65
SERVICE PLAN สาขาไต านการดทดแทนไต (DIALYSIS ) นพ . กมล โฆตงล โรงพยาบาลมหาราชนครศธรรมราช 4 นาคม 2559 - กระทรวงสาธารณข

Hand out service plan 4 มีนาคม 2559

Embed Size (px)

Citation preview

SERVICE PLAN สาขาไต

ด้านการบำบัดทดแทนไต (DIALYSIS)

นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล

โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

4 มีนาคม 2559 - กระทรวงสาธารณสุข

พญ.ดวงตา อ่อนสุวรรณ

นพ.ชลิต ทองประยูร

SERVICE PLAN

SERVICE PLAN

http://www.nephrothai.org/nephrothai_boffice/images_upload/news/454/files/annual_report_thailand_renal_replacement_therapy_2013.pdf

http://www.nephrothai.org/nephrothai_boffice/images_upload/news/454/files/annual_report_thailand_renal_replacement_therapy_2013.pdf

http://www.nephrothai.org/nephrothai_boffice/images_upload/news/454/files/annual_report_thailand_renal_replacement_therapy_2013.pdf

http://www.nephrothai.org/nephrothai_boffice/images_upload/news/454/files/annual_report_thailand_renal_replacement_therapy_2013.pdf

SERVICE PLAN

PD FIRST POLICY

PD FIRST POLICY

COMPARISON OF HD AND PD PATIENT NUMBERS IN THE 15 LARGEST COUNTRIES RANKED BY

TOTAL DIALYSIS PATIENT POPULATION

http://www.vision-fmc.com/files/pdf_2/ESRD_Patients_2012.pdf

http://kdf.nhso.go.th/index1.php

ด้านการพัฒนาระบบการรักษาด้วยการทำ DIALYSIS

PD - สิ่งที่จะดำเนินในปี งบ 2559 - 2560

การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานระบบบริการ PD

การขยายบริการบริการ PD 100% ในรพ.ระดับ M1 ขึ้นไปและ

PD>50%ในรพ.ระดับ M2

พัฒนาศูนย์ทําการวางสายล้างไตทางช่องท้อง

ดูภาพรวม ในกรรมการไตระดับเขต

การจัดระดับสถานบริการสุขภาพ ในปี 2555-2559

A : Advance-level Referral Hos.

S : Standard-level Referral Hos.

M1 : Mid-level Referral Hos.

M2 : Mid-level Referral Hos.

F1-3 : First-level Referral Hos.

การกำหนดบทบาทและหน้าที่ของสถาบันสมทบ

สถาบันสมทบ ลงทะเบียน เบิกน้ำยา เบิก ESA

Initiate case และนำเสนอการ shift mode

รักษาภาวะแทรกซ้อน

กลุ่มที่ 1 - A, S, M1 + + +

กลุ่มที่ 2 - M2

- - +

กลุ่มที่ 3 - F1-3, clinic - - -

รอ อนุกรรมการ pd อีกครั้ง

สถาบันสมทบ บุคลากร สถานที่ PD

กลุ่มที่ 1 - A, S, M1

Nephro - Full time - Part time อายุรแพทย์ทั่วไป แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป PD Nurse Registered Nurse (RN)

โรงพยาบาลที่มีเตียงรับ ผู้ป่วยใน

มี PD unit ของตัวเอง 12 ตรม.

กลุ่มที่ 2 - M2 Nephro - Full time - Part time

PD Nurse (full time) 1:50

โรงพยาบาลที่มีเตียงรับ ผู้ป่วยใน

มี PD unit ของตัวเอง 12 ตรม.

