83
1 หลักสูตรและการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาว ทยาลัยสงขลานคร นทร์ ใช้ประกอบการตัดส นใจเข้าเรียน รศ. ดร. ภญ. โพยม วงศ์ภูวรักษ์ รองคณบดีฝ่ายว ชาการและว ชาชีพ วันที26 ถุนายน 2558

PSU pharmacology

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: PSU pharmacology

1

หลกัสตูรและการเรียนการสอนคณะเภสชัศาสตร ์

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร ์ใช้ประกอบการตดัสินใจเข้าเรียน

รศ. ดร. ภญ. โพยม วงศภ์วูรกัษ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิชาชีพ

วนัที่ 26 มิถนุายน 2558

Page 2: PSU pharmacology

http://www.pharmacy.psu.ac.th/undergrad/

2

Page 3: PSU pharmacology

เกณฑก์ารคดัเลอืก

นักเรียนใน 14 จงัหวดัภาคใต้ที่

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร ์

จดัสอบเอง ปี 2558 เป็นต้นไป

คณะเภสชัศาสตร ์

มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร์3

Page 4: PSU pharmacology

เดิม “วิชาคณิตศาสตรต์้องได้คะแนนไม่ตํา่ กว่า 30% จึง

ถือว่าผา่นเกณฑ”์ ปรบัเป็น

(หมายเหต ุแม้คะแนนไม่ถึง 30% แต่ได้คะแนนมากกว่าหรือ

เท่ากบั ≥ 0.8 x ค่าเฉลี่ยของรายวิชา กถ็ือว่าผา่นเกณฑ)์

4

1. วิชาคณิตศาสตร:์ ปรบัเกณฑใ์นการคดัเลือก

“วิชาคณิตศาสตร ์ต้องได้คะแนนไม่ตํา่กว่า 30% หรือ ได้

คะแนนมากกว่าหรือเท่ากบั ≥ 0.8 x ค่าเฉลี่ยของรายวิชา จึงถือว่าผา่นเกณฑ”์

Page 5: PSU pharmacology

5

2.วิชากลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส ์ เคมี ชีววิทยา ):

“แต่ละวิชามีคะแนน 100 คะแนน คะแนนรวมของทัง้ 3 วิชา

คือ 300 ต้องได้คะแนนรวมไม่ตํา่กว่า 90 คะแนน (30%)

โดยแต่ละวิชาไม่จาํเป็นต้องได้ 308คะแนน

ตวัอย่าง: ได้คะแนนวิชา ฟิสิกส ์29 คะแนน;

เคมี 31 คะแนน; ชีววิทยา 30 คะแนน กถ็ือว่าผา่นเกณฑ์

Page 6: PSU pharmacology

• ผูเ้ข้าศึกษาในคณะเภสชัศาสตรท์กุรายต้องทาํสญัญา

การเป็นนักศึกษาเภสชัศาสตรใ์นชัน้ปีที่ 1 กบัรฐับาล

• เมื่อสาํเรจ็การศึกษาจะมีการสาํรวจความประสงคท์ี่

จะเข้าปฏิบตัิงานกบัรฐับาลเพื่อชดใช้ทนุ

• ทัง้นี้ สามารถเลือกที่จะไม่ปฏิบตัิงานกบัรฐับาลกไ็ด้

แต่หากยื่นความประสงคแ์ล้ว ต้องเข้าสู่กระบวนการ

จบัฉลากเพื่อไปปฏิบตัิงานในสถานที่ที่จบัฉลากได้

ทัว่ประเทศ เป็นเวลา 2 ปี

6

การทาํสญัญาชดใช้ทนุรฐับาล

Page 7: PSU pharmacology

• หากไม่สามารถปฏิบตัิงานได้ตามกาํหนดต้องชดใช้

เงิน 250,000 บาท และหากทาํงานได้ช่วงเวลาหนึ่ง

แต่ไม่ถึง 2 ปี เงินที่ต้องชดใช้กจ็ะลดลงตามสดัส่วน

เวลาที่ได้ปฏิบตัิงานไปแล้ว

• สญัญานี้เป็นสญัญาฝ่ายเดียว หากรฐับาลมีตาํแหน่ง

กจ็ะประกาศให้ชดใช้ทนุ แต่หากรฐับาลไม่มีตาํแหน่ง

ผูส้าํเรจ็การศึกษากเ็ป็นอิสระ ไม่ผกูพนักบัรฐับาล

7

การทาํสญัญาชดใช้ทนุรฐับาล

Page 8: PSU pharmacology

ความเป็นมาหลกัสตูรปริญญาตรีเภสชัศาสตร ์ 6 ปี

8

ปี 2536 - เภสชักรและมหาวิทยาลยัในไทยตื่นตวัเรื่อง “การ

บริบาลทางเภสชักรรม” ส่งอาจารยไ์ปดงูานและเรียนต่อ Doctor

of Pharmacy (Pharm.D) หลกัสตูร 6 ปี ที่สหรฐัอเมริกาซึ่งเน้น

ด้านการดแูลผูป้่วยด้านการใช้ยา

ปี 2540 – ม.นเรศวรเปิดหลกัสตูร Pharm.D แห่งแรกในเอเชีย-

ต่อยอดจากปริญญาตรีเภสชัฯ 2 ปี และเป็นหลกัสตูร 6 ปี- 2542

ปี 2542- ม.มหาสารคามเปิดหลกัสตูร Pharm. D

ปี 2545 - ม.สงขลานครินทร ์เปิดหลกัสตูร Pharm. D 6 ปี

ปี 2553 สภาเภสชักรรมกาํหนดให้ไทยมีเฉพาะหลกัสตูร 6 ปี

Page 9: PSU pharmacology

ปี 2554 สภาเภสชักรรมประกาศเกณฑม์าตรฐานผู้

ประกอบวิชาชีพการบริบาลทางเภสชักรรม

9

Page 10: PSU pharmacology

• http://www.pharmacycouncil.org/index.php?option=content_detail&menuid=68&itemid=456&catid=0

10http://www.pharmacycouncil.org/

ปี 2556 สภาเภสชักรรมประกาศเกณฑม์าตรฐานผูป้ระกอบวิชาชีพเภสชัอตุสาหการ

และเปลี่ยนชื่อเป็น “เภสชักรรมอตุสาหการ” ในปี 2557

Page 11: PSU pharmacology

หลกัสตูรที่ใช้กบัผูเ้ข้าเรียนปี 2558 ของ มอ. เป็นหลกัสตูร

ปรบัปรงุใหม่ให้เข้ากบัเกณฑใ์หม่ของสภาเภสชักรรม

11

1. หลกัสตูรเภสชัศาสตรบณัฑิต

สาขาเภสชักรรมอตุสาหการ หลกัสตูรปรบัปรงุ

พ.ศ. 2557

2. หลกัสตูรเภสชัศาสตรบณัฑิต

สาขาการบริบาลทางเภสชักรรม หลกัสตูรปรบัปรงุ

พ.ศ. 2557

ทัง้สองหลกัสตูรเงินเดือนเทียบเท่าปริญญาโท

Page 12: PSU pharmacology

1. หลกัสตูรสาขาเภสชักรรมอตุสาหการ

มี 2 โปรแกรม

12

• โปรแกรมปกติ 234 หน่วยกิต ปริญญา: เภสชัศาสตรบณัฑิต สาขาเภสชักรรมอตุสาหากร

ชื่อย่อ : ภ. บ. (เภสชักรรมอตุสาหการ)

ภาษาองักฤษ: Doctor of Pharmacy (Industrial Pharmacy)

ชื่อย่อ: Pharm.D. (Industrial Pharmacy)

• โปรแกรมก้าวหน้า 246 หน่วยกิต ปริญญา: เภสชัศาสตรบณัฑิต ภ.บ. (เภสชักรรมอตุสาหการ

โปรแกรมแบบก้าวหน้า)

ชื่อย่อ :Pharm.D. (Industrial Pharmacy, Honors Program)

Page 13: PSU pharmacology

หลกัสตูรสาขาเภสชักรรมอตุสาหการโปรแกรม

แบบก้าวหน้า (Honors Program)

• เตรียมความพร้อมสาํหรบันักศึกษาที่มีศกัยภาพสงู

ให้มีโอกาสเรียนรายวิชาระดบัปริญญาโท-เอก

ในขณะที่ยงัศึกษาในระดบัปริญญาตรี

• ทาํให้สามารถศึกษาต่อในระดบัปริญญาโท-เอก ใน

ระยะเวลาลดลง

13

Page 14: PSU pharmacology

• รบันักศึกษาโปรแกรมปกติที่สาํเรจ็การศึกษาชัน้ปีที่ 3

แล้ว และมีผลการศึกษาเฉลี่ยสะสมไม่ตํา่กว่า 3.25 โดย

คาํนวณจากผลการเรียนชัน้ปีที่ 1 ถึงชัน้ปีที่ 3

• นักศึกษาโปรแกรมแบบก้าวหน้าต้องรกัษาสถานภาพผล

การเรียนในแต่ละภาคการศึกษาให้ไม่น้อยกว่า 3.00 และ

ต้องไม่มีผลการเรียนในรายวิชาใดตํา่กว่าระดบั C หาก

ผลการเรียนของนักศึกษาโปรแกรมแบบก้าวหน้าไม่

เป็นไปตามข้อกาํหนดข้างต้น ให้นักศึกษากลบัเข้าเรียน

ในหลกัสตูรโปรแกรมแบบปกติ14

ผูท้ี่จะเข้าเรียนโปรแกรมก้าวหน้า

Page 15: PSU pharmacology

2. หลกัสตูรเภสชัศาสตรบณัฑิต สาขาการบริบาลทาง

เภสชักรรม

จาํนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกัสตูร 236 หน่วยกิต

ปริญญา: เภสชัศาสตรบณัฑิต

ชื่อย่อ: ภ.บ. (การบริบาลทางเภสชักรรม)

ภาษาองักฤษ: Doctor of Pharmacy

(Pharmaceutical Care)

ชื่อย่อ: Pharm. D. (Pharm. Care)

15

Page 16: PSU pharmacology

16

วิทยาเขตหาดใหญ่

การหาข้อมลูการเรียนการสอนhttp://elc.psu.ac.th/edumanual/2557/

Page 17: PSU pharmacology

17

คณะเภสชัศาสตร์

Page 18: PSU pharmacology

18

หลกัสตูรที่เปิดสอน

คาํอธิบายรายวิชา

Page 19: PSU pharmacology

19

หลกัสตูรที่เปิดสอน

หลกัสตูรสาขาบริบาลฯ

หลกัสตูรสาขาเภสชัศาสตรฯ์

(เภสชักรรมอตุสาหการ)

Page 20: PSU pharmacology

20

หลกัสตูรสาขาเภสชัศาสตรบณัฑิต –เภสชักรรมอตุสาหการ (ปกติ)

