40
-สมาคมหัวใจอเมริกัน (AHA) และ ภาคีช่วยชีวิต นานาชาติ (ILCOR) - คณะอนุกรรมการมาตรฐาน การช่วยชีวิต สมาคมแพทย์ โรคหัวใจแห่งประเทศไทย (TRC)

CPR2010 update

  • Upload
    taem

  • View
    12.106

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: CPR2010 update

-สมาคมหัวใจอเมริกัน (AHA) และ ภาคชี่วยชีวิตนานาชาติ (ILCOR)

- คณะอนุกรรมการมาตรฐานการช่วยชีวิต สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย (TRC)

Page 2: CPR2010 update

การจัดระดับชั้นของหลักฐาน (LOE)

1. RCT หรือ Meta analysis

2. Pseudo-randomized trial

3. Retrospective controlled study

4. Case series5. Indirect population study (คนละกลุ่มประชากร, สัตว์, ห้องทดลอง)

Page 3: CPR2010 update

-ผลลัพท์ของ Hands only CPR โดยประชาชน = CPR ปกติ

- 4 Pseudo-randomized trials ซีแอตเติล, ญี่ปุ่น, สวีเดน, สิงคโปร์

- 2 RCT ซีแอตเติล-อังกฤษ, นอร์เวย์

-ยังไม่ทราบว่า Hands only CPR นานเท่าไรจึงจะด้อยกว่า CPR ปกติ (15-30 นาที?)-By stander CPR = 20% - 30%-Hands only CPR campaign

Page 4: CPR2010 update
Page 5: CPR2010 update

Dispatcher CPRพนักงานรับโทรศัพทศ์ูนย์รถพยาบาลทุกคน ควรได้รบัการฝึกบอกบทให้คนกดหน้าอกอย่างเดียวทางโทรศพัท์ ยกเว้นกรณีจมน้้าหรือบาดเจ็บที่อาจบอกให้ช่วยหายใจด้วยถ้าเป็นไปได ้

(class I)

Page 6: CPR2010 update

- อัตรารอดชีวติแตกตา่งกัน 10 เท่า (5-

50%) ในชุมชนท่ีแตกต่างกนั- RCT พบว่า Dispatcher CPR ท้าให้รอดชีวิตมากขึ้น- อย่าถามว่ายังหายใจอยู่ไหม แต่ถามว่าเรียกรู้ตัวหรือเปล่า

Page 7: CPR2010 update

คอนเซ็พท์ “ให้ทุกคนมาร่วมช่วยชวีิตตามขีดความสามารถที่เขามี

Page 8: CPR2010 update
Page 9: CPR2010 update

CAB แทน ABC

- การกดหน้าอกด่วนกว่าการช่วยหายใจในผป. VF

- การกดหน้าอกส าคัญกว่าการช่วยหายใจ-ABC ท าให้เสียเวลาเริ่มกดหน้าอก

Page 10: CPR2010 update
Page 11: CPR2010 update

ผู้ป่วยที่หมดสตินอกรพ.ที่เป็น VF (class I) หรือในรพ.ที่ไม่ใช ่VF (class IIb) ที่กลับมามีชีพจรหลัง

CPR แต่ยังโคม่า (ทา้ตามคา้สัง่ไม่ได้) ใหท้้า TH

โดย- เริ่มลดอุณหภูมิลงทันทีภายในไมก่ี่นาทีหลังกลับมีชีพจร

- ลดอุณหภูมลิงไปถึง 32-34 องศาซ.ี

- ลดอุณหภูมิอยู่นาน 12-24 ชั่วโมง - cardiogenic shock หรือ ฉีดยาละลายลิ่มเลือด

หรือท า PCI ก็ได้

Therapeutic Hypothermia (TH)

Page 12: CPR2010 update
Page 13: CPR2010 update
Page 14: CPR2010 update
Page 15: CPR2010 update
Page 16: CPR2010 update
Page 17: CPR2010 update