กลุ่มที่ 3 - F1-3, clinic

Nephro - Part time แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (full time)

PD Nurse (full time) 1:50

คลินิก มีพื้นที่เฉพาะ

รอ อนุกรรมการ pd อีกครั้ง

การกำหนดบทบาทและหน้าที่ของสถาบันสมทบ

ด้านการพัฒนาระบบการรักษาด้วยการทำ DIALYSIS

PD - สิ่งที่ดําเนินการแล้ว

จัดทำมาตรฐานการล้างไตทางช่องท้อง โดย

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

ด้านการพัฒนาระบบการรักษาด้วยการทำ DIALYSIS

PD - สิ่งที่จะดำเนินในปี งบ 2559 - 2560

การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานระบบบริการ PD

การขยายบริการบริการ PD และ HD ครบ 100% ในรพ.ระดับ M1 ขึ้นไปและ PD>50%ในรพ.ระดับ M2

พัฒนาศูนย์ทําการสร้างและซ่อม vascular access for HD และ สายล้างไตทางช่องท้อง

แนวทางการทำงาน

กำหนดมาตรฐานตัวชี้วัด (KPI) จากสมาคมโรคไต

ประสานงานผู้ถือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ให้ ช่วยกันเชื่อมโยงข้อมูล

มีกระบวนการตรวจสอบแหล่งที่มาและความน่าเชื่อถือของข้อมูล

ประมวลผล และรายงานภาพรวมของประเทศ

KPI FOR PD 2015

Infrastructure KPIs

1. Nephrologist or consultant/Patient ratio

2. PD nurse/Patient ratio

Process KPIs

3. Percentage of PD patient with adequacy measured in last 12 months

4. Percentage of PD patient having Hb >10 g/dl or Hct >30%

5. Percentage of PD patients with serum parathyroid levels within 150-500 pg/ml

6. Percentage of PD patient with total weekly (Kt/V > 1.7)

7. Exit-site infection rate, patient-month

8. Percentage of peritonitis with culture negative

Clinical KPIs

9. Peritonitis rate, patient-month

10. 1 year PD patient survival, %

11. 1 year PD technique survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

12. 3 year PD patient survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

13. 3 year PD technique survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

Infrastructure KPIs

1. Nephrologist or consultant/Patient ratio

2. PD nurse/Patient ratio

Process KPIs

3. Percentage of PD patient with adequacy measured in last 12 months

4. Percentage of PD patient having Hb >10 g/dl or Hct >30%

5. Percentage of PD patients with serum parathyroid levels within

150-500 pg/ml

6. Percentage of PD patient with total weekly (Kt/V > 1.7)

7. Exit-site infection rate, patient-month

8. Percentage of peritonitis with culture negative

Clinical KPIs

9. Peritonitis rate, patient-month

10. 1 year PD patient survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

11. 1 year PD technique survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

12. 3 year PD patient survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

13. 3 year PD technique survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานระบบบริการ PD

PD Registry

การลงข้อมูล PD ในปัจจุบัน

1. ฐานข้อมูล ชุดมาตรฐาน 43 แฟ้ม ผ่าน HDC ( สปสช., กระทรวงฯ)

2.โปรแกรม DMIS (สปสช.)

3.โปรแกรม PD excel (Baxter)

4.โปรแกรม DPEX (สปสช., PD excel based)

5.โปรแกรม TRT ( สมาคมโรคไตฯ)

Infrastructure KPIs

1. Nephrologist or consultant/Patient ratio

2. PD nurse/Patient ratio

Process KPIs

3. Percentage of PD patient with adequacy measured in last 12 months

4. Percentage of PD patient having Hb >10 g/dl or Hct >30%

5. Percentage of PD patients with serum parathyroid levels within 150-500 pg/ml

6. Percentage of PD patient with total weekly (Kt/V > 1.7)

7. Exit-site infection rate, patient-month

8. Percentage of peritonitis with culture negative

Clinical KPIs

9. Peritonitis rate, patient-month

10. 1 year PD patient survival, %

11. 1 year PD technique survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

12. 3 year PD patient survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

13. 3 year PD technique survival, death, kidney transplantation, & renal recovery censor, %

สถานการณ์ ปัจจุบัน

จำนวน คนไข้ ล้างไตหน้าท้องทั้งหมด ณ ไตรมาส 3 ปี 2558

95% (20,000 ราย)เป็นคนไข้ สปสช.

ลงทะเบียน 37,775 ราย ยังคงมีชีวิต 20,923 ราย

นับจากวันลงทะเบียน ถึงวันที่เสียชีวิต เฉลี่ย 490 วัน

5% ( ประมาณ 1,000 ราย) เป็นคนไข้เบิกราชการ

1% ( ประมาณ 200 ราย) เป็นคนไข้ ประกันสังคมอ้างอิงจาก ข้อมูล สปสช.& Baxter สิงหาคม 2558

TRT

แนวทางการรับข้อมูล

สปสชหน่วยบริการ

การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานระบบบริการ PD

สนับสนุนสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยในการผลิตบุคลากร

สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์โดยมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุขที่มีความพร้อม

สนับสนุนการเชื่อมโยงกับ สถาบันอื่น ๆ นอกกระทรวงสาธารณสุขเพื่อ ความสอดคล้องต่อเนื่องของการพัฒนาระบบ เช่น มหาวิทยาลัยฯ กระทรวงกลาโหม

สภาการพยาบาล แพทยสภา

สนับสนุน Regional RRT Technology and Training Centers

(RRRT-TTCs)

SERVICE PLAN

ด้านการพัฒนาระบบการรักษาด้วยการทำ DIALYSIS

HD - สิ่งที่ดำเนินการแล้วในปีงบ 2557-2558

พัฒนารูปแบบการตรวจรับรองมาตรฐานศูนย์ไตเทียม ร่วมกับสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ผ่านทาง ต.ร.ต.

กำหนดแนวทางบริหารจัดการศูนย์ HD รพ.กระทรวง สธ. เพื่อแก้ปัญหาศูนย์ HD outsourcing ในโรงพยาบาลรัฐ ในการควบคุมคุณภาพและความโปร่งใสของการดำเนินการ

ด้านการพัฒนาระบบการรักษาด้วยการทำ DIALYSIS

HD - สิ่งที่จะดำเนินในปี งบ 2559 - 2560

พัฒนาการตรวจศูนย์ HD ของตรต.ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและบูรณาการกับการตรวจของสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ และ สปสช.

ปรับระบบ reimbursement บริการ HD ตามคุณภาพบริการโดยร่วมพัฒนาระบบกับกองทุน ฯ ต่าง ๆ

การขยายบริการบริการ HD ครบ 100% ในรพ.ระดับ M1 ขึ้นไป

การจัดระดับสถานบริการสุขภาพ ในปี 2555-2559

A : Advance-level Referral Hos.

S : Standard-level Referral Hos.

M1 : Mid-level Referral Hos.

M2 : Mid-level Referral Hos.

F1-3 : First-level Referral Hos.

M2 - รพ.ชุมชนระดับแม่ข่าย

รูปแบบการจัดบริการ การบำบัดทดแทนไต

อุปกรณ์ของรัฐ อุปกรณ์ของเอกชน

บุคลากรของรัฐ A B

บุคลากรของเอกชน

C D

แจ้งปัญหา จาก ตรต.

1. การขอเปิดหน่วยใหม่ ใน รพ.ของ สธ. ผ่านคณะกรรมการไตระดับเขต ในทางปฏิบัติยังไม่ประสาน กับทางตรต. เท่าที่ควร ...

ตอนนี้มีหน่วยเปิดใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

แจ้งปัญหา จาก ตรต.

2. มีบาง รพ. ที่มีหน่วย HD เดิมอยู่แล้ว (ไม่ว่าหน่วยของ รพ. เอง หรือ

outsource) และอยู่ในระหว่างการรับรอง แล้วเปิดหน่วยที่สอง (ส่วนใหญ่เป็น outsource) ให้บริการ แล้วของเบิกผ่านรหัสหน่วยเดิม กว่าจะยื่นขอตรวจประเมินผ่าน ตรต. บางทีให้บริการไปแล้วเกือบปี

3. บาง รพ. ผอ. ไปทำสัญญากับ บริษัท outsource แต่ไม่ได้คุยกับแพทย์ nephro พบว่า ไม่มีแพทย์ไปดูคนไข้ เพราะอยู่ไกล และ ผอ. ไม่เคยรู้เรื่องมาตรฐาน ตรต. ไปดัดแปลงแก้ไข ขยายหน่วย หรือย้ายพื้นที่ โดยไม่แจ้ง ตรต. ก็มี

แนวทางบริหารจัดการศูนย์ฟอกเลือด

ด้วยเครื่องไตเทียมของโรงพยาบาล

สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

คุณภาพบริการ

เงื่อนไขการจ้างเหมาบริการ

การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ

สิ่งที่เกิดตามมา

คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติการขอเปิดศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมใหม่ ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค (ผู้ตรวจราชการฯ เป็นผู้ลงนามแต่งตั้ง)

คณะกรรมการเพื่อสนับสนุนผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้เข้าถึงการบริการทดแทนไต ระดับเขต (เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นผู้ลงนามแต่งตั้ง)

คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพสาขาไตระดับเขต (รอทบทวน)

คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพ สาขาไต (รอทบทวน)

การขอเปิดหน่วยไตเทียม

ให้ มีการตกลงในระดับเขต ที่จะมีการเปิดหน่วยบริการใหม่ ในการเปิดศูนย์ไตเทียม โดยกรรมการเป็นระดับเขต ซึ่งประกอบด้วย กรรมการ service plan ไตของเขต คือ มี

1. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดที่จะเปิด_ ประธาน

2. CSO chief service officer เขต _ รองประธานคนที่ หนึ่ง

3. ประธาน service plan เขต _ รองประธานคนที่ สอง

4. หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ _ เลขา

5. อายุรแพทย์โรคไตในเขต จังหวัดละ หนึ่งคน

6. หัวหน้าพยาบาลไตเทียม จังหวัดละหนึ่งคนในเขตนั้น หรือตัวแทนผู้ตรวจราชการเป็นผู้แต่งตั้ง

ข้อมูลในการขอเปิดหน่วยไตเทียม

ข้อมูลที่จะต้องมีในการขอเปิดหน่วยไตเทียม ตามความจำเป็น

1. พยากรณ์จำนวนคน และจำนวนคนรอคอย ผู้ที่จะเข้ารับบริการในหน่วยไตเทียม

2. จำนวนคนไข้ที่มีความลำบากในการเข้าสู่ การฟอกเลือด

3. โครงสร้างทางภูมิศาสตร์ ของการเดินทาง

4. จำนวนบุคลากรทางการแพทย์ที่จะเข้าสู่ การให้บริการ

5. พื้นที่ไตเทียม ที่จะต้องนำเสนอ ก่อนเปิดบริการ

ด้านการพัฒนาระบบการรักษาด้วยการทำ DIALYSIS

HD - สิ่งที่จะดำเนินในปี งบ 2559 - 2560

พัฒนาการตรวจศูนย์ HD ของตรต.ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและบูรณาการกับการตรวจของสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ และ สปสช.

ปรับระบบ reimbursement บริการ HD ตามคุณภาพบริการโดยร่วมพัฒนาระบบกับกองทุน ฯ

การขยายบริการบริการ HD ครบ 100% ในรพ.ระดับ M1 ขึ้นไป

การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ

http://www.nephrothai.org/news/news.asp?type=KNOWLEDGE&news_id=417

การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ

http://www.phimaimedicine.org/2015/02/3091-2557.html

การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ

การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ

การพัฒนาระบบติดตามกำกับคุณภาพบริการไตเทียม

หน่วยไตเทียมทุกหน่วยในโรงพยาบาล ต้องผ่านการรับรองมาตรฐาน ตรต.

