7
เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 1 มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเภสัชเคมีภัณฑ 1 ตามมติคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจศึกษาการปรับประเภทยาตานจุลชีพ 2 ดวยมีหลักฐานทางวิชาการซึ่งบงชี้วา การนํายาตานจุลชีพมาใชในสัตวบริโภคและสัตวเลี้ยงเพื่อควบคุม 3 ปองกัน หรือรักษาโรคอยางแพร หลาย รวมทั้ง มีการนําไปใชในทางที่ผิดเพื่อเรงการเจริญเติบโต (growth 4 promoters) สงผลใหเกิดเชื้อแบคทีเรียดื้อยาแพรกระจายทั้งในมนุษยและสัตวอยางกวางขวาง ตัวอยางเชน 5 การใชยา fluoroquinolones (เชน enrofloxacin) ในสัตวบริโภคสงผลให เชื้อแบคทีเรีย Salmonella, 6 Campylobacter และ Escherichia coli พัฒนาเปนเชื้อดื้อยา ciprofloxacin ทีกอโรคในมนุษย และยากใน 7 การรักษา เชื้อดื้อยาดังกลาวมีการแพรกระจายไปทั่วโลกจากการเดินทางและการคาขายอาหาร จึงตองมีการ 8 ควบคุมการใชยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเภสัชเคมีภัณฑ โดยเฉพาะยาตานจุลชีพที่มีวิธีใชโดยการผสมอาหาร 9 สัตวเพื่อปองกัน ควบคุม หรือรักษาโรคสัตว และยาตานจุลชีพกลุที่มีลําดับความสําคัญลําดับสูงสุด ไดแก ยา 10 กลุquinolones, cephalosporins, macrolides และ glycopeptides เนื่องจากเปนยาตานจุลชีพกลุที่ใช 11 รักษาโรครายแรงซึ่งมีอุบัติการณสูงในมนุษย โดยเปนยาชนิดเดียวที่ใชรักษาหรือมีทางเลือกจํากัด คณะอนุ 12 กรรมการเสนอใหกําหนดมาตรการตามกฎหมาย ดังนี13 1. มาตรการรายงานการขายเภสัชเคมีภัณฑ 14 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาออกประกาศกําหนดใหผูรับอนุญาตผลิต ขาย นําเขาหรือสั่งเภสัช 15 เคมีภั ณฑ ในกลุquinolones และอนุพันธ , cephalosporin s, macrolides, polymyxins และ 16 glycopeptides ตองจัดทํารายงานการขายเภสัชเคมีภัณฑตามแบบ ภค. 3 ผานทาง FDA reporter ตาม 17 ระยะเวลาที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศฯ กําหนด 1 18 2. มาตรการทางกฎหมายตอยาสําเร็จรูปสําหรับสัตว 19 2.1 ใหกระทรวงสาธารณสุข แกไขประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาควบคุมพิเศษ และเรื่อง 20 ยาอันตราย โดยจัดใหยาตานจุลชีพที่มีวิธีใชโดยการผสมในอาหารสัตว และยาในกลุquinolones และอนุพันธ , 21 cephalosporins, macrolides, polymyxins ทุกชนิด จัดเปนยาควบคุมพิเศษ ซึ่งตองสั่งใชโดยสัตวแพทย 22 เทานั้น สวนยาตานจุลชีพกลุมอื่นๆ ทุกรูปแบบจัดเปนยาอันตราย 23 2.2 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาออกประกาศกําหนด ชองทางการจําหนายยาตานจุลชีพ 24 และแสดงขอความหรือสัญลักษณบนฉลากและเอกสารกํากับยา 2 กลาวคือจํากัดชองทางการจําหนายของยาตาน 25 จุลชีพที่มีวิธีใชโดยการผสมในอาหารสัตว (medicated premix) ที่มีขนาดการใหยาและมีวิธีการผสมยาที่ตอง 26 นํายาสําเร็จรูป (medicated premix) มานอยกวา 5 กิโลกรัมผสมกับอาหารสัตว จํานวน 1 ตัน โดยใหจําหนาย 27 ไดเฉพาะโรงงานผสมอาหารสัตวที่มี Good Manufacturing Practice (GMP) เทานั้น 28 2.3 ใหกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศ เรื่อง วัตถุ ที่ไดรับการยกเวนจากการเปนยา ให 29 อาหารสัตวผสมยา (Medicated feed) เปนวัตถุที่ไดรับยกเวนจากการเปนยา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ 30 1 ออกตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กําหนดหนาที่ของผูรับอนุญาตเกี่ยวกับเภสัชเคมีภัณฑที่เปนสารออกฤทธิ์หรือเภสัช เคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูปที่มีสวนผสมของสารออกฤทธิ์ ลงวันที26 เมษายน 2556 ซึ่งอาศัยอํานาจตามความในกฏกระทรวงกําหนดหนาที่ของผูรับอนุญาต เกี่ยวกับเภสัชเคมีภัณฑที่เปนสารออกฤทธิ์หรือเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูปที่มีสวนผสมของสารออกฤทธิ์ พ.. 2555 2 ออกตามกฎกระทรวงวาดวยการขึ้นทะเบียนตํารับยา พ.. 2555

มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

Embed Size (px)

DESCRIPTION

หนังสือเวียน เรื่อง การประชุมรับฟังความคิดเห็น เรื่อง มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเคมีภัณฑ์ วันที่ 22 สิงหาคม 2557 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไพจิตร ปวะบุตร ชั้น 9 อาคาร 7 ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข http://drug.fda.moph.go.th/zone_admin/files/ต้านจุลชีพสำหรับสัตว์.pdf เอกสารประกอบการฟังความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเคมีภัณฑ์ (ฉบับแก้ไข) http://drug.fda.moph.go.th/zone_admin/files/Outline_Reclass_ฉบับแก้ไข.pdf (ดาวน์โหลดเมื่อ 6 กันยายน 2557)

Citation preview

Page 1: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 1

มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเภสัชเคมีภัณฑ1

ตามมติคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจศึกษาการปรับประเภทยาตานจุลชีพ2

ดวยมีหลักฐานทางวิชาการซ่ึงบงชี้วา มีการนํายาตานจุลชีพมาใชในสัตวบริโภคและสัตวเลี้ยงเพ่ือควบคุม 3

ปองกัน หรือรักษาโรคอยางแพรหลาย รวมท้ังมีการนําไปใชในทางท่ีผิดเพ่ือเรงการเจริญเติบโต (growth4

promoters) สงผลใหเกิดเชื้อแบคทีเรียด้ือยาแพรกระจายท้ังในมนุษยและสัตวอยางกวางขวาง ตัวอยางเชน 5

การใชยา fluoroquinolones (เชน enrofloxacin) ในสัตวบริโภคสงผลใหเชื้อแบคทีเรีย Salmonella,6

Campylobacter และ Escherichia coli พัฒนาเปนเชื้อด้ือยา ciprofloxacin ท่ีกอโรคในมนุษยและยากใน7

การรักษา เชื้อด้ือยาดังกลาวมีการแพรกระจายไปท่ัวโลกจากการเดินทางและการคาขายอาหาร จึงตองมีการ8

ควบคุมการใชยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเภสัชเคมีภัณฑ โดยเฉพาะยาตานจุลชีพท่ีมีวิธีใชโดยการผสมอาหาร9

สัตวเพ่ือปองกัน ควบคุม หรือรักษาโรคสัตว และยาตานจุลชีพกลุมท่ีมีลําดับความสําคัญลําดับสูงสุด ไดแก ยา10

กลุม quinolones, cephalosporins, macrolides และ glycopeptides เนื่องจากเปนยาตานจุลชีพกลุมท่ีใช11

รักษาโรครายแรงซ่ึงมีอุบัติการณสูงในมนุษย โดยเปนยาชนิดเดียวท่ีใชรักษาหรือมีทางเลือกจํากัด คณะอนุ12

กรรมการฯ เสนอใหกําหนดมาตรการตามกฎหมาย ดังนี้13

1. มาตรการรายงานการขายเภสัชเคมีภัณฑ14

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาออกประกาศกําหนดใหผูรับอนุญาตผลิต ขาย นําเขาหรือสั่งเภสัช15

เคมีภัณฑในกลุม quinolones และอนุพันธ, cephalosporins, macrolides, polymyxins และ 16

glycopeptides ตองจัดทํารายงานการขายเภสัชเคมีภัณฑตามแบบ ภค.3 ผานทาง FDA reporter ตาม17

ระยะเวลาท่ีสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศฯ กําหนด118

2. มาตรการทางกฎหมายตอยาสําเร็จรูปสําหรับสัตว19

2.1 ใหกระทรวงสาธารณสุข แกไขประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาควบคุมพิเศษ และเรื่อง20

