24
“ เมื่อ EP เจอสารเคมีรั่ว” การประชุมวิชาการแพทย์ฉุกเฉินครั้งที่ ๑ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๓

Hazmat response for Emergency physician

  • Upload
    taem

  • View
    2.442

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Hazmat response for Emergency physician

“ เมื่อ EP เจอสารเคมีร่ัว” การประชมุวิชาการแพทย์ฉุกเฉินครั้งที่ ๑

๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๓

Page 2: Hazmat response for Emergency physician

0-2 hrs Immediate hours2-6 hrs Intermediate hours6-12 hrs Late Intermediate hours12-24 hrs Extended hours

day 2 – 14

Initial / Acute Phase

Search

Rescue

Post-impact

day 15+

Pre-impact

1

Mitigation / Prevention

Phase

Preparedness

Phase

Response / Relief

Phase

Recovery

Phase

Impact

Page 3: Hazmat response for Emergency physician

ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) : ภาวะฉุกเฉินสารเคมี

ทีมบัญชาการ(ผู้ว่า นอภ.)

ทีมส่งก าลังบ ารุง(อปท. สสจ. สคร.เอกชน NGO ฯลฯ)

ทีมปฏิบัติการ(กู้ภัย กู้ชีพ ต ารวจSRRT EP ฯลฯ)

ทีมวางแผน(EP SRRT)

ทีมบริหาร(สสจ. อปท.)

Page 4: Hazmat response for Emergency physician

เป้าหมาย และ ความร่วมมือ

ลดบาดเจ็บเสียชีวิต

ER (EP) / EMS / SRRT

ปภ / ท้องถิ่นเอกชนมูลนิธิประชาชนสื่อมวลชน

ก่อนเกิดเหตุ

หลังเกิดเหตุ

ขณะเกิดเหตุ

Page 5: Hazmat response for Emergency physician

ใคร คือ SRRT ?

• ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 (กรมควบคุมโรค)– กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม / กลุ่มระบาดวิทยา

• ส านักงานสาธารณสุขจงัหวัด– กลุ่มระบาดวิทยา

• รพศ/รพท– กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม / กลุ่มระบาดวิทยา

• รพช– กลุ่มงานเวชปฏิบัติชุมชน

• สอ.

Page 6: Hazmat response for Emergency physician

“อุดช่องว่าง”

• กู้ภัย กู้ชีพ ต ารวจ เข้าปฏิบัติงาน แต.่..มีช่องว่าง ?

• ทีม SRRT / PHER สามารถ– ระบุพิษวิทยาของสารเคมี

– พยากรณ์การแพร่กระจายของสารเคมี

– แนะน าการใช้อุปกรณ์ป้องกันสารเคมี

– แนะน าการเก็บตัวอย่างชีวภาพ (และสิ่งแวดลอ้ม) เพื่อยืนยันการสัมผัสสารเคมี

– แนะน าการเฝ้าระวังสุขภาพผู้สัมผัสสารเคมใีนระยะยาว

– สอบสวนเหตุการณ์

Page 7: Hazmat response for Emergency physician

SRRT

PHERT

Public Health Action Outbreak Investigation

Disease contain & Control

Epidemiological Study

Prevention of future outbreak

Reporting

Epidemiological Surveillance Data collection

Analysis

Interpretation

Dissemination

Community Diagnosis

Prioritize problems & Planning

Health Hazards/Risks Reduction

ถูกต้องครบถ้วนทันเวลา

Impact

Outbreak

Rehabilitation

Restore system

Transfer tasks

Rapid assessment

Risk communication

PHER Surveillance for PHE

Investigation and control

Health hazards/risks reduction

Prevention of future outbreak

PHE preparedness Training for PHER Team

Planning, Exercise & ICS

Logistics management

Intelligence System Networking

Health hazard assessment

Warning System

Mitigation & Prevention

Post-impactPre-impact

Page 8: Hazmat response for Emergency physician
Page 9: Hazmat response for Emergency physician

NIOSH REL:

Ceiling (15-minute): 0.5 ppm (1.45 mg/m3)

OSHA PEL:

Ceiling: 1 ppm (3 mg/m3)

ACGIH TLV:

TWA: 0.5 ppm (1.5 mg/m3)

STEL: 1 ppm (2.9 mg/m3)

NIOSH IDLH: 10 ppm

DOE TEEL:

TEEL-0: 1.45 mg/m3

TEEL-1: 1.45 mg/m3

TEEL-2: 6 mg/m3

TEEL-3: 58 mg/m3

AIHA ERPG:

ERPG-1: 1 ppm

ERPG-2: 3 ppm

ERPG-3: 20 ppm

Exposure limits*

* NIOSH. The Emergency Response Safety & Health Database

Page 10: Hazmat response for Emergency physician

TIME COURSE:

- Symptoms generally resolve within 6 hours after mild exposures, but

may continue for several days after severe exposures.

- Deterioration may continue for several hours.

EFFECTS OF SHORT-TERM (LESS THAN 8-HOURS) EXPOSURE:

- Chlorine gas is highly soluble in water; therefore, it is severely

irritating on contact with moist tissues, such as the eyes, skin, nose,

throat, and upper respiratory tract.

Signs & symptoms

* NIOSH. The Emergency Response Safety & Health Database

Page 11: Hazmat response for Emergency physician

ALOHA - - - - > แสดงผลข้อมูลส าคัญ

Page 12: Hazmat response for Emergency physician

GENERAL INFORMATION:

- First Responders should use a NIOSH-certified Chemical, Biological,

Radiological, Nuclear (CBRN) Self Contained Breathing Apparatus

(SCBA) with a Level A protective suit when entering an area with an

unknown contaminant or when entering an area where the

concentration of the contaminant is unknown.

- Level A protection should be used until monitoring results confirm the

contaminant and the concentration of the contaminant.

-NOTE: Safe use of protective clothing and equipment requires specific

skills developed through training and experience.

PPE

* NIOSH. The Emergency Response Safety & Health Database

Page 13: Hazmat response for Emergency physician

การคัดแยก (triage) กรณีอุบัติภัยสารเคมี

Group Corrosive burn Irritant gas

1 (life-threatening)

Dermal or full thickness >50% BSA

ไอรุนแรงมากหายใจไม่อิ่ม +systemic effect

2a (severe injury)

Full thickness 10 - 50% or dermal 20 - 50% BSA

ไอมาก หายใจล าบาก ไม่มี systemic effect

2b(moderate injury)

Full thickness 2 - 10% or dermal 10 - 20% BSA

3 (mild injury)

Full thickness 2% or dermal <10% or epidermal

ไอเล็กนอ้ย มีอาการทางตา อาจปวด

Page 14: Hazmat response for Emergency physician

บทบาททีม SRRT / PHERสคร / สสจ. / สสอ. / รพศ./ รพช.

Page 15: Hazmat response for Emergency physician

ทีม PHER / SRRT : ก่อนเกิดเหตุ

• ร่วมมือกับคนอื่น– มาตรการตรวจสอบและป้องกันการรั่วไหล– จัดท าและซอ้มแผนรับอุบัติภัยสารเคมี

• เป็นแกนจัดท า– การจัดกลุ่มสารเคมีตามโอกาสเกิดพษิ– การจัดท าแผนที่แสดงจดุเสี่ยง– การเตรียมขอ้มูลจ านวนและกลุ่มอายุของประชากรทั่วไป– การเตรยีมข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยา ธรณีวิทยา และระบบน้ าใต้ดิน ฯลฯ

Page 16: Hazmat response for Emergency physician

การจัดการขณะเกิดเหตุ

ตรวจสอบ

แจ้งเหตุ

ประกาศแผน

ระงับเหตุจัดการสภาพแวดล้อม

ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ

medical สนับสนุน

ยุติแผน

Page 17: Hazmat response for Emergency physician

การจัดการขณะเกิดเหตุ

ตรวจสอบ

แจ้งเหตุ

ประกาศแผน

ระงับเหตุจัดการสภาพแวดล้อม

ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ

medical สนับสนุนยุติแผน

ปภ / อปท

ประเมินสถานการณ์บ่อยๆ (15 นาที)

Page 18: Hazmat response for Emergency physician

การจัดการขณะเกิดเหตุ

ตรวจสอบ

แจ้งเหตุ

ประกาศแผน

ระงับเหตุจัดการสภาพแวดล้อม

ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ

medical สนับสนุนยุติแผน

ทสจ / สลภ / คพ (ปภ / อปท)

Page 19: Hazmat response for Emergency physician

การจัดการขณะเกิดเหตุ

ตรวจสอบ

แจ้งเหตุ

ประกาศแผน

ระงับเหตุจัดการสภาพแวดล้อม

ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ

medical สนับสนุนยุติแผน

EMS / ER (EP) / SRRT

Page 20: Hazmat response for Emergency physician

บทบาทหน้าที่ รพศ / รพท (EMS / ER)

PHER

ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ

• ฝึกอบรม• จัดท า &ซ้อมแผน

รับแจ้งเหตุ

• พิษวิทยา สารเคมี• สถานการณ์เบ้ืองต้น

ผู้บริหาร

• ขนสง่ผู้ได้รับสารเคมี• ปฐมพยาบาล• รักษาพยาบาล• ประเมินสถานการณ์ต่อเนื่อง

• ใช้ระบบ ICS (ปภ/EMS)

ผู้ปฏิบัติ (ปภ / อปท)

• สอบสวน• เฝ้าระวังสุขภาพต่อเนื่อง

• จัดเวที AAR• เขียนรายงานสรุปเหตุการณ์

• ข้อมูล สารเคมี• การรักษา

Page 21: Hazmat response for Emergency physician

สรุปงาน EMS ER SRRT - ขณะเกิดเหตุ

ER พุทธชินราช สสจ.พิษณุโลก สคร.9 envocc

แจ้งเหตุ

แจ้งผอ./

SRRT

สั่งการEMSER

ประสานกลุ่มEnvOcc

•รับผู้ป่วย•ล้างตัว•รักษา

แจ้งสสจ./SRRTสคร.

สั่งการ แจ้งผอ./

SRRTส านัก

ประสานปภ.อปท.อส.สรจ.•Safety officer

•SRRT-1 (รพศ)•SRRT-2,3 (เกิดเหต/ุอพยพ)

สั่งการ ประสาน- เขต- ส่วนกลาง

•Safety officer•SRRT-1,2 (สสจ.)•SRRT-3 (lab/PPE)

แจ้งต่อ แจ้งต่อ

Page 22: Hazmat response for Emergency physician

ทีม PHER / SRRT : หลังเกิดเหตุตรวจสอบ

แจ้งเหตุ

ประกาศแผน

ระงับเหตุจัดการสภาพแวดล้อม

ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ

medical เยียวยาอื่นๆยุติแผน

สอบสวน

ป้องกัน บทเรียน เฝ้าระวังสุขภาพ

Page 23: Hazmat response for Emergency physician

หลังเกดิเหตุ - สอบสวน• อุบัติภัยสารเคมีครั้งนี้เกดิขึ้นได้อย่างไร ? จากเครือ่งจกัรอุปกรณ/์

ระบบควบคุม พนักงานที่เกี่ยวข้องหรอืสภาพแวดล้อม

• วัตถุดิบ กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่อาจเป็นต้นเหตุ

• การป้องกัน/ระบบป้องกนัการเกิดอุบัติภัยสารเคมทีี่ใช้อยู ่หรือ ที่ควรมี

• การตรวจสอบ/เฝ้าระวังจดุเสี่ยงของเจา้ของสถานทีเ่กิดเหตุ

• แผนรับอุบัติภัยสารเคมีของสถานที่เกิดเหตุ มีหรือไม่ เหมาะสมหรือไม่ ซ้อมแผนหรือไม่

• การประสานงานกับหน่วยงาน ขณะเกิดเหตุ เช่น แจ้งเหตุหรือไม่ แจ้งไปที่ใคร เร็วแค่ไหน

Page 24: Hazmat response for Emergency physician

หลังเกดิเหตุ - เฝ้าระวังสุขภาพ

• การจัดท าทะเบียนผู้สัมผสั– พนักงานของสถานที่เกิดเหตุ– ประชาชนทั่วไป– เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่กู้ภัย กู้ชีพ ขนส่งผู้สัมผัส บุคลากรห้องฉุกเฉิน ทีม SRRT/PHER

– ผู้ป่วยที่เข้ารบัการรักษาที่โรงพยาบาล• ออกแบบการเฝ้าระวังสุขภาพ

– ตัวชี้วัดสุขภาพที่ควรใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น ระดับสารเคมีในเลือด เอนไซม์ตับ CBC UA การถ่ายภาพรังสีปอด

– ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเฝ้าระวัง– ค่าใช้จ่ายและแหล่งงบประมาณในการเฝ้าระวัง