Page 21: PSU pharmacology

21

หลกัสตูรสาขาเภสชัศาสตรบณัฑิต –เภสชักรรมอตุสาหการ

(ก้าวหน้า) รบันักศึกษาโปรแกรมปกติที่สาํเรจ็การศึกษาชัน้ปีที่ 3

แล้ว และมีผลการศึกษาเฉลี่ยสะสมไม่ตํา่กว่า 3.25

Page 22: PSU pharmacology

22

หลกัสตูรสาขาบริบาลเภสชักรรม

Page 23: PSU pharmacology

23

การอ่านหน่วยกิต

4(3-3-3) 2(2-0-3)

หน้าวงเลบ็หน่วยกิตรวมทัง้หมด

ในวงเลบ็ ตวัที่ 1: บรรยาย (1 หน่วยกิต = 1 ชม/สปัดาห)์

ตวัที่ 2: ปฏิบตัิการ (1 หน่วยกิต = 3 ชม/สปัดาห)์

ตวัที่ 3: ศึกษาด้วยตนเอง

Page 24: PSU pharmacology

แผนการเรียนเทอม 1 ปีที่ 1 ทัง้สองหลกัสตูร

24

Page 25: PSU pharmacology

25

คาํอธิบายรายวิชา

Page 26: PSU pharmacology

26

คาํอธิบายรายวิชา: วิชานัน้เรียนอะไรบา้ง

Page 27: PSU pharmacology

27

ภญ. ผศ. ดร. รุ่งเพ็ชร สกลุบาํรงุศิลป์

“สมรรถนะพืน้ฐานของเภสชักรทกุคน”

Page 28: PSU pharmacology

“สมรรถนะพืน้ฐานของเภสชักรทกุคน”

ในยา 1 เมด็ : เภสชักรต้องเหน็รายละเอียดภายใน

ที่คนอื่นมองไม่เหน็ : ชีวิตผูใ้ช้ยา-อยู่ในมือเภสชักร

มีการผลิตอย่างไร ทาํไมต้องผลิตแบบนี้

ควบคมุคณุภาพอย่างไร เกบ็รกัษาอย่างไร

มีโครงสร้างเชื่อมโยงกบัการออกฤทธิ์อย่างไร

ใช้อย่างไรจึงถกูต้อง ใช้แล้วจะเกิดผลอย่างไร

จะป้องกนัและแก้ไขปัญหาการใช้ยาอย่างไร28

Page 29: PSU pharmacology

29

เภสชักรกบัยา

วิจยั คิดค้น เสาะหาตวัยาใหม่จาก

การสงัเคราะห ์หรือจากธรรมชาติ

เตรียม/ ผลิตยาให้เป็นรปูแบบที่เหมาะสม:

ยาเมด็ ยานํ้า ยาฉีด ฯลฯ

ทดลองในหลอดทดลอง เพื่อเกบ็ข้อมลู

ขัน้ต้น

ทดลองในสตัว์

ขึน้ทะเบียนยาเพื่อขอจาํหน่ายยา

ทดลองนํายาไปใช้จริงในผูป้่วย: วิจยัทางคลินิก

Page 30: PSU pharmacology

30

เภสชักรกบัยา

ผลิตยาในปริมาณมากเพื่อจาํหน่าย

ควบคมุ ประกนัคณุภาพการผลิต

ส่งมอบยาให้ผูป้่วย

ให้คาํปรึกษาเรื่องยา

การกระจายยาไปสู่ผูส้ ัง่ใช้ / ผูจ้่ายยา

การตลาด การให้ข้อมลูยาแก่ผูส้ ัง่/จ่ายา

ติดตามการใช้ยา

ป้องกนั/ แก้ไขปัญหาการใช้ยา

ให้คาํปรึกษาเรื่องยาแก่ทีม

สขุภาพและผูป้่วย

คุ้มครองผูบ้ริโภคด้านยาและผลิตภณัฑส์ขุภาพ

Page 31: PSU pharmacology

ทิศทางวิชาชีพเภสชักรรม

• บริบทด้านยามีหลายมิติ

• การสอนให้เภสชักรทกุคนมีความรู้และทกัษะในเชิง

ลึกที่สามารถปฏิบตัิงานได้ดีในทกุด้านเป็นไปไม่ได้

• การปฏิบตัิงานบางด้านต้องการความรู้ที่ลึกซึ้ง

เกินกว่าที่จะเรียนทกุอย่างได้ในระดบัปริญญาตรี

• ทิศทางวิชาชีพ จึงต้องการเภสชักรที่มีความรู้

ร่วมกนัระดบัหนึ่ง และมีความรู้เพิ่มเติมในสาขา

เฉพาะด้าน 31

Page 32: PSU pharmacology

32

Page 33: PSU pharmacology

ความแตกต่างของ 2 หลกัสตูร• มีความรู้ทกัษะตามสมรรถะร่วมของวิชาชีพ

เภสชักรรมที่เหมือนกนัส่วนหนึ่ง

• เน้นความชาํนาญเฉพาะด้านต่างกนั

33

หลกัสตูรสาขา-เภสชักรรมอตุสาหการ

มุ่งเน้นสร้างเภสชักรในภาคอตุสาหกรรมยาตัง้แต่การ

วิจยัคิดค้นยา ผลิตยา การตลาดยา คุ้มครองผูบ้ริโภค

หลกัสตูรสาขาการบริบาลทางเภสชักรรม

มุ่งเน้นสร้างเภสชักรในภาคการดแูลการใช้ยาในผูป้่วย

เป็นที่ปรึกษาด้านการใช้ยาในสถานพยาบาล ร้านยา

Page 34: PSU pharmacology

-จดัโดยสภาเภสชักรรม

ตามสาขาหลกั: เภสชัศาสตร์ / บริบาลทางเภสชักรรม-จดัโดยสภาเภสชักรรม

ทกุสาขาต้องเรียน

วิชาที่เกี่ยวกบัเคมี

ไม่ตํา่กว่า 6 วิชา

Page 35: PSU pharmacology

ความรู้ด้านวิชาชีพที่ทัง้ 2 หลกัสตูรต้องเรียน

กลุ่มวิชาพืน้ฐานวิชาชีพ (เรียนปีที่ 1-2)

เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส ์คณิตศาสตร ์ สถิติ

โครงสร้างและหน้าที่การทาํงานของร่างกายของ

มนุษย ์

สาเหตแุละกลไกการเกิดโรค

การศึกษาและการตรวจทางห้องปฏิบตัิการ

35

Page 36: PSU pharmacology

ความรู้ด้านวิชาชีพที่ทัง้ 2 หลกัสตูรต้องเรียน

กลุ่มวิชาวิชาชีพที่เป็นสมรรถนะร่วม (เรียนปี 3-4)

กลุ่มวิชาด้านผลิตภณัฑ ์รายวิชาทางเภสชักรรมอตุสาหการขัน้พืน้ฐานที่มีเนื้อหา

เกี่ยวข้องกบัตวัยา เคมีภณัฑ ์สารสกดัสมนุไพรและชีว

วตัถตุ่างๆ ที่นํามาใช้เป็นยา

การเตรียมยา การผลิตยา และประดิษฐย์า

หลกัการวิเคราะหย์า การควบคมุและประกนัคณุภาพยา

กระบวนการเกบ็รกัษายา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ทัง้ยา

สาํหรบัคนและสตัว)์ 36

Page 37: PSU pharmacology

การปรงุยาและผลิตยาการปรงุยาและผลิตยา

Page 38: PSU pharmacology

การปรงุยาและผลิตยา

พืน้ฐาน: คณิตศาสตร ์ ฟิสิกส ์ เคมีเชิงฟิสิกส์เทคโนโลยีเภสชักรรม -สาขาเภสชักรรมอตุสาหการวิชา Pharmaceutical technology

ยาเตรียม -สาขาบริบาลทางเภสชักรรม วิชา Pharmaceutical preparation

Page 39: PSU pharmacology

ผลิตภณัฑจ์ากธรรมชาติและสมนุไพร

พืน้ฐาน: ชีววิทยา เคมีทัว่ไป เคมีอินทรีย์

เภสชัพฤกษศาสตร ์(Pharmaceutical botany)เภสชัเวท (Pharmacognosy) เภสชัวินิจฉัย

Page 40: PSU pharmacology

เคมียาและวิเคราะหย์า/ ควบคมุคณุภาพยา

พืน้ฐาน: เคมีทัว่ไปเคมีอินทรีย์

เคมีเชิงฟิสิกส ์ ชีวเคมี

เภสชัวิเคราะห ์ (Pharmaceutical analysis)

เคมียา (Medicinal chemistry)เคมีคลินิก ( Clinical chemistry)

Page 41: PSU pharmacology

ความรู้ด้านวิชาชีพที่ทัง้ 2 หลกัสตูรต้องเรียน

กลุ่มวิชาวิชาชีพที่เป็นสมรรถนะร่วม (เรียนปี 3-4)

กลุ่มวิชาด้านการใช้ยาในผูป้่วย พยาธิสภาพ พยาธิสรีรวิทยาของโรค

การใช้ยา/เภสชับาํบดั (สารสงัเคราะหแ์ละสมนุไพร)

ฤทธิ์และพิษของยา (เภสชัวิทยา/พิษวิทยา)

กระบวนการจ่ายยาและส่งมอบยา

การใช้ยาอย่างสมเหตสุมผล

การจดัการอาการไม่พึงประสงคจ์ากยา

41

Page 42: PSU pharmacology

วิชาพืน้ฐาน: การใช้ยาในผูป้่วย

จุลชีววทิยา

กายวภิาคศาสตร์

ชีวเคมี

ชีววทิยาคณิตศาสตร์

พยาธิวทิยาสรีรวทิยา

Page 43: PSU pharmacology

ความรู้ด้านวิชาชีพที่ทัง้ 2 หลกัสตูรต้องเรียน

กลุ่มวิชาวิชาชีพที่เป็นสมรรถนะร่วม (เรียนปี 3-4)