ยาอันตราย โดยจัดใหยาตานจุลชีพท่ีมีวิธีใชโดยการผสมในอาหารสัตว และยาในกลุม quinolones และอนุพันธ,21

cephalosporins, macrolides, polymyxins ทุกชนิด จัดเปนยาควบคุมพิเศษ ซ่ึงตองสั่งใชโดยสัตวแพทย22

เทานั้น สวนยาตานจุลชีพกลุมอ่ืนๆ ทุกรูปแบบจัดเปนยาอันตราย 23

2.2 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาออกประกาศกําหนด ชองทางการจําหนายยาตานจุลชีพ24

และแสดงขอความหรือสัญลักษณบนฉลากและเอกสารกํากับยา2 กลาวคือจํากัดชองทางการจําหนายของยาตาน25

จุลชีพท่ีมีวิธีใชโดยการผสมในอาหารสัตว (medicated premix) ท่ีมีขนาดการใหยาและมีวิธีการผสมยาท่ีตอง26

นํายาสําเร็จรูป (medicated premix) มานอยกวา 5 กิโลกรัมผสมกับอาหารสัตวจํานวน 1 ตัน โดยใหจําหนาย27

ไดเฉพาะโรงงานผสมอาหารสัตวท่ีมี Good Manufacturing Practice (GMP) เทานั้น28

2.3 ใหกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศ เรื่อง วัตถุท่ีไดรับการยกเวนจากการเปนยา ให29

อาหารสัตวผสมยา (Medicated feed) เปนวัตถุท่ีไดรับยกเวนจากการเปนยา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการ30

1 ออกตามประกาศสํานกังานคณะกรรมการอาหารและยา เร่ือง กําหนดหนาที่ของผูรับอนุญาตเกี่ยวกับเภสัชเคมีภัณฑทีเ่ปนสารออกฤทธิ์หรือเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูปที่มีสวนผสมของสารออกฤทธิ์ ลงวันท่ี 26 เมษายน 2556 ซ่ึงอาศัยอํานาจตามความในกฏกระทรวงกําหนดหนาที่ของผูรับอนุญาตเกี่ยวกบัเภสัชเคมีภัณฑที่เปนสารออกฤทธิ์หรือเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูปที่มีสวนผสมของสารออกฤทธิ ์พ.ศ. 25552 ออกตามกฎกระทรวงวาดวยการขึ้นทะเบียนตํารับยา พ.ศ. 2555

Page 2: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 2

ควบคุม medicated feed ซ่ึงกระทรวงเกษตรและสหกรณจะควบคุม ดูแลใหเปนไปตามพระราชบัญญัติควบคุม1

คุณภาพอาหารสัตวตอไป โดยมีมาตรการการควบคุมดูแล ดังตารางท่ี 12

2.4 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะไมรับข้ึนทะเบียนตํารับยาตานจุลชีพสําหรับสัตว 3

ในกลุม carbapenems, lipopeptides, oxazolidinones และยาตานจุลชีพสําหรับมนุษยท่ีข้ึนทะเบียนยาใหม4

ท่ีเปน New Chemical Entities (NCE)5

ตารางท่ี 1 มาตรการควบคุมดูแลอาหารสัตวผสมยา6

มาตรการการควบคุมดูแลโรงงานผลิตอาหารสัตวผสมยา

๑. มีใบอนุญาตผลิตอาหารสัตวผสมยา (GMP plus HACCP ตออายุทุก ๓ ป)๒. มีสัตวแพทยผูควบคุมโรงงานผลิตอาหารสัตวผสมยา- ควบคุมชนิดยาท่ีนํามาผสม ควบคุมใหมีการจัดทําบันทึกและฉลากอาหารสัตวผสมยา๓. มีขอมูลผลการทดสอบ homogeneity ของเครื่องมือผสมอยางสมํ่าเสมอ๔. มีผลวิเคราะห potency และ Stability ของยาชนิดท่ีมีการวางจําหนายสอดคลองตามเกณฑท่ีกําหนดตามวงรอบ (periodic program)๕. มีระบบในการควบค ุม และปองกันการ carry over๖. มีบันทึกรายการทะเบียนตํารับยาท่ีนํามาใชในโรงงานอาหารสัตว และมี Certificate of analysis (COA) ของยาทุกรุนการผลิต (Lot)๗. มีบันทึกสูตรมาตรฐานการผลิตอาหารสัตวผสมยา และระบบบันทึกเพ่ือการสืบยอนกลับผลิตภัณฑยาท่ีใชผสมลงในอาหารสัตวแตละสูตรตํารับ๘. เก็บรักษาบันทึกการผลิตอาหารสัตวผสมยาเฉพาะฟารมตามใบสั่งใชของ สัตวแพทย (หรือสัตวแพทยผูควบคุมฟารมกรณีเปนฟารมมาตรฐาน)