ผู้ป่วยฟอกเลือดได้รับการตรวจเยี่ยมโดยอายุรแพทย์โรคไตตามมาตรฐานการรักษา และมีระบบตรวจสอบการเยี่ยมของแพทย์

การเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลตัวชี้วัดคุณภาพบริการฟอกเลือดเสนอต่อศูนย์คุณภาพของโรงพยาบาล และคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพสาขาไตของเขตอย่างสม่ำเสมอ

พญ.ดวงตา อ่อนสุวรรณ Service plan พ.ศ.2556 - 2560

การจัดบริการร่วมโดยภาคเอกชนและการกำหนดเงื่อนไขสำหรับการจ้างเหมาบริการ

การจัดซื้อจัดจ้างหรือจ้างเหมาบริการ ให้ดำเนินการตามระเบียบพัสดุโดยเคร่งครัด

การกำหนดเงื่อนไขในการทำสัญญาจ้าง ให้มีองค์ประกอบด้านคุณภาพด้วยทุกครั้ง ประกอบด้วย

ระบุแพทย์ผู้รับผิดชอบและเครือข่ายโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยในโรงพยาบาลแต่ละระดับ ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข

มีระบบติดตามกำกับและประเมินคุณภาพบริการหน่วยไตเทียม ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข

ต้องดำเนินการให้ผ่านการรับรองมาตรฐาน ตรต.ภายในเวลาที่กำหนด

พญ.ดวงตา อ่อนสุวรรณ Service plan พ.ศ.2556 - 2560

บึงกาฬ

11 จังหวัด ที่ยังไม่มีอายุรแพทย์โรคไต ข้อมูล ณ มีนาคม 2559

สิ่งที่เกิดตามมา

คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติการขอเปิดศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมใหม่ ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค (ผู้ตรวจราชการฯ เป็นผู้ลงนามแต่งตั้ง)

คณะกรรมการเพื่อสนับสนุนผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้เข้าถึงการบริการทดแทนไต ระดับเขต (เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นผู้ลงนามแต่งตั้ง)

คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพสาขาไตระดับเขต (รอทบทวน)

คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพ สาขาไต (รอทบทวน)

SERVICE PLAN

สรุป ผลลัพธ์การประชุม

การพัฒนาระบบสุขภาพด้านการบำบัดทดแทนไต (ล้างไตหน้าท้อง -PD )

สนับสนุนให้เกิด การลงทะเบียนผู้ป่วยล้างไตหน้าท้อง (PD Registry)

โดยมีการประสานงานผ่านกลไกของกระทรวงสาธารณสุข คือ สำนักงานบริหารสาธารณสุข (สบรส.) ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

4 มีนาคม 2559 - กระทรวงสาธารณสุข

สรุป ผลลัพธ์การประชุม

การพัฒนาระบบสุขภาพด้านการบำบัดทดแทนไต (ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม-HD)

ให้มีการติดตามกำกับคุณภาพ และบริการของการฟอกเลือด ผ่านทางกรรมการไตระดับจังหวัด และระดับเขต โดยกลไกการทำงานร่วมกับ คณะกรรมการตรวจรับรองคุณภาพไตเทียม โดยให้มีการรายงานผลตามตัวชี้วัดผลการรักษา รวม 20 ตัวซึ่งประกอบด้วย

ตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ และตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตามรายละเอียดแนบในเกณฑ์การตรวจรับรองมาตรฐานการรักษาโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (ภาคผนวก 2)

ให้มีการสนับสนุนการจัดสรรตำแหน่งอายุรแพทย์โรคไต ในโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ที่ขาด อีก 11 จังหวัด ได้ แก่ น่าน, ชัยนาท, อุทัยธานี, ยโสธร, มุกดาหาร,

บึงกาฬ, พังงา, พัทลุง, ปัตตานี, นราธิวาส, สตูล 4 มีนาคม 2559 - กระทรวงสาธารณสุข