กลุ่มวิชาด้านเภสชัศาสตรส์งัคมและการบริหารเภสชักิจ

กฎหมาย และจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ

การจดัการ บริหารเภสชักิจ การสื่อสาร

ระบบการสาธารณสขุ ระบบยา

ระบบการคุ้มครองผูบ้ริโภคยาและสขุภาพ

การบริการปฐมภมูิ และการสร้างเสริมสขุภาพ

เภสชัเศรษฐศาสตรแ์ละระบาดวิทยาทางยา

วิทยาระเบยีบวิธีวิจยัทางเภสชัศาสตร ์พืน้ฐาน: ชีวสถิต

43

Page 44: PSU pharmacology

ชัน้ปีที่ 5 เรียนรายวิชาเฉพาะด้านของแต่ละสาขา

• สาขาเภสชักรรมอตุสาหการเรียนเน้น การวิจยัยา

และเภสชัภณัฑ ์ การผลิตยาในระดบัอตุสาหกรรม

การตลาดยา พฤติกรรมผูบ้ริโภคด้านยาและ

ผลิตภณัฑส์ขุภาพ

• สาขาบริบาลทางเภสชักรรมเน้นด้านการดแูลด้าน

การใช้ยาในผูป้่วย การให้ข้อมลูยาแก่ผูป้่วยและ

บคุลากรทางการแพทย์44

Page 45: PSU pharmacology

การฝึกปฏิบตัิงาน: > 2,000 ชัว่โมง

• ทัง้ 2 หลกัสตูร ฝึกปฏิบตัิงานภาคฤดรู้อนของ

ชัน้ปี 4

โรงพยาบาล 200 ชัว่โมง

ร้านยา 200 ชัว่โมง

• ในปีสดุท้ายฝึกงานเฉพาะสาขาทัง้ปีไม่น้อยกว่า

1,680 ชัว่โมง

45

Page 46: PSU pharmacology

การฝึกงานในชัน้ปีที่ 6 สาขาเภสชักรรมอตุสาหการบงัคบัทกุคนต้องฝึกในโรงงานอตุสาหกรรมยา:

การผลิตยา

การประกนัคณุภาพยา

เลือกฝึกอีก 5 ผลดัเช่น

• วิจยัและพฒันาเภสชัภณัฑใ์นสถาบนัวิจยัต่าง ๆ

• ขึน้ทะเบียนยาทัง้แผนปัจจบุนั และยาสมนุไพร

• คุ้มครองผูบ้ริโภคด้านยาและผลิตภณัฑส์ขุภาพที่

สาํนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.),

สาํนักงานสาธารณสขุจงัหวดั46

Page 47: PSU pharmacology

การฝึกงานในชัน้ปีที่ 6 สาขาเภสชักรรมอตุสาหการ เลือกฝึกอีก 5 ผลดั-• ผลิตยาในโรงพยาบาล• การบริหารเวชภณัฑใ์นโรงพยาบาล • การบริหารเวชภณัฑใ์นร้านยา • การตลาดยาในบริษทัยา • การวิจยัยาในบริษทัยา ฯลฯ

47

Page 48: PSU pharmacology

การฝึกงานในชัน้ปีที่ 6 สาขาบริบาลทางเภสชักรรมบงัคบัทกุคน:

-การบริบาลทางเภสชักรรมในร้านยา

-การจดัการด้านยาในโรงพยาบาล

-การบริบาลทางเภสชักรรมสาํหรบัผูป้่วยนอกใน

โรงพยาบาล

-การบริบาลทางเภสชักรรมสาํหรบัผูป้่วยในที่พกั

รกัษาตวัในโรงพยาบาล

-การให้ข้อมลูสารสนเทศทางยาในโรงพยาบาล หรือ

หน่วยงานงานอื่น เช่น สถาบนัการศึกษา 48

Page 49: PSU pharmacology

การฝึกงานในชัน้ปีที่ 6 สาขาบริบาลทางเภสชักรรมฝึกวิชาเลือกอื่นๆ อีก 2 ผลดั

-การวิจยัยาทางคลินิก

-การดแูลผูป้่วยที่ได้รบัอาหารทางหลอดเลือด ฯลฯ

-เภสชักรรมปฐมภมูิ

-การบริบาลทางเภสชักรรมในผูป้่วยโรคต่าง ๆ เช่น

โรคมะเรง็

โรคติดเชื้อ

โรคไต

- ฯลฯ

49

Page 50: PSU pharmacology

• การจ่ายยา : เป็นเภสชักรในร้านยา หรือในสถาน

บริการสขุภาพต่าง ๆ ทัง้ศนูยส์ขุภาพชมุชน และ

โรงพยาบาลทกุระดบั

• ผลิตยาที่ไม่ใช่ระดบัอตุสาหกรรม เช่น ใน

โรงพยาบาล

• การบริการด้านปฐมภมูิ การส่งเสริมสขุภาพด้าน

ยาในชมุชน การเป็นเภสชักรเยี่ยมบา้น50

จากความรู้ร่วมกนัในสมรรถนะร่วมทาํให้ผูเ้รียนทัง้

2 สาขาสามารถปฏิบตัิงานต่อไปนี้ได้

Page 51: PSU pharmacology

• การคุ้มครองผูบ้ริโภคด้านยาและผลิตภณัฑ์

สขุภาพ ทาํงานในสาํนักงานสาธารณสขุจงัหวดั

หรือโรงพยาบาลชมุชน

• การตลาดยา: ดีเทลยา เป็นตวัแทนบริษทัยาให้

ข้อมลูยากบัแพทยแ์ละบคุลากรทางการแพทย์

อื่น)

• การวิจยัยาทางคลินิก:เพื่อนํายาใหม่มาใช้ในคน51

จากความรู้ร่วมกนัในสมรรถนะร่วมทาํให้ผูเ้รียนทัง้

2 สาขาสามารถปฏิบตัิงานต่อไปนี้ได้

Page 52: PSU pharmacology

“จดุรว่มคอืทาํเป็น

จดุแตกต่างคอืชาํนาญ”

52

Page 53: PSU pharmacology

ความเฉพาะของ

หลกัสตูรสาขาเภสชักรรมอตุสาหการ

• ชาํนาญในการพฒันาระบบคณุภาพและการผลิตยา

สมนุไพร เภสชัภณัฑส์ขุภาพ อาหาร และเครื่องสาํอาง

• สามารถวิจยัพฒันาคิดค้นยาใหม่หรือตาํรบัยาใหม่ๆ

• เป็นผูเ้ชี่ยวชาญในการเสนอข้อมลูยาและเภสชัภณัฑ์

สขุภาพด้านการตลาดยา

• มีความสามารถด้านการคุ้มครองผูบ้ริโภคด้านยาและ

สร้างศกัยภาพที่จะเป็นผูน้ําระดบัสงูขององคก์รธรุกิจ 53

Page 54: PSU pharmacology

งานที่เหมาะสาํหรบัผูส้าํเรจ็

หลกัสตูรสาขาเภสชักรรมอตุสาหการนอกเหนือจากสามารถทาํงานตามสมรรถนะร่วมแล้ว ยงัมี

ความเหมาะสมสาํหรบัเภสชักรในหน่วยงานต่อไปนี้

• เภสชักรฝ่ายผลิต ประกนัคณุภาพ และขึน้ทะเบียนใน

บริษทัผลิตยา เครื่องสาํอาง ผลิตภณัฑเ์สริสมสขุภาพ

• เภสชักรการตลาดในบริษทัยา

• เภสชักรในสาํนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

สาํนักงานสาธารณสขุจงัหวดั กรมวิทยาศาสตรก์ารแพทย์

• นักวิจยัในสถาบนัวิจยัต่าง ๆ 54

Page 55: PSU pharmacology

งานที่เหมาะสาํหรบัผูส้าํเรจ็หลกัสตูร

สาขาการบริบาลทางเภสชักรรม

นอกเหนือจากสามารถทาํงานตามสมรรถนะร่วมแล้ว ยงัมี

ความเหมาะสมสาํหรบัเภสชักรในหน่วยงานต่อไปนี้

• เภสชักรคลินิกดแูลผูป้่วยด้านยาในโรงพยาบาล :

ติดตาม ป้องกนัและแก้ไขปัญหาการใช้ยา

• เภสชักรร้านยาที่เน้นการดแูลผูป้่วยโรคเรือ้รงัในเชิงลึก

• เภสชักรให้คาํปรึกษาเรื่องยา

55

Page 56: PSU pharmacology

56

• ผูเ้รียนสาขาเภสชักรรมอตุสาหการมีความรู้

และทกัษะในการดแูลด้านการใช้ยาในผูป้่วยใน

เชิงลึกไม่มากเท่ากบัผูเ้รียนสาขาการบริบาล

ทางเภสชักรรม

• ผูเ้รียนสาขาบริบาลทางเภสชักรรมมีความรู้

และทกัษะด้านการผลิตยาในเชิงลึกไม่มากเท่า

ผูเ้รียนสาขาเภสชัศาสตร์

ทัง้ 2 สาขา เป็นอาจารยใ์นสถาบนัการศึกษาเภสชัศาสตรไ์ด้

Page 57: PSU pharmacology

ผูท้ี่เลือกเรียนด้านการบริบาลทางเภสชักรรม

-ชอบมีปฎิสมัพนัธก์บัผูป้่วย บคุลากรทางการแพทย์

-ขณะเรียนมีการทาํงานในห้องปฏิบตัิการ แต่ไม่มากเท่า

เภสชักรรมอตุสาหการ

57

ผูท้ีเ่หมาะในการเรยีนดา้นเภสชักรรมอุตสาหการ

-มธีรรมชาตงิานทีห่ลากหลาย ตามวงจรยา เลอืกไดท้ัง้

ทาํงานกบัเครือ่งมอืเครือ่งจกัร ไปถงึทาํงานทีเ่กีย่วขอ้ง

กบัการบรหิาร การตลาด การคุม้ครองผูบ้รโิภค

Page 58: PSU pharmacology

หลกัเกณฑก์ารรบันักศึกษาย้ายหลกัสตูร

• ถ้าคะแนนสอบเข้าศึกษาต่อที่คณะเภสชัศาสตรข์อง

นักศึกษาถึงคะแนนตํา่สดุของสาขาวิชาที่จะขอย้าย

ในปีนัน้ กจ็ะสามารถรบันักศึกษาได้ และให้อยู่ใน

ดลุยพินิจของคณะกรรมการประจาํคณะฯ

• กรณีผูท้ี่ได้คะแนนสอบเข้าไม่ถึงคะแนนตํา่สดุของ

สาขาวิชาที่จะขอย้าย ในปีนัน้นักศึกษาจะต้องมีผล

การเรียนเฉลี่ยภาคการศึกษาที่ 1 ไม่ตํา่กว่า 3.25

58

Page 59: PSU pharmacology

59

การสาํเรจ็การศึกษา• ผูเ้ข้าศึกษาตัง้แต่ปี 2557 เป็นต้นไป ไม่ต้องสอบประมวลความรอบรู้

• ต้องเรียนทกุรายวิชาครบตามหลกัสตูร และมีระดบัคะแนนเฉลี่ยสะสมในทกุรายวิชาตามหลกัสตูรไม่ตํา่กว่า 2.00 รวมทัง้ระดบัคะแนนเฉลี่ยสะสมเฉพาะรายวิชาชีพไม่ตํา่กว่า 2.00 จึงจะสาํเรจ็การศึกษา