ยาท่ีผสม ๑. มีทะเบียนตํารับยา ระบุขอบงใชผสมอาหารสัตว มีวิธีวิเคราะหยาในอาหารสัตวและ COA๒. กรณียาผสมอาหารสัตว มีอัตราปริมาณการใชสูงกวาขอกําหนดในตํารายา ใหออกประกาศ ควบคุมการกระจายนํามาขายไดเฉพาะโรงงานอาหารสัตว ซ่ึงมีระบบ GMP และ HACCP เทานั้น (ถาเปนไปได ควรใหผูผลิตยาแสดงหลักฐาน ข้ันตอนการผสมยาดังกลาวใหได homogeneity ในโรงงานผลิตอาหารสัตวผสมยา ดวย)

อาหารสัตวผสมยาท่ีมีการวางจําหนาย

๑. มีการกําหนดมาตรฐานอาหารสัตวผสมยาและฉลากมาตรฐาน โดย พิจารณาชนิดสัตว,ขนาด,วิธีการใช,สรรพคุณ,ขอควรระวัง ระยะหยุดยา วิธีวิเคราะหยาในอาหารสัตว

๒. หากยาท่ีผสมลงในอาหารสัตวเปนยาควบคุมพิเศษตาม พ.ร.บ.ยา การจําหนายอาหารสัตวผสมยาท่ีมียาดังกลาวตองมีใบสั่งจากสัตวแพทย๓. ไมมีการวางจําหนายอาหารสัตวผสมยาสําหรับสัตวปก และ สุกรในระยะสุดทาย

อาหารสัตวผสมยาท่ีผลิตเฉพาะฟารมตามใบส่ังใชของสัตวแพทย

๑. มีการติดฉลากตามรูปแบบฉลากมาตรฐานท่ีกําหนด๒. อาจผสมยาหลายตํารับผสมลงใน Feed ได ตามเง่ือนไขดังนี้

- สัตวแพทยผูสั่งใชยา ตองคุนเคยกับสภาพการเลี้ยงสัตวในฟารมดังกลาว

Page 3: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 3

รับผิดชอบในการตรวจวินิจฉัย พรอมท่ีจะติดตามอาการปวย และไดตระหนักถึงความเขากันไดของยากรณีจําเปนตองใชยาผสม- กําหนดระยะหยุดยาเพ่ือไมใหมีสารตกคางเกินปริมาณมาตรฐานท่ีกําหนด และสามารถระบุตัวสัตวท่ีไดรับยาชุดนั้นได - ไมมียาอ่ืนท่ีสามารถควบคุม / รักษาสภาวะโรคนั้นท่ีสัตวแพทยวินิจฉัย ไดแลว- ตองเปนยาท่ีมีทะเบียนตํารับ ระบุขอบงใชในสัตวเพ่ือการบริโภค และระบุใหใชผสมอาหารสัตวไดเทานั้น๓. ไมมีการผสมยาในอาหารสัตวสําหรับสุกรน้ําหนักเกิน ๘๐ กิโลกรัม และสัตวปกระยะสุดทาย

การควบคุมการกระจาย ๑. มีบันทึกการรับ-จาย๒. การกําหนดชนิดอาหารสัตวผสมยาท่ีสามารถวางจําหนายได ใหพิจารณาในคณะอนุกรรมการท่ีเก่ียวของ เชนคณะอนุกรรมการกําหนดมาตรฐานวัตถุท่ีเติมในอาหารสัตว

1

2

3

Page 4: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 4

ภาคผนวก1

1. สถานการณการดื้อยาตานจุลชีพในปจจุบัน2

องคการอนามัยโลกรายงานวา มีการใชยาตานจุลชีพในการเกษตรกรรมอยางกวางขวาง ท้ังการใชเพ่ือ3

ปองกันโรคติดเชื้อในสัตวบริโภค การใชรักษาสัตวปวย รวมท้ังการใชท่ีไมใชการรักษา เชน ใชเรงการเจริญเติบโต 4

เปนตน ยาท่ีใชครอบคลุมถึงตัวยาตานจุลชีพท่ีจัดอยูในกลุม critically important ