1
สถานการณการกัดเซาะชายฝงหาดประพาส จังหวัดระนอง Coastal Erosion Situation in Praphat Beach, Ranong Province ปรารพ แปลงงาน ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต Plarop Plangngan ชายฝงทะเลเปนพื้นที่ที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงมากตลอดเวลาและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ในรูปแบบการสะสมตัว (Depositional coast) และการกัดเซาะ (Erosional coast) เกิดขึ้นมีสาเหตุจาก ลักษณะทางธรณีวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติ (Natural processes) (นวรัตน, 2544 ; สิน และ คณะ, 2545) เชน ความแรงคลื่น ลม และกระแสน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มขึ้นของ ระดับน้ำทะเล การขาดความสมดุลของมวลทรายที่เคลื่อนที่ตามแนวชายฝง (อดุลย และคณะ, 2550) และกิจกรรมของมนุษย สงผลใหความสมดุลตามธรรมชาติของชายฝงถูกรบกวนอยางตอเนื่อง และเปน ตัวเรงใหแนวชายฝงทะเลมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการเกิดการกัดเซาะชายฝง (erosion) การแกปญหาการกัดเซาะชายฝงตองใหความสำคัญตอวิธีการที่สอดคลองกับระบบหรือกระบวนการทาง ธรรมชาติ หรือเรียกวา “การทำงานรวมกับธรรมชาติ และ “สมดุลของตระกอนทราย” เพื่อไมใหเกิด ปญหาแบบลูกโซ” (สมบูรณ , 2549) การกัดเซาะหาดประพาสเกิดขึ้นระยะทางยาวประมาณ 8 กม. อัตรา 2-3 เมตรตอป คลื่นและกระแสน้ำในฤดูมรสุมเปนตัวการหลักที่ทำใหเกิดการกัดเซาะชายฝคำนำ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความลาดชันและลักษณะสัณฐานของชายหาด บริเวณหาดประพาส จังหวัดระนอง โดยการทําภาพหนาตัดความสูง-ต่ำดวยวิธีระบบแนวเล็งกลองระดับ เก็บขอมูล ในเดือนมกราคม 2557 และ 2558 และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงดวยภาพถายทางอากาศและภาพดาวเทียมป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาลักษณะสัณฐานของ ชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝง ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะเปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุด ประมาณ 0.76 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 เปนระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร และระยะทางดิ่งประมาณ 0.50 เมตร การเปลี่ยนแปลงมวลทราย พบวา ในป พ.ศ. 2558 ปริมาณ มวลทรายสุทธิลดลงประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง มีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตรตอป และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะในระดับที่มากขึ้นคือบริเวณตอนเหนือหางจากปากคลองกำพวนมาทางทิศใตประมาณ 500 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร มีอัตรา การกัดเซาะเฉลี่ย 2.96 เมตรตอป และเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดินเปนแนวกวางประมาณ 5.50 เมตรตอป แนวทางการแกปญหาโดยการการเติมทรายชายหาดและการฟนฟูระบบนิเวศปาชายหาด นาจะเปนแนวทางในการปองกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลได วัตถุประสงค ศึกษาและติดตามรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาดและปริมาณมวลทรายชายฝในชวง 2 ชวงฤดูกาล และการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝงทะเล โดยใชขอมูลจากการสำรวจระยะไกล (Remotely sensed data) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System) ในพื้นที่หาดประพาส อุทยานแหงชาติแหลมสน จังหวัดระนอง การสำรวจภาคสนาม(Field Survey) โดยสำรวจระดับสูง-ต่ำของชายหาด และจัดทําภาพตัดขวาง ชายหาด (Beach Profile) ดวยวิธีระบบแนวเล็งดวยกลองระดับ วิเคราะหเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง สัณฐานชายหาด ระหวางป พ.ศ. 2557- 2558 2. การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝขอมูลคือ ภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2549 และดาวเทียม THAICHOTE ป พ.ศ.2556 ปรับแกขอมูลเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) โดยการกำหนดตําแหนงจุดควบคุม ภาคพื้นดิน (G.C.P) ดวยวิธี Image Geometric Correction) สรางเสนขอบเขตแนวชายฝง โดยกำหนดขอบเขตจากการอางอิงกับแนวสุดทายของแถวตนไม ที่ปรากฏ และวิเคราะหพื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะชายฝงหรือการทับถมชายฝงโดยกระบวนการซอนทับขอมูล เชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร คํานวณอัตราการกัดเซาะชายฝงเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของ สิน สินสกุลและคณะ (2545) คือ การกัดเซาะรุนแรง (กัดเซาะ> 5 เมตรตอป) การกัดเซาะปานกลาง (กัดเซาะ 1-5 เมตรตอป) การสะสมตัว (>1 เมตรตอป) ชายฝงคงสภาพ (เปลี่ยนแปลงไมเกิน 1 เมตรตอป) 1 2.1 2 2.2 บทคัดยอ ผลการศึกษา สรุปและวิจารณผล ผลการศึกษา วิธีการศึกษา นวรัตน ไกรพานนท. 2544. การกัดเซาะชายฝงทะเล. ปญหาและแนวทางการจัดการ. วารสารอนุรักษดินและน้ำ. 17 (1) : 23-54. สิน สินสกุล, สุวัฒน ติยะไพรัช, นิรันดร ชัยมณี, และบรรเจิด อรามประยูร. 2545. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝงอันดามัน. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี. สมบูรณ พรพิเนตพงศ. 2549. กระบวนการของชายฝงและผลกระทบจากงานวิศวกรรมชายฝง. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. แหลงที่มา: http:// biolawcom.de/?/article/201#content_1, 14 มิถุนายน 2555 อดุลย เบ็ญนุย, รุจ ศรีวิไล, พยอม รัตนมณี, อานันต คำภีระ, ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และพีระพิทย พืชมงคล. 2550. การประยุกตใชขอมูลระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดปตตานี. ศูนยภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคใต. 1 ลักษณะสัณฐานชายฝสัณฐานของชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงมากในฤดูมรสุม ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะ เปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุดประมาณ 0.76 เมตร และเกิดกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ในระยะทาง ดิ่งประมาณ 0.50 เมตร และระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร (ภาพที่ 1) 2 ปริมาณมวลทราย 3 การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝการเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายระหวางแนวสำรวจ พบวา ในป พ.ศ. 2558 มีปริมาณทรายประมาณ 11,073.95 ลูกบาศกเมตร ซึ่งนอยกวาป พ.ศ. 2557 ประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร จะเห็นวา ปริมาณมวลทรายสุทธิลดลง 2,576.68 ลูกบาศกเมตร แสดงวามวลทรายเคลื่อนยายออกจากหนา หาดกวาการเติมของมวลทราย (ตารางที่ 1) การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในชวงระยะเวลา 7 ป ระหวางป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 พบวา การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะและรูปแบบการสะสมตัว พื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะ ชายฝงประมาณ 48,451.14 ตารางเมตร (30.28 ไร) และพื้นที่สะสมตัวประมาณ 27,408.94 ตาราง เมตร (17.13 ไร) (ภาพที่ 2) การคำนวนการเปลี่ยนแปลงชายฝงมีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตร ตอป มีแนวกัดเซาะเขาในแผนดินกวางสุดประมาณ 32.6 เมตร จัดอยูในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป จัดอยูในรูปแบบชายฝงสะสมตัว ซึ่งการสะสมตัวเกิดขึ้นมากที่สุดบริเวณปากคลองกำพวน ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณมวลทราย ม.ค. 2557 ม.ค. 2558 4.0 3.0 2.0 1.0 00 -1.0 -2.0 20 40 60 80 100 120 140 ระดับความสูง (เมตร) ความกวางของหาด (เมตร) แนวสำรวจที่ 1 ม.ค. 2557 ม.ค. 2558 4.0 3.0 2.0 1.0 00 -1.0 -2.0 20 40 60 80 100 120 140 ระดับความสูง (เมตร) ความกวางของหาด (เมตร) แนวสำรวจที่ 2 11,073.95 ปริมาณทรายเพิ่มขึ้น ปริมาณทราย (ลูกบาศกเมตร) ม.ค.-57 ม.ค.-58 ปริมาณทรายสุทธิ ปริมาณทรายลดลง 13,650.63 3.95 2,580.63 -2,576.68 การเปลี่ยนแปลงสัณฐานตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลมเปนตัวการหลัก และเกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงที่ไมสมดุล ทำใหในป พ.ศ. 2558 ชายหาด ถูกกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ทั้งระยะทางดิ่งและทางราบ เมื่อพิจารณาอัตราการกัดเซาะ พบวา การกัดเซาะระดับปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร โดยเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดิน เปนแนวกวางประมาณ 5.5 เมตรตอป และมีชายฝงสะสมตัวมากบริเวณตอนเหนือของหาด ซึ่งแสดง ใหเห็นวาในชวงเวลาที่ทำการศึกษาหาดประพาสมีการกัดเซาะเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้น สาเหตุหลักของการกัดเซาะสวนใหญเกิดจากคลื่นลมแรงในฤดูมรสุม ทำใหเกิดการขาดความสมดุลของ มวลทรายชายฝง การรบกวนพื้นที่ชายฝง การใชประโยชนที่ดินที่ไมเหมาะสม สงผลตอระบบนิเวศ ชายฝงที่ทำหนาที่เปนแนวปองกันคลื่นและลม การปองกันชายฝงคือการทำใหชายฝงเกิดเสถียรภาพ (coastal stabilization) ชายฝงที่ยังไมเขาสูสมดุล (equilibrium) จึงไมเสถียรภาพ แนวทางการแก ปญหาโดยการการเติมทรายและการฟนฟูระบบนิเวศชายฝง จึงนาจะเปนแนวทางการปองกันและ บรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลและสามารถจัดการใหชายฝงมีเสถียร ภาพในระยะยาวได ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงชายฝงระหวางป พ.ศ. 2549-พ.ศ. 2556 (ก) พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะ รุนแรง (ข) (ก) (ข) ภาพที่ 1 ลักษณะสัณฐานชายหาด บริเวณแนวสำรวจที่ 1 (ก) และแนวสำรวจที่ 2 (ข) (ก) (ข) เอกสารอางอิง

ศูนย์ภูเก็ต

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ศูนย์ภูเก็ต

สถานการณการกัดเซาะชายฝงหาดประพาส จังหวัดระนอง

Coastal Erosion Situation in Praphat Beach, Ranong Province

ปรารพ แปลงงาน

ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ตPlarop Plangngan

ชายฝงทะเลเปนพื้นที่ที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงมากตลอดเวลาและเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในรูปแบบการสะสมตัว (Depositional coast) และการกัดเซาะ (Erosional coast) เกิดขึ้นมีสาเหตุจากลักษณะทางธรณีวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติ (Natural processes) (นวรัตน, 2544 ; สิน และคณะ, 2545) เชน ความแรงคลื่น ลม และกระแสน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล การขาดความสมดุลของมวลทรายที่เคลื่อนที่ตามแนวชายฝง (อดุลย และคณะ, 2550) และกิจกรรมของมนุษย สงผลใหความสมดุลตามธรรมชาติของชายฝงถูกรบกวนอยางตอเนื่อง และเปนตัวเรงใหแนวชายฝงทะเลมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการเกิดการกัดเซาะชายฝง (erosion) การแกปญหาการกัดเซาะชายฝงตองใหความสำคัญตอวิธีการที่สอดคลองกับระบบหรือกระบวนการทางธรรมชาติ หรือเรียกวา “การทำงานรวมกับธรรมชาติ และ “สมดุลของตระกอนทราย” เพื่อไมใหเกิดปญหาแบบลูกโซ” (สมบูรณ , 2549) การกัดเซาะหาดประพาสเกิดขึ้นระยะทางยาวประมาณ 8 กม. อัตรา 2-3 เมตรตอป คลื่นและกระแสน้ำในฤดูมรสุมเปนตัวการหลักที่ทำใหเกิดการกัดเซาะชายฝง