สอบวดัความรู้ผูข้อขึน้ทะเบียนและรบัใบอนุญาตเป็นผู้

ประกอบวิชาชีพเภสชักรรม: ผูเ้ข้าศึกษาตัง้แต่ปี 2557

สอบ 2 ครัง้ เมื่อเรียนจบปี 4 และ ปี 6

Page 60: PSU pharmacology

60

ประกาศเกณฑส์มรรถนะร่วมฯ “ทัง้นี้การสอบวดัครัง้แรกจดัเป็น

ข้อบงัคบัก่อน (pre-requisite) ของครัง้ที่ ๒ ซึ่งเป็นการสอบวดัความรู้

ทกัษะ ความสามารถที่สอดคล้องกบัสาขาหลกั

Page 61: PSU pharmacology

การตดัสินใจเลือกเรียน

เลือกสิ่งที่ตนเองชอบ และคิดว่าจะทาํงานใน

วิชาชีพนัน้ได้ อย่าฝืนใจด้วยเหตผุลต่าง ๆ เช่น

• ตามกระแสนิยม

• ตามใจคนรอบข้าง ทัง้ที่ตนเองไม่ชอบ

• เลือกตามเพื่อน

• คะแนนสงูกว่าสาขาอื่น และคิดว่าน่าจะดี

“หากเลือกผิด ต้องทนเรียนถึง 6 ปี และจบแล้วต้อง

ฝืนใจทาํงานในสิ่งที่ตนเองไม่ชอบ”61

Page 62: PSU pharmacology

หลกัเกณฑก์ารรบันักศึกษาย้ายหลกัสตูร

• ถ้าคะแนนสอบเข้าศึกษาต่อที่คณะเภสชัศาสตรข์อง

นักศึกษาถึงคะแนนตํา่สดุของสาขาวิชาที่จะขอย้าย

ในปีนัน้ กจ็ะสามารถรบันักศึกษาได้ และให้อยู่ใน

ดลุยพินิจของคณะกรรมการประจาํคณะฯ

• กรณีผูท้ี่ได้คะแนนสอบเข้าไม่ถึงคะแนนตํา่สดุของ

สาขาวิชาที่จะขอย้าย ในปีนัน้นักศึกษาจะต้องมีผล

การเรียนเฉลี่ยภาคการศึกษาที่ 1 ไม่ตํา่กว่า 3.25

62

Page 63: PSU pharmacology

แม้คณะฯ เปิดโอกาสให้ย้ายข้ามสาขา

ได้ภายในคณะเภสชัศาสตรภ์ายในชัน้ปี

ที่ 1 แต่ไม่ใช่ว่าจะย้ายได้ทกุคน เพราะ

หากสาขาที่จะย้ายเข้าไปมีที่นัง่เตม็ก็

ย้ายไม่ได้

63

Page 64: PSU pharmacology

นโยบายมหาวิทยาลยัสงขลานครินทร ์

ด้านการเรียนการสอน

• ให้จดัการเรียนการสอนเป็นภาษาองักฤษในแต่ละ

รายวิชา > 20% - สื่อการสอน, slide, บรรยายเป็น

ภาษาองักฤษ

• ให้มีการสอนแบบ active learning ให้นักศึกษา

มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน > 30 % ของจาํนวน

ชัว่โมงตามหน่วยกิต เช่น อภิปราย คิดวิเคราะห ์ค้นคว้า

ด้วยตนเอง ใช้ปัญหาเป็นฐาน ใช้กรณีศึกษา ฯลฯ

64

Page 65: PSU pharmacology

65

วิชาทางเภสชัศาสตร์ผสมผสาน

ความเขา้ใจ: ท่องจํา: คํานวณ

ชื่อยา สูตรโครงสรา้งทางเคมีของยา, ฤทธิ์ของยาและสมุนไพร: เขา้ใจและท่องจํา

ระดบัยาในร่างกาย สูตรยา ขนาดยา กระบวนการผลิตยา : ความเขา้ใจและคํานวณ

การทํางานกบัผูป้่วย : มิติทางมนุษยแ์ละสงัคม

Page 66: PSU pharmacology

66

กระบวนการเรียนรู้การฝึกปฏิบตัิในห้องปฏิบตัิการ หรือสถานการณ์จาํลอง

อาจมี Laboratory direction หรือ Manual ให้ทาํตาม หรือให้

นักศึกษาค้นคว้าหาวิธีหรือบางสิ่งบางอย่างที่ต้องใช้ในการ

ปฏิบตัิการเอง

ต้องปฏิบตัิ และค้นคว้าด้วยตนเองจึงจะเกิดทกัษะในการ

เรียนรู้

ให้ตัง้คาํถามว่า “ทาํไมจึงต้องทาํอย่างนัน้ ทาํอย่างนี้ ?”

และหาคาํตอบ

Page 67: PSU pharmacology

67

การฝึกปฏิบตัิการในสถานการณ์จริง

ประมวลและบรูณาการความรู้ที่เรียนมาทัง้หมดมาแก้ปัญหาจริง

และค้นคว้าเพิ่มเติมในสิ่งที่ยงัไม่รู้ให้สามารถนํามาแก้ปัญหานัน้ ๆ ได้

การค้นคว้าศึกษาด้วยตนเองการวเิคราะห์ วจิารณ์ความรู้ทีไ่ด้รับการสังเคราะห์ความรู้การนําเสนอความรู้ทีไ่ด้รับ

- ทาํรายงานส่ง- การนําเสนอหน้าชั้นเรียน

Page 68: PSU pharmacology

-ปริญญาโท 5 หลักสูตร- จบป.ตรีเภสัชฯ สาขาใดกไ็ด้

1.เภสัชศาสตรมหาบณัฑติ (เภสัชศาสตร์)

2. เภสัชศาสตรมหาบณัฑติ (เภสัชกรรมคลนิิก)

3. เภสัชศาสตรมหาบณัฑติ (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร)

4. วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ (วทิยาศาสตร์สมุนไพร)

5. วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ (วทิยาศาสตร์เครื่องสาํอาง)

การศกึษาต่อหลงัจบปรญิญาตร-ี หลกัสตูรของ มอ.

