52
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช การศึกษาต้นทุนทางธรรมชาติ โดยใช้โปรแกรม I n VEST ปีงบประมาณ 2557

InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ

Embed Size (px)

Citation preview

สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพืน้ที่คุ้มครอง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

การศึกษาต้นทุนทางธรรมชาติ

โดยใช้โปรแกรม InVEST

ปีงบประมาณ 2557

เป้าหมายของโครงการ

• จัดท าข้อมูลนิเวศบริการในพื้นที่ทีค่าดว่าจะมีผลกระทบต่อพื้นที่คุ้มครอง

• ท าแผนที่เพื่อฉายภาพการเปลี่ยนแปลงของนิเวศบริการในอนาคต

• เพื่อประเมินมูลค่าของนิเวศบริการทั้งในปัจจุบัน และมูลค่าในอนาคต

1. พื้นที่ศึกษา เกาะตะรุเตา อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จ.สตูล

2. พื้นที่ศึกษา เขื่อนแม่วงก ์

พื้นที่ศึกษา : ภาพถ่ายดาวเทียม

3. พื้นที่ศึกษา ลุ่มน้ าไทยสามัคคี

4. พื้นที่ศึกษา อุทยานแห่งชาติน้ าหนาว

วิธีการศึกษา

1. จัดท าข้อมูลนิเวศบริการในพื้นที่ที่เป็นกรณีศึกษา โดยการศึกษาการ

เก็บกักคาร์บอน และปริมาณน้ า ท าการวิเคราะห์ และประเมินมูลค่า โดยใช้เครื่องมือ InVEST ซึ่งเป็นเครื่องมือเสริมในชุดโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ArcGIS พร้อมสร้างข้อมูลนิเวศบริการเชิงพื้นที่ คือ

1.1 ปริมาณการเก็บกักคาร์บอน (Carbon Storage) 1.2 ปริมาณน้้าในระบบ (Water Yield)

2. จัดท าข้อมูลหรือปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์

2.1 ปริมาณน้้าเฉลี่ยรายปี

2.2 ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน (land use)

2.3 การเปลี่ยนแปลงและเก็บกักคาร์บอน ความหลากหลายทางชีวภาพ

2.4 ค่าการคายระเหยของน้้า

2.5 ข้อมูลลักษณะกายภาพของดิน

3. จัดท าแผนที่เพื่อฉายภาพการเปลี่ยนแปลงของนิเวศบริการในอนาคต (scenarios)เพื่อหาความสมดุลของการใช้ประโยชน์และการรักษาต้นทุนธรรมชาต ิ

วิธีการศึกษา (ต่อ)

ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลปัจจัยในการจัดท า INVEST

ปัจจัยในการท า INVEST

ข้อมูลความลึกของดิน

ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรายป ี

ค่าการระเหยของน้้าในดิน

ค่าการคายระเหยน้้าของพืช

ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน (land use – Land Covers)

ลุ่มน้้า (Watersheds)

ลุ่มน้้าย่อย (Sub-watersheds)

ค่ามวลชีวภาพ

กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติตะรุเตา

ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติทางทะเล จังหวัดตรัง

พื้นที่ศึกษาเกาะตะรุเตา อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จ.สตูล

ปริมาณน้ าฝน

การระเหยน้ าของดิน

สิ่งปกคลุมดิน LAND COVER

ลุ่มน้ า WATERSHEDS

ลุ่มน้ าย่อย Sub watersheds

ปัจจัยในการหาปริมาณคาร์บอนของมวลชีภาพ

ปริมาณคาร์บอนของมวลชีวภาพ(Biomass) การเตรียมข้อมูล

ปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน รอผลการวิเคราะห์

ปริมาณคาร์บอนใต้พื้นดิน รอผลการวิเคราะห์

พื้นที่ศึกษา

ป่าดิบชื้น แปลงที่ 1 ป่าดิบชื้น แปลงที่ 2

ป่าพรุ ป่าชายหาด

ป่าดิบชื้น แปลงที่ 1 ป่าดิบชื้น แปลงที่ 2

ค่าความหลากชนิดของสังคมพืชป่าชายหาด

กลุ่มไม ้ ชนิด ต้น

Shannon Wiener Index

Simpson’s Diversity

Index Species richness

Species evenness

ไม้ยืนต้น 18 417 1.98 0.82 17.83 0.69

ไม้หนุ่ม 22 253 2.23 0.81 21.82 0.72

กล้าไม้ 19 167 2.17 0.82 18.80 0.74

กลุ่มไม ้ ชนิด ต้น

Shannon Wiener Index

Simpson’s Diversity

Index Species richness

Species evenness

ไม้ยืนต้น 8 357 0.54 0.22 7.83 0.26

ไม้หนุ่ม 13 386 1.10 0.45 12.83 0.43

กล้าไม้ 12 205 1.87 0.79 11.81 0.75

ค่าความหลากชนิดของสังคมพืชป่าพรุ

กลุ่มไม ้ ชนิด ต้น

Shannon Wiener Index

Simpson’s Diversity

Index

Species richness

Species evenness

ไม้ยืนต้น 65 324 3.45 0.94 64.83 0.83

ไม้หนุ่ม 46 163 3.19 0.92 45.80 0.83

กล้าไม้ 17 69 2.06 0.72 16.76 0.73

ดัชนีความหลากชนิดของสังคมพืชป่าดิบชื้น แปลงที่ 1

ค่าความหลากชนิดของสังคมพืชป่าดิบชื้น แปลงที่ 2

อยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล

ค่าความเจริญเติบโตของต้นไม้

สังคมพืช พันธุ์ไม้เด่น ความหนาแน่น (ต้น/แฮกตาร)์

ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./แฮกตาร)์

พื้นที่หน้าตัด (ตร.ม./

แฮกตาร)์

ป่าพรุ เสม็ดขาว (Melaleuca cajuti

Powell) 1,983 13.18 3.29

ป่าชายหาด เสม็ดขาว (Melaleuca cajuti

Powell) 2,316 26.12 5.88

ป่าดิบชื้น กันเกรา (Fagraea fragrans Roxb) 1,800 29.10 6.39

กรณีศึกษาเขื่อนแม่วงก์

ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี

กิจกรรมที่ต้องด้าเนินการ

พื้นที่น้ าท่วมประมาณ 13421 ไร่

ETO Land use

Soil Dept PAWC

From Soil samples analysis Interpretated from Landsat 5TM

From Soil samples analysis Deesaeng et al., 2003

ไม่มีเขื่อน

Watershed Sub-watershed

RAIN

ปริมาณน้ าที่ไหลลงเขื่อน 613,543,095.76 ลบ.ม.

Generated from DEM Generated from DEM

(interpolations of observed data, representative of

1950-2000) www.worldclim.org

ETO Land use

Soil Dept PAWC

From Soil samples analysis Interpretated from Landsat 5TM

From Soil samples analysis Deesaeng et al., 2003

ถ้ามีเขื่อน

Watershed Sub-watershed

RAIN ปริมาณน้ าที่ไหลลงเขื่อน 599,367,997.68 ลบ.ม.

(interpolations of observed data, representative of

1950-2000) www.worldclim.org

Generated from DEM Generated from DEM

ไม่มีเขื่อน 613,543,095.76 ลบ.ม.

มีเขื่อนปริมาณน้้าจากเขื่อนเหลือเพียง 599,367,997.68 ลบ.ม.

ถ้าสร้างเขื่อนปริมาณน้้าที่จะออกมาจากเขื่อนจะหายไป 2.31% (14,175,098.08 ลบ.ม.)

การกักเก็บคาร์บอน (2011)

Total คาร์บอนเหนือดิน + ราก 8,070,151.48 Mg Carbon

Carbon

Total คาร์บอนเหนือดิน + ราก 7,942,025.53 Mg Carbon

การกักเก็บคาร์บอน (ถ้ามีเขื่อน)

ถ้าสร้างเขื่อนคาร์บอนหายไป 128,125.96 ตัน

กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน้ าบ้านไทยสามัคคี อ าเภอวังน้ าเขียว จังหวัดนครราชสีมา

ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา

35

พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ลุ่มน้ าไทยสามัคคี

36

พื้นที่ศึกษา : ภาพถ่ายดาวเทียม

37

ข้อมูลการแปลงส ารวจสังคมพืชและดิน โดยคณะผู้วิจัยโครงการศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวที่มีต่อทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า กรณีศึกษาพ้ืนที่ลุ่มน้ าบ้านไทยสามัคคี

อ าเภอวังน้ าเขียว จังหวัดนครราชสีมา : คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลการศึกษา

1) ข้อมูลด้านสังคมพืช ลักษณะทางกายภาพและเคมีของดิน ปริมาณน้ า อ้างอิงจาก : ผลการศึกษาตามโครงการศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวที่มีต่อทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน้ าบ้านไทยสามัคคี อ าเภอวังน้ าเขียว จังหวัดนครราชสีมา : คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2) ข้อมูลด้านอินทรียวัตถุ ในแปลงสังคมพืช อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลเพิ่มเติม

3) อยู่ระหว่างการตรวจเอกสาร

กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติน้ าหนาว

ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก

โครงการการศึกษาทุนทางธรรมชาติส าหรับการจัดการทรัพยากร (InVEST) : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติน้ าหนาว (วิเคราะห์ข้อมูลต่อเนื่องจากปี 2556)

ปริมาณน้ าในระบบ (Water Yield)

1. ความลึกดิน (Soil depth) 2.ปริมาณน้ าฝน (Precipitation) ปี พ.ศ.2518-2550

3. สิ่งปกคลุมดิน (Land Covers)

4. ลุ่มน้ า (Watersheds) 5. ลุ่มน้ าย่อย (Sub-watersheds)

ปริมาณการเก็บกักคาร์บอน (Carbon Storage)

1. Current Land use / Land cover (LULC) map

2. Carbon pools

2.1 Aboveground carbon

- Dead carbon

2.2 Belowground carbon

- Soil carbon

สังคมพืช

พันธุ์ไม้เด่น

ความหนาแน่น

(ต้น/ha)

ปริมาตรไม ้

(ลบ.ม./ha)

พื้นที่หน้าตัด

(ตร.ม./ha)

พื้นที่ปกคลุม เรือนยอด (ตร.ม.)

คาร์บอน (ตัน/ha)

ป่าสนเขา สนสามใบ 1,222 283.691 35.559 321.77 162.44

ป่าเต็งรัง เต็ง 1,063 156.01 22.38 357.21 44.71

ป่าผสมผลัดใบ ตะแบกเปลือกบาง 161 616.891 61.995 400.00 203.22

ป่าดิบแล้ง ก่อเดือย 1,499 232.363 31.101 396.12 102.20

คาร์บอนเหนอืพื้นดิน (Aboveground carbon)

คาร์บอนใต้พื้นดิน (Belowground carbon)

ทดลองน าปัจจัยต่างๆ มารันโมเดลใน InVEST

ผลจากการทดลองน าปัจจัยต่างๆ มารันโมเดลใน InVEST ปรากฏว่าไม่สามารถรันโปรแกรมได้ ทั้งนี้อาจเกิดจากการเตรียมข้อมูลผิดพลาด

จึงต้องน าข้อผิดพลาดดังกล่าว มาตรวจสอบและปรับแก้ ต่อไป

www.dnpii.org

Contact : ฝ่ายวิจัยฯ : [email protected]