิธีท่ีเม่ือทําแลวไดช่ือวาเปนการทําความดีและ

ไดรับผลคือความสุข 1-3 ทานมัย สีลมัย และภาวนามัย 4. อปจายนมัย หมายถึง การทําบุญดวย

การประพฤติถอมตนตอผูใหญ เปนการแสดงความเคารพ นับถือ ยําเกรงตอผูใหญดวยความ

จริงใจ ไมหนาไหวหลังหลอก ไมแสดงอาการกระดางงกระเดื่องแข็งขอตอทาน เรียกงาย ๆ ก็คือ

การเปนคนมีสัมมาคารวะ

1. เวยาวัจจมัย หมายถึง การทําบุญดวยการชวยขวนขวายชวยเหลือในกิจท่ีถูกตอง

เปนการแสดงถึงความเปนคนมีจิตใจเอเฟออาทรตอผูอ่ืน เปนผูมีน้ําใจไมนิ่งดูดายแมในกิจท่ีไมใช

ธุระหนาท่ีของตน แตตองเปนกิจท่ีชอบและเปนประโยชนไมมีโทษแกตนในภายหลัง

2. ปตติทานมัย หมายถึง การทําบุญดายการใหสวนบุญสวนแหงความดี เชนเม่ือได

บําเพ็ญกุศลความดีอยางใดอยางหนึ่ง ก็บอกใหผูอ่ืนทราบดวยไมหวงความดีเชนนั้นไว เพื่อใหเขา

ไดรูจะไดพลอยช่ืนชมยินดีในบุญนั้นแลวอยากจะทําตามอยางบาง

3. ปตตานุโมทนามัย หมายถึง การทําบุญดวยการอนุโมทนาสวนบุญความดีของผูอ่ืน

เปนความพลอยช่ืนชมยินดีในบุญท่ีผูอ่ืนทําแลวบอกใหทราบ หรือแมเขาไมบอกเม่ือไทราบเองก็

เกิดมุทิตาจิตยินดีกับเขาดวย ไมมีความอิจฉาริษยาในบุญความดีของผูอ่ืน มีแตคิดจะทําตามเขา

เม่ือตัวมีโอกาสไดทําเขนนั้นบาง

4. ธัมัสสวนมัย หมายถึง การทําบุญดวยการฟงธรรม คือการฟงเทศน ฟงบรรยาย ฟง

คําแนะนําส่ังสอนของพระสงฆ ครูอาจารย หรือจากผูรูผูมีประสบการณดวยความเตารพต้ังอก

ต้ังใจฟง หวังประโยชนจากการฟงนั้น

5. ธัมมเทสนามัย หมายถึง การทําบุญดวยการแสดงธรรม คือต้ังใจเทศน ต้ังใจ

บรรยาย ต้ังในแนะนําส่ังสอนผูอ่ืนเพื่อใหเขาไดรับประโยชนจากการรับรูความรูจากตนไปฝกฝน

เพื่อใหเกิดปญญา ไดขอคิดสะกิดเตือนใจ ไดแนวทางการดําเนินชีวิตท่ีถูกตอง

6 . ทิฏุชุกรรม หมายถึง การปรับความเห็นใหตรง ให ถูกตอง เปนการ

ประคับประคองความคิดความเห็นของตนใหถูกตองตรงตามความเปนจริง

ในบุญกิริยาวัตถุท้ัง 10 นี้ ทิฏฐิชุกรรม เปนเร่ืองท่ีสําคัญท่ีสุด เพราะเปนเหตุแหงการ

ทําดีหรือช่ัวในบุญกิริยาวัตถุขอท่ีเหลือบุญกิริยาวัตถุ 10 สงเคราะหลงในบุญกิริยาวัตถุ 3 คือ ทาน

Page 113: What is life

80

มัย ปตติทานมัย ธัมมเทสนามัย เปนทานมัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย เปนสีลมัย ภาวนามัย

ปตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย และทิฆุชุกรรม เปนภาวนามัย

คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับการรูเทาทันโลก

ธรรมท่ีครอบงําสัตวโลกอยู และสัตวโลกยอมเปนไปตามธรรมน้ัน เรียกวาโลกธรรม

ในโลกธรรม 8 ประการนี้ อยางใดอยางหนึ่งเกิดข้ึนควรพิจารณาวา ส่ิงนี้เกิดข้ึนแลวแก

เรา ก็แตวามันไมเท่ียง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรรูตามที่เปนจริงอยาใหมัน