Page 69: PSU pharmacology

ปริญญาเอก 3 หลักสูตร; วุฒบิตัร 1 หลักสูตร -ปรัชญาดุษฎีบณัฑติสาขาเภสัชศาสตร์

-ปรัชญาดุษฎีบณัฑติสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม

-ปรัชญาดุษฎีบณัฑติ เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร

-วุฒบิตัรแสดงความรู้ความชาํนาญในการประกอบวชิาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบาํบดั (residency หรือ board)-เหมาะสาํหรับผู้จบสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม

การศกึษาต่อหลงัจบปรญิญาตร-ี หลกัสตูรของ มอ.

Page 70: PSU pharmacology

การรบัรองปริญญาเภสชัศาสตรโ์ดยสภาเภสชักรรม

ประกนัคณุภาพ: ผลิตเภสชักรอย่างมีคณุภาพ-

ประโยชน์ของผูร้บับริการ

ปกป้องสิทธิของผูเ้ข้าเรียน

70

ก่อนเข้าเรียน หลกัสตูร, รบัรองสถาบนัทกุ ๕ ปี-

ระหว่างเรียน (สถาบนัใหม่ทกุปี - ๖ แห่ง)

สาํเรจ็การศึกษา- สอบขึน้ทะเบียนฯ

Page 71: PSU pharmacology

www.pharmacycouncil.org

71

สามารถเข้าไปด ูปริญญา

เภสชัศาสตรบณัฑิตที่สภา

เภสชักรรมให้การรบัรองได้ที่

website นี้

Page 72: PSU pharmacology

คณะเภสชัศาสตร ์มอ.มี 5 ภาควิชา• เภสชักรรมคลินิก: การใช้ยา บริบาลทางเภสชักรรม

• เภสชัเคมี: เคมีของยา วิเคราะหย์าทางเคมี

• เภสชัเวทและเภสชัพฤกษศาสตร:์ ยาจากธรรมชาติ

• บริหารเภสชักิจ: เภสชัศาสตรส์งัคมและการบริหาร

• เทคโนโลยีเภสชักรรม: ผลิตยา เครื่องสาํอาง ทัง้ระดบั

เลก็จนถึงอตุสาหกรรม

Page 73: PSU pharmacology

หน่วย/ศนูยบ์ริการวิชาการของคณะเภสชั

ศาสตร ์ มอ.

• สถานปฏิบตัิการเภสชักรรมชมุชน

– ร้านยาเภสชั มอ.

• ศนูยบ์ริการปฏิบตัิการทางเภสชัศาสตร ์

• ศนูยส์มนุไพรทกัษิณ

• หน่วยเภสชัสนเทศ (Drug Information center

:DIC) 73

Page 74: PSU pharmacology

http://drugstore.pharmacy.psu.ac.th/สถานปฏิบตัิการเภสชักรรมชมุชน ร้านยาเภสชั มอ.

74

Page 75: PSU pharmacology

http://plsc.pharmacy.psu.ac.th/ศนูยบ์ริการปฏิบตัิการทางเภสชัศาสตร ์

75

Page 76: PSU pharmacology

ศนูยบ์ริการปฏิบตัิการทางเภสชัศาสตร ์(ศบภ.)

1. ตรวจวิเคราะหค์ณุภาพยา เภสชัภณัฑ ์เครื่องสาํอาง

อาหาร สมนุไพร และผลิตภณัฑเ์สริมอาหาร

-การทดสอบยา: ความสมํา่เสมอของปริมาณตวัยา

สาํคญั การละลาย การทดสอบความคงตวั ฯลฯ

-การวิเคราะหส์มนุไพร ตรวจสเตียรอยด ์ เตรียม

วตัถดุิบสมนุไพร

- การให้บริการผลิตเภสชัภณัฑ ์ได้แก่ โซเดียมคลอไรด ์

และยาหลอก (placebo)

76

Page 77: PSU pharmacology

ศนูยบ์ริการปฏิบตัิการทางเภสชัศาสตร ์(ศบภ.)

- - บริการจาํหน่ายนํ้ากลัน่และนํ้ากลัน่บริสทุธิ์สงู

- การให้บริการอื่นๆ ได้แก่ การทดสอบคณุสมบตัิ

ทางกายภาพ เช่น ความเป็นกรด-ด่าง หาปริมาณ

ความชื้น วดัขนาดอนุภาค

2. การให้บริการศึกษาชีวสมมลูยา (Bioequivalence

Study) ที่ผลิตในประเทศเทียบกบัยาต้นแบบ

3. การวิจยัและพฒันาสตูรตาํรบั เพื่อการผลิตยา และ

เครื่องสาํอางที่มีคณุภาพ77

Page 78: PSU pharmacology

ศนูยบ์ริการปฏิบตัิการทางเภสชัศาสตร ์(ศบภ.)

5. เป็นหน่วยตรวจสอบมาตรฐานผลิตภณัฑช์มุชน

(OTOP) โดยความร่วมมือกบัสาํนักมาตรฐาน

ผลิตภณัฑอ์ตุสาหกรรมเพื่อเสริมสร้างศกัยภาพ และ

ยกระดบักระบวนการผลิต มาตรฐานและคณุภาพ

ผลิตภณัฑช์มุชน

6. โรงงานผลิตยาสมนุไพรต้นแบบ

78

Page 79: PSU pharmacology

ศนูยส์มนุไพรทกัษิณ:

http://herbal.pharmacy.psu.ac.th/

79

Page 80: PSU pharmacology

80

Page 81: PSU pharmacology

http://drug.pharmacy.psu.ac.th/: ประชาชนและบคุลากรทางการแพทย์

81

Page 82: PSU pharmacology

82

Page 83: PSU pharmacology

83