Ice bags Iced saline 500 ml – 30 ml/kgEsophageal probe

Page 18: CPR2010 update

Post Cardiac Arrest Care comprehensive, structured, integrated multidisciplinary (1) ฟื้นฟูการท างานของระบบหายใจและไหลเวียนเลือด

(2) วินิจฉัยและรักษากลุ่มอาการฉกุเฉินของหลอดเลือดหัวใจ

หรือ ACS

(3) ลดอุณหภูมิร่างกาย (therapeutic hypothermia) เพื่อการฟื้นตัวของระบบประสาทและสมอง(4) ป้องกันและรักษา multiorgan dysfunction

(5) จัดระบบส่งต่อไปยังที่ที่ให้การดูแลเหมาะสมได้

Page 19: CPR2010 update
Page 20: CPR2010 update
Page 21: CPR2010 update

CPR Quality1. กดแรง ลึกไม่ต่้ากว่า 2 นิ้ว2. ปล่อยหน้าอกเด้งกลับให้สุด3. กดเร็วไม่น้อยกว่า 100/min

4. กดให้ต่อเนื่องไม่ขาดตอน5. เปลี่ยนคนกดทุก 2 นาที6. อย่า hyperventilate 7. Capnography (ปรับถ้าได้ PETco2 < 10 mmHg)

8. Intraarterial pressure

(ปรับถ้าได้ diastolic <20 mmHg)

Page 22: CPR2010 update

Concept ของแผนปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นสูงแบบใหม่

1. การท า CPR เร็วท าให้รอดชีวิตมากขึ้น2. การช็อกไฟฟ้าได้เร็วท าให้รอดชีวิตมากขึ้น3. การใช้ Hypothermia ท าให้ฟื้นจากโคม่ามากขึ้น

4. การใช้ยาไม่ได้ท าให้รอดชีวิตมากขึ้น5. การใช้อุปกรณ์ช่วยเปิดทางเดินลมหายใจขั้นสูง ไม่ได้ท าให้รอดชีวิตมากขึ้น

Page 23: CPR2010 update

ถ้ามีผู้ชว่ยชีวิตหลายคน ให้ท างานหลายงานไปพร้อมกัน

(1) โทรศัพท์เรียกรถพยาบาล

(2) ลงมือกดหน้าอกและกดให้ต่อเนื่อง(3) ติดและเปิดใช้เครื่องช็อกอัตโนมัติ

(4) เมื่อเครื่องช็อกพร้อมให้ช็อกไฟฟา้ทันที ไม่ต้องรอกดหน้าอกให้ครบสองนาที แม้ว่าจะหมดสติมาแล้วนานเกิน 5 นาที ทั้งนี้เนื่องจากงานวิจัยใหม่สองรายการ ให้ผลสรุปที่ขัดแย้งกับงานวิจัยดั้งเดิม

หลักฐานจึงไม่พอสนับสนุนการกดหน้าอกให้ครบ 2 นาทีก่อนแล้วค่อยช็อก

Page 24: CPR2010 update

ยกเลิก

Cricoid Pressure (class III)

RCT ในคน 7 รายการพบวา่

- ไม่ช่วยป้องกันการส้าลักอาหารเขา้ปอด

- ท้าให้การใสท่่อช่วยหายใจท้าได้ชา้ลง- ท้ายาก และท้ากันแบบท้าบ้างไม่ทา้บ้าง

Page 25: CPR2010 update

การใส่ท่อช่วยหายใจมีอัตราใส่ผิดที่และหลุดเลื่อน 6-25%

ความเสี่ยงหลดุเลื่อนสูงมากถ้าผู้ป่วยขยับตัวได้ waveform capnography มีความไวและความจ้าเพาะ 100%

ควรใช้เครื่องวัด CO2 แบบต่อเนื่อง (capnography)

ยืนยันต าแหน่งท่อและมอนิเตอร์ท่อ ET tube

Page 26: CPR2010 update

ยกเลิกการใช้ atropine เป็นรูทีนในการรักษาผู้ป่วย pulseless electrical activity(PEA) / asystole.