คำนำ

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความลาดชันและลักษณะสัณฐานของชายหาด บริเวณหาดประพาส จังหวัดระนอง โดยการทําภาพหนาตัดความสูง-ต่ำดวยวิธีระบบแนวเล็งกลองระดับ เก็บขอมูลในเดือนมกราคม 2557 และ 2558 และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงดวยภาพถายทางอากาศและภาพดาวเทียมป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาลักษณะสัณฐานของชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝง ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะเปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุดประมาณ 0.76 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 เปนระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร และระยะทางดิ่งประมาณ 0.50 เมตร การเปลี่ยนแปลงมวลทราย พบวา ในป พ.ศ. 2558 ปริมาณมวลทรายสุทธิลดลงประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง มีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตรตอป และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะในระดับที่มากขึ้นคือบริเวณตอนเหนือหางจากปากคลองกำพวนมาทางทิศใตประมาณ 500 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร มีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.96 เมตรตอป และเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดินเปนแนวกวางประมาณ 5.50 เมตรตอป แนวทางการแกปญหาโดยการการเติมทรายชายหาดและการฟนฟูระบบนิเวศปาชายหาด นาจะเปนแนวทางในการปองกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลได

วัตถุประสงค ศึกษาและติดตามรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาดและปริมาณมวลทรายชายฝงในชวง 2 ชวงฤดูกาล และการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝงทะเล โดยใชขอมูลจากการสำรวจระยะไกล (Remotely sensed data) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System) ในพื้นที่หาดประพาส อุทยานแหงชาติแหลมสน จังหวัดระนอง

การสำรวจภาคสนาม(Field Survey) โดยสำรวจระดับสูง-ต่ำของชายหาด และจัดทําภาพตัดขวางชายหาด (Beach Profile) ดวยวิธีระบบแนวเล็งดวยกลองระดับ วิเคราะหเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสัณฐานชายหาด ระหวางป พ.ศ. 2557- 2558 2. การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝง ขอมูลคือ ภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2549 และดาวเทียม THAICHOTE ป พ.ศ.2556 ปรับแกขอมูลเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) โดยการกำหนดตําแหนงจุดควบคุมภาคพื้นดิน (G.C.P) ดวยวิธี Image Geometric Correction) สรางเสนขอบเขตแนวชายฝง โดยกำหนดขอบเขตจากการอางอิงกับแนวสุดทายของแถวตนไมที่ปรากฏ และวิเคราะหพื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะชายฝงหรือการทับถมชายฝงโดยกระบวนการซอนทับขอมูลเชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร คํานวณอัตราการกัดเซาะชายฝงเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของ สิน สินสกุลและคณะ (2545) คือ การกัดเซาะรุนแรง (กัดเซาะ> 5 เมตรตอป) การกัดเซาะปานกลาง (กัดเซาะ 1-5 เมตรตอป) การสะสมตัว (>1 เมตรตอป) ชายฝงคงสภาพ (เปลี่ยนแปลงไมเกิน 1 เมตรตอป)

1

2.1

2

2.2

บทคัดยอ

ผลการศึกษา

สรุปและวิจารณผลผลการศึกษา

วิธีการศึกษา

นวรัตน ไกรพานนท. 2544. การกัดเซาะชายฝงทะเล. ปญหาและแนวทางการจัดการ. วารสารอนุรักษดินและน้ำ. 17 (1) : 23-54.

สิน สินสกุล, สุวัฒน ติยะไพรัช, นิรันดร ชัยมณี, และบรรเจิด อรามประยูร. 2545. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝงอันดามัน. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี.

สมบูรณ พรพิเนตพงศ. 2549. กระบวนการของชายฝงและผลกระทบจากงานวิศวกรรมชายฝง. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. แหลงที่มา: http:// biolawcom.de/?/article/201#content_1, 14 มิถุนายน 2555

อดุลย เบ็ญนุย, รุจ ศรีวิไล, พยอม รัตนมณี, อานันต คำภีระ, ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และพีระพิทย พืชมงคล. 2550. การประยุกตใชขอมูลระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดปตตานี. ศูนยภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคใต.