ครอบงําจิตได คือ อยายินดีในสวนท่ีนาปรารถนา อยายินรายในสวนท่ีไมนาปรารถนา

โลกธรรม หมายถึง เร่ืองท่ีเปนธรรมดาของโลก เปนส่ิงอยูคูกับโลก ไมมีใครสามารถ

หนีพนได ไมวาจะตองการหรือไมก็ตามจําตองประสบดวยกันทุกคน มี 8 ประการ คือ มีลาภ

เส่ือมลาภ มียศ เส่ือมยศ นินทา สรรเสริญ สุข ทุกข

โลกธรรม แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ อิฏฐารมณ อารมณท่ีคนโดยท่ัวไปตองการ

ไดแก มีลาภ มียศ สรรเสริญ และสุข อนิฏฐารมณ อารมณท่ีคนโดยท่ัวไปไมตองการ ไดแก

เส่ือมลาภ เส่ือมยศ นินทา และทุกข

หลักปฏิบัติเม่ือประสบกับโลกธรรมเหลานี้ ตองรูจักทําใจใหหนักแนน วางตนวางใจให

เปนกลาง ไมรูสึกดีอกดีใจจนเกินไปเม่ือไดรับอิฏฐารมณ ไมรูสึกเศราเสียใจจนเกินไปเม่ือไดรับ

อนิฏฐารมณ เม่ือรูจักปรับสภาพใจไดเชนนี้ ก็จะไดไมตองทุกขมากเม่ือพลัดพรากจากของที่รัก

ชอบใจหรือพบความผิดหวัง

คุณธรรมและจริยธรรมหลีกเล่ียงทางแหงความเส่ือม

อบายมุข หมายถึง ปากแหงความเส่ือม ทางแหงความพินาศฉิบหาย สาเหตุท่ีเม่ือทํา

แลวใหผลเปนความเส่ือมเสีย คือ ผูใดปฏิบัติตนตามแนวทางนี้ ช่ือวากําลังหลงเดินทางไปสูความ

เส่ือมความฉิบหาย

Page 114: What is life

81

1. ดื่มน้ําเมา คือ ชอบด่ืมสุรา, เบียร, ไวน, สาโท, อุ, กระแช เปนตน รวมถึงส่ิง

เสพติดอ่ืน ๆ ท่ีมีผลรายตอรางกาย เชน บุหร่ี กัญชา ฝน ยาบา ยาอี สารระเหย เปนตน ผูท่ีเสพ

ของมึนเมาเหลานี้ ยอมไดรับความเส่ือม 6 ประการ คือ

1.1 เปนตนเหตุใหใหเสียทรัพย เพราะส่ิงเหลานี้ตองใชเงินซ้ือหามา แมบางโอกาส

จะมีคนเล้ียง แตส่ิงเหลานี้เปนส่ิงเสพติเม่ือติดก็ยากท่ีจะเลิกละได ในท่ีสุดก็ตองซ้ือเอง

1.2 เปนตนเหตุแหงการทะเลาะวิวาท เม่ือดื่มหรือเสพส่ิงเหลานี้จนมึนเมา เกิดการ

กระทบกระท่ังกันแมเร่ืองเล็กนอยก็ขาดสติท่ีจะยับยั้งช่ังใจถึงผลรายท่ีจะตามมา กอเหตุทะเลาะ

วิวาททํารายกันหนักถึงข้ึนฆากันก็มี

1.3 เปนตนเหตุแหงโรครายตาง ๆ เพราะส่ิงเหลานี้มีผลรายทําลายภาพ แตท่ี

รายแรงก็คือโรคเอดส เพราะผลสํารวจในจํานวนผูปวยชายท่ีติดโรคนี้ เกิดจากการเท่ียวสําสอนใน