งานวิจัยเปรียบเทียบพบว่าการใช้กับไม่ใช้ atropine ในการรักษาดี PEA/asystole ได้ผลไม่ต่างกัน

Page 27: CPR2010 update

สนับสนุนให้ใช้มอนิเตอร์ทางสรีรวทิยา-คาร์บอนได้ออกไซด์ในลมหายใจออก (PETCO2)

-ความดันในหลอดเลือดโคโรนารี่ (CPP)

- ออกซิเจนแซทในเลือดด า (ScvO2 )

ประโยชน์•ให้ข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับ cardiac output

•ก าหนดค่า threshold value ได้ว่าหากค่าต่ ากว่านั้นแล้วโอกาสกลับมีชีพจรน้อย•ท าให้รู้ว่าเกิด ROSC แล้วโดยไม่ต้องหยุดคล าชีพจร

Page 28: CPR2010 update

- การสุ่มศึกษาเปรียบเทียบการรักษา symptomatic bradycardia ด้วยการใช้ยาหลายตัว (เช่น dopamine)

กับการใช้ pacing พบว่าได้ผลใกล้เคียงกัน

- การใช ้pacing ในผู้ป่วยที่ยังมีสติอยู่ท้าให้เจ็บมาก

ในการรักษาภาวะหัวใจเต้นช้าแบบเร่งดว่น ให้เลือกใช้ยา Chronotropic drug IV drip ได้เทียบเท่ากับการเลือกใช ้pacing

Page 29: CPR2010 update

ใช้ adenosine เป็นยาตัวแรกในการรักษา stable undifferentiated regular monomorphic wide-complex tachycardia.

เนื่องจากหลักฐานวิจัยใหม่บ่งชี้ว่ายา adenosine เป็นยาที่ปลอดภัย ได้ผล ในการใช้วินิจฉัยและรักษา

regular monomorphic wide-complex bradycardia

Page 30: CPR2010 update

ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกรพ.จาก VF

เมื่อฟื้นแล้วควรตรวจสวนหัวใจฉุกเฉินทันทีแม้จะมีเกณฑ์วินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันแบบ STEMI ไม่ครบถ้วน หากพบว่ามีลิ่มเลือดอุดกั้นหลอดเลือดก็ท้าการเปิดหลอดเลือดทันที โดยไม่ต้องรอให้เกิดความผิดปกติของ

EKG

เพราะหลังหัวใจหยุดเต้น EKG มักใช้ชว่ยวนิิจฉัยไม่ได ้และภาวะโคม่าไม่ได้เป็นข้อห้ามของการตรวจสวนหวัใจและเปิดหลอดเลือดในกรณนีี้

Page 31: CPR2010 update

ขยายเวลาใช ้IV rtPA รักษาผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันที่เข้าเกณฑ์คัดกรองของ NINDS หรือ ECASS-3 ออกไปได้ถึง 4.5 ชั่วโมงนับจากเริ่มมีอาการ ถ้าท าโดยแพทย์และมีระเบียบปฏิบัติที่ชัดเจน (class I)

ทั้งนีเ้พราะงานวิจัยขนาดใหญ่ (ECASS-3) สรุปได้ว่า

ผู้ป่วยที่เร่ิมการรักษาด้วย rtPA ตั้งแต่ 3 - 4.5 ชม.หลังมีอาการมีผลทางคลินิกที่ดีกว่าไม่รักษา