1 ลักษณะสัณฐานชายฝง

สัณฐานของชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงมากในฤดูมรสุม ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะเปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุดประมาณ 0.76 เมตร และเกิดกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ในระยะทางดิ่งประมาณ 0.50 เมตร และระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร (ภาพที่ 1)

2 ปริมาณมวลทราย

3 การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝง

การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายระหวางแนวสำรวจ พบวา ในป พ.ศ. 2558 มีปริมาณทรายประมาณ 11,073.95 ลูกบาศกเมตร ซึ่งนอยกวาป พ.ศ. 2557 ประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร จะเห็นวา ปริมาณมวลทรายสุทธิิลดลง 2,576.68 ลูกบาศกเมตร แสดงวามวลทรายเคลื่อนยายออกจากหนาหาดกวาการเติมของมวลทราย (ตารางที่ 1)

การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในชวงระยะเวลา 7 ป ระหวางป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 พบวาการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะและรูปแบบการสะสมตัว พื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะชายฝงประมาณ 48,451.14 ตารางเมตร (30.28 ไร) และพื้นที่สะสมตัวประมาณ 27,408.94 ตารางเมตร (17.13 ไร) (ภาพที่ 2) การคำนวนการเปลี่ยนแปลงชายฝงมีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตรตอป มีแนวกัดเซาะเขาในแผนดินกวางสุดประมาณ 32.6 เมตร จัดอยูในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป จัดอยูในรูปแบบชายฝงสะสมตัว ซึ่งการสะสมตัวเกิดขึ้นมากที่สุดบริเวณปากคลองกำพวน

ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณมวลทราย

ม.ค. 2557ม.ค. 2558

4.03.02.01.000-1.0-2.0

20 40 60 80 100 120 140

ระดับ

ความ

สูง (เ

มตร)

ความกวางของหาด (เมตร)

แนวสำรวจที่ 1

ม.ค. 2557ม.ค. 2558

4.03.02.01.000-1.0-2.0

20 40 60 80 100 120 140

ระดับ

ความ

สูง (เ

มตร)

ความกวางของหาด (เมตร)

แนวสำรวจที่ 2

11,073.95ปริมาณทรายเพิ่มขึ้น

ปริมาณทราย (ลูกบาศกเมตร)

ม.ค.-57 ม.ค.-58 ปริมาณทรายสุทธิปริมาณทรายลดลง13,650.63 3.95 2,580.63 -2,576.68

การเปลี่ยนแปลงสัณฐานตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลมเปนตัวการหลัก และเกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงที่ไมสมดุล ทำใหในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ทั้งระยะทางดิ่งและทางราบ เมื่อพิจารณาอัตราการกัดเซาะ พบวาการกัดเซาะระดับปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร โดยเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดินเปนแนวกวางประมาณ 5.5 เมตรตอป และมีชายฝงสะสมตัวมากบริเวณตอนเหนือของหาด ซึ่งแสดงใหเห็นวาในชวงเวลาที่ทำการศึกษาหาดประพาสมีการกัดเซาะเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้นสาเหตุหลักของการกัดเซาะสวนใหญเกิดจากคลื่นลมแรงในฤดูมรสุม ทำใหเกิดการขาดความสมดุลของมวลทรายชายฝง การรบกวนพื้นที่ชายฝง การใชประโยชนที่ดินที่ไมเหมาะสม สงผลตอระบบนิเวศชายฝงที่ทำหนาที่เปนแนวปองกันคลื่นและลม การปองกันชายฝงคือการทำใหชายฝงเกิดเสถียรภาพ (coastal stabilization) ชายฝงที่ยังไมเขาสูสมดุล (equilibrium) จึงไมเสถียรภาพ แนวทางการแกปญหาโดยการการเติมทรายและการฟนฟูระบบนิเวศชายฝง จึงนาจะเปนแนวทางการปองกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลและสามารถจัดการใหชายฝงมีเสถียรภาพในระยะยาวได

ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงชายฝงระหวางป พ.ศ. 2549-พ.ศ. 2556 (ก) พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะ รุนแรง (ข)

(ก) (ข)

ภาพที่ 1 ลักษณะสัณฐานชายหาด บริเวณแนวสำรวจที่ 1 (ก) และแนวสำรวจที่ 2 (ข) (ก) (ข)

เอกสารอางอิง