ตอนเมา ทําใหลือปองกันตัว

1.4 เปนตนเหตุใหถูกติเตียน คนท่ีติดสุรายาเมาตาง ๆ สามารถทําส่ิงท่ีนาตําหนิติ

เตียนไดอยางมากมาย ไมวาจะเปนตอนเมาหรือตอนอยากเมา เชน ดาพอตีแม เท่ียวระรานผูอ่ืน

เปนตน การกระทําเหลานี้เปนเหตุใหถูกตําหนิติเตียนเสียช่ือเสียง

1.5 เปนตนเหตุใหไมรูจักอาย คนเมาถาถึงขีดสุดจะขาดความละอาย กลายเปนหนา

ดานในเวลาเมา อวัยวะของสงวนในรางกายท่ีควรปกปด แตพอเมาสามารถเดินแกผาผอนอวดใคร

ตอใครได

1.6 เปนตนเหตุใหทอนปญญา ตอนยังไมเมาคนยอมมีความรูสึกผิดชอบช่ัวดี จะทํา

ส่ิงใดก็ใชสติปญญาพิจารรากอนแตพอเมาแลวปญญาท่ีรูจักผิดหรือชอบยอมไมมี ทําอะไรดวย

ความหุนหันพลันแลน

2. เท่ียวกลางคือ คือ ตามปกติธรรมดาของคนโดยท่ัวไปเวลากลางวันเปนชวงเวลา

ของการทําหนาท่ีตาง ๆ ของตน เชน เรียนหนังสือ ทําการงานเพ่ือหาเล้ียงชีพ เวลากลางคืนเปน

ชวงเวลาของการพักผอนหยอนกายใจจากการทํางาน แตคนชอบเท่ียวกลับเอาเวลาพักผอนเปนเวลา

เท่ียวเตร สรวลเสเฮฮาตามท่ีตาง ๆ การเท่ียวกลางคืน แมจะเปนการคลายเคลียดจากการทํางานวิธี

หนึ่งแตก็ตองเปนไปอยางพอเหมาะพอควร ไมใหดึกดื่นมากนัก และท่ีสําคัญตองไมบอยเกินไป

เพราะการเท่ียวกลางคืน เปนหนทางนําไปสูความเส่ือม 6 ประการ คือ

2.1 ช่ือวาไมคุมครองรักษาตน เพราะการเท่ียวกลางคืน มีอันตรายอยูรอบดาน อาจ

ไดรับอุปทวเหตุโดยไมคาดคิดไดดังจะเห็นไดจากขาวหนังสือพิมพอยูบอย ๆ

2.2 ช่ือวาไมคุมครองรักษาลูกเมีย เม่ือหวัหนาครอบครัวไมอยูเปนการเปด

โอกาสใหโจรผูรายเขาบานไดงายข้ึนนอกจากน้ันยังถือวาเปนแบบอยางท่ีไมดีของลูก เพราะลูก

อาจจะจําเอาไปทําตามบาง จะสอนกไ็มไดดวยตัวเองกย็ังออกเท่ียวอยู

Page 115: What is life

82

2.3 ช่ือวาไมรักษาทรัพยสมบัติ การเท่ียวเตรเปนการเสียทรัพยไปในทางท่ีไมจําเปน

เม่ือไมมีคนอยูบานก็เปดโอกาสใหขโมยเขามาลักทรัพยสินไดงายข้ึน

2.4 เปนท่ีระแวงสงสัยของคนอ่ืน คนชอบเท่ียวกลางคืน มักเปนท่ีระแวงสงสัยของ

คนอ่ืนวา เปนผูทํากรรมช่ัวตาง ๆ มีโจรกรรมเปนตน ท้ังท่ีตนไมไดทําหรือไมมีสวนรูเห็น

2.5 มักถูกใสความ เม่ือมีเหตุรายเกิดข้ึน คนเท่ียวกลางคืนมักถูกเพงเล็งใสราย

เพราะมีความระแวงสงสัยเปนทุนเดิมอยูแลว

2.6 ไดรับความลําบาก ผลของการหมกมุนอยูในการเท่ียวเตรเฮฮา ทําใหไดรับ

ความยากลําบากในการดําเนินชีวิตมากมายหลายอยางทันตาเห็น เชน ขาดเงิน มีเร่ืองราวคดีความ

ถึงข้ึนโรงข้ึนศาล เปนตน

3. เท่ียวดูการละเลน โทษของการเท่ียวดูการเลนเพลิดเพลินในท่ีตาง ๆ ยอมเกิดข้ึน

เร่ิมต้ังแตกอนไป พวกนี้จะมีนิสัยเจาสําอาง ตองมีการแตงเนื้อตัวใหตามสมัยนิยม ซ่ึงส่ิงเหลานี้

ลวนเปนเร่ืองท่ีตองเสียเงินทองจับจายซ้ือหามาใช ถามัวสนุกสนานเพลิดเพลินกับการเลนการดู ก็

เสียเวลาเสียการเสียงานในหนาท่ีของตนเปนตน โทษของการเท่ียวดูเท่ียวเลนมหรสพมี 6 ประเภท

ตามประเภทของมหรสพท่ีไปเท่ียวดู คือ

3.1 มีการเตนรําท่ีไหนไปที่นั่น

3.2 มีการขับรองท่ีไหนไปที่นั่น

3.3 มีการดีดสีตีเปาขับประโคมท่ีไหนไปที่นั่น

3.4 มีเสภาท่ีไหนไปที่นั่น

3.5 มีการบรรเลงเพลงท่ีไหนไปที่นั่น

3.6 มีเถิดเทิงสนุกสนานท่ีไหนไปที่นั่น

4. เลนการพนัน การพนันเปนการแขงขันกันดวยทุนทรัพย ท้ังท่ีเปนเงินทอง

ส่ิงของมีคาอ่ืน ๆ คนติดการพนันทานวายากท่ีจะต้ังตัวได เพราะหามาไดเทาไหรก็หมาดไปกับการ

เลนพนันขันตอตาง ๆ เชน หวย บอล ไพ ไฮโล มา มวย และอ่ืน ๆ อีกมากมาย สุดแมแตจะสรร

หามาเลนกัน ดังนั้นการพนันจึงใหโทษทันตาเห็น 6 ประการ คือ

4.1 เม่ือชนะยอมกอเวร ผูเลนทุกคนตางหวังเปนผูชนะไดเงินดวยกันท้ังนั้น แต

การพนันตองมีผูแพผูชนะ เมื่อเปนเชนนี้ก็ตองมีการแกมือแกตัวกันอยูรํ่าไปไมรูจบส้ิน ผูไดอยากจะ

เลิกแตผูเสียก็ไมยอม เพราะอยากจะเลนเอาคืน

4.2 เม่ือแพยอมเสียดายทรัพย เม่ือเลนแพ ก็ตองเปนผูจาย ตอนนี้ชักจะรูสึก

เสียดาย

ทรัพยสินเงินทองท่ีเสียไปทีก่วาจะไดมากด็วยความยากลําบาก

4.3 ทรัพยฉิบหายทันตาเห็น ทานกลาววา โจรปลน 10 คร้ัง เสียหายไมเทาไฟ

ไหมคร้ังเดียว ไฟไหม 10 คร้ังยังวอดวายไมเทาคนติดการพนัน เพราะโจรปลน หรือไฟไหมยัง

Page 116: What is life

83

พอเหลือทรัพยสินอะไร ๆ ไวบาง แตคนติดการพนันต้ังแตเร่ิมแรกก็เสียทรัพยสินเร่ือยไป จนถึง

สุดทายไมเหลืออะไรติดตัวเลย

4.4 ไมมีใครเช่ือถือถอยคํา คําพูดของคนติดการพนันยอมไมมีความหนักแนน

เพราะความประพฤติของตัวเปนเหตุทําใหขาดความนาเช่ือถือทางสังคม

4.5 เปนท่ีหม่ินประมาทของเพ่ือน เม่ือคนอ่ืนรูวาเปนนักพนันตัวยง คนแมจะ

เปนเพื่อกัน ก็พยายามตีตัวออกหาง เพราะเกรงวาไมวันไดก็วันหนึ่ง ตองออกปากขอยืมเงินทอง

เพราะการพนันเปนเหตุ

4.6 ไมมีใครประสงคแตงงานดวย นักเลนพนันไมวา ชาย – หญิง ไมมีใคร

อยากไดเปนคูครอง ไปเปนพอ – แมของลูกตนเพราะกลัววาจะเล้ียงครอบครัวไมรอด พอแมท่ีติด

การพนัน ยังเปนท่ีเส่ือมเสียไปถึงลูกดวย เพราะคําโบราณมักกลาววา ลูกไมยอมหลนไมไกลตน

5 คบคนชั่วเปนมิตร การเลือกคบหาสมาคมกับบุคคลอ่ืนเปนส่ิงสําคัญ เพราะถา

รูจักเลือกคบคนดีก็ดีไป แตถาสมคบกับคนชั่ว คนไมมดีตัวก็พลอยเดือดรอนไปดวย เพราะทาน

กลาววา คนท่ีคบกันไดนานก็เพราะมีอุปนิสัยท่ีคลายคลึงกันโดยมากคือคบคนเชนใด ก็เปนเชนกับ

คนท่ีคบ การคลคนช่ัวเปนเพื่อนมีโทษตามบุคคลท่ีคบ 6 ประเภท คือ

5.1 คบนักเลงการพนัน ก็ชักชวนในทางเลนพนัน

5.2 คบคนเจาชู ก็บักชวนในทางเจาชู สําสอนทางเพศ

5.3 คบคนข้ีเหลาเมายา ก็ชักชวนดื่มสุราเคร่ืองดองของมึนเมาอ่ืน ๆ

5.4 คบคนข้ีฉอหลอกลวง ก็ชักชวนใหหลอกลวงผูอ่ืนหากิน

5.5 คบคนข้ีโกง ก็ชักชวนใหคดโกงผูอ่ืนดวยวิธีตาง ๆ

5.6 คบนักเลงหัวไม ก็ชักชวนเท่ียวเกะกะระรานทะเลาะวิวาทผูอ่ืนไปท่ัว

6 เกียจครานทําการงาน ความเกียจคราน เปนอุปสรรคท่ีขัดขวางความเจริญกาวหนาอัน

ยิ่งใหญของมนุษย ผูท่ีไมประสบความสําเร็จในชีวิตหนาท่ีการงาน หรือไดรับความยากลําบาก

เพราะเร่ืองตาง ๆ ก็เพราะมีความเกียจครานเปนตัวคอยฉุดร้ังใหจมปลักอยูกับความลมเหลว ความ

เส่ือมท่ีเกิดจากความเกียจคราน ก็ดวยมัวแตอางเหตุตาง ๆ แลวไมยอมทําการงาน ผลาญเวลาให

ส้ินไปโดยเปลาประโยชน เปนเหตุใหการงานโภคทรัพย หรือประโยชนอยางอ่ืนไมสามารถ

เกิดข้ึนได ขออางของคนเกียจครานมี 6 ประการ คือ

6.1 มักอางวาหนาวเกินไป แลวไมยอมทําการงาน

6.2 มักอางวาเวลารอนเกินไป แลวไมยอมทําการงาน

6.3 มักอางวาเวลาเย็นเกินไป แลวไมยอมทําการงาน

6.4 มักอางวาเวลาเชาเกินไป แลวไมยอมทําการงาน

6.5 มักอางวาหิวเกินไป แลวไมยอมทําการงาน

6.6 มักอางวากระหายเกินไป แลวไมยอมทําการงาน

Page 117: What is life

84

ผูหวังความเจริญกาวหนาในชีวิต ครอบครัวจะอยูกันดวยความผาสุก ควรงดเวนจากเหตุ

แหงความเส่ือม คือ อบายมุขท้ัง 6 ประการนี้

สรุป

ชีวิตท้ังชีวิตบนโลกนี้ไมวาสัตวหรือบุคคลยอมมีเปาหมายสูงสุดของชีวิต คือ ความสุข

ชีวิตมนุษยในสังคมนั้นยอมมีความไมเทาเทียมกันในเร่ืองคุณภาพของชีวิตคุณธรรมจริยธรรม

เพราะระดับแหงการรับอารยะธรรมสังคมโลกดวยอํานาจกิเลสตัณหา การพัฒนาในรูปแบบแหง

การพัฒนาซ่ึงมนุษยตองหันมาศึกษาหลักการดําเนินชีวิตอยางแทจริงเพื่อชีวิตท่ีสันติสุข และสังคม

มีสันติภาพ ดวยการศึกษาและเขาในชีวิตตามธรรมชาติ หรือกฎแหงกรรม ( ความดี - ความชั่ว )

ของทุกศาสนาก็จะเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางพอดี ซ่ึงตรงกับหลักทฤษฎีสําคัญตาม

แนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เร่ืองความพอเพียงของชีวิต ซ่ึงเปนการทําให

ชีวิตมีความสุขอยางถาวรโดยเปนการไมเบียดเบียนหรือทําลายรากฐานแหงชีวิตเดิม เม่ือชีวิตมี

ความสุขสังคมยอมมีความสงบสุขไมเดือดรอนชีวิตก็มีความสุขและสังคมก็มีสันติภาพอยางแทจริง