Page 32: CPR2010 update

-ห้องฉุกเฉินของทุกรพ.ควรมีระเบียบปฏิบัติที่เขียนไว้ชัดเจนและสื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทราบว่าจะจัดการผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันอย่างไร-ควรส่งผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นอัมพาตเฉียบพลันตรงไปยังรพ.ที่มีหน่วยรักษาอัมพาต (stroke unit) ที่มีทีมผูช้ านาญสหสาขาร่วมกันดูแลผู้ป่วยอัมพาต-ควรรีบรับผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันเข้าไว้ใน

stroke unit ภายใน 3 ชม. นับจากเริ่มมาที่ห้องฉุกเฉิน เพราะมีหลักฐานว่าการดูแลโดย stroke

unit แต่ระยะแรก ให้ผลดีกว่า

Page 33: CPR2010 update

ควรใช้ room air ช่วยชวีิตทารก term

baby แรกเกดิเสมอ และใช ้pulse

oximetry ประเมินก่อนหากจะให้ออกซิเจนเสริมในเดก็ทารก

ถ้าเมื่อแรกเกดิตรวจได ้O2sat ตั้งต้นต่ ากว่า 60 mmHg แล้วค่อยๆเพิ่มเป็นมากกว่า 90 mmHg ในเวลาอย่างน้อย

10 นาท ีถือว่าปกต ิไม่จ าเปน็ต้องให้ออกซิเจน

Page 34: CPR2010 update

ควรหยุดช่วยชีวิตเด็กทารกแรกเกิดที่หัวใจหยุดเต้นนานเกิน 10

นาทีทั้งๆที่ได้ท าการช่วยชีวิตเต็มที่แล้ว

Page 35: CPR2010 update

ควรเน้น briefing ก่อนการสอน และ debriefingหลังการสอนความรู้และทักษะการช่วยชีวิต

Briefing

Demo

DoDebriefing

Page 36: CPR2010 update

สนับสนุนการพัฒนางานช่วยชีวิตด้วยการบันทึก เปรียบเทียบ แล้วปรับปรุง

Page 37: CPR2010 update

เมื่อไรจะลงมอืช่วยชีวิต ไม่รู้ว่านี่คือภาวะหัวใจหยุดเต้น

หลงเชื่อการคล าชีพจรซึ่งเช่ือถือไม่ได้การเริ่มต้น CPR คนอยู่ใกล้ มีอัตราเข้ามาช่วยต่ ากว่า 50%

คนบอกบททางโทรศัพท์บอกผิดอัตราเร็วของการกดหน้าอก กดหน้าอกด้วยอัตราที่ช้าเกินไป

ความลึกของการกดหน้าอก กดหน้าอกไม่ลึกพอ

การปล่อยให้หน้าอกเด้งกลับ เอามือกดพักบนหน้าอกท าให้หน้าอกไม่เด้งกลับ

Page 38: CPR2010 update

การเสียความต่อเนื่องในการกด

มัวไปคล าชีพจรโดยไม่ไดป้ระโยชน์

มัวไปช่วยหายใจมากเกินความจ าเป็น

หยุดกดเพื่อกอ่นและหลังช็อกไฟฟ้านานเกินความจ าเป็น

หยุดกดเพื่อใส่ท่อช่วยหายใจนานเกินไป

หยุดกดเพื่อแทง IV line

การช่วยหายใจ เป่าลมไม่เข้าปอด

ช่วยหายใจมากเกินไป โดยเฉพาะเมื่อใส่ ET tube

แล้ว

Page 39: CPR2010 update

การช็อกไฟฟ้า กว่าจะได้เครื่องช็อกไฟฟ้ามาก็นานเกินไป

วิธีการช็อกไม่รวบรัดท าให้ต้องหยุดกดหน้าอกนาน

ทีมเวอร์ค ไม่มีการเปลี่ยนตัวผู้กดหน้าอกท าให้เกิดความล้าและกดไม่ได้ผล

การสื่อสารในทีมล้มเหลว น าไปสู่การหยุดกดหน้าอกโดยไม่จ าเป็น

Page 40: CPR2010 update

ดี.วี.ดี. (BLS-HCP + Hands only CPR) + ชีทคู่มือ 1 ชุด = 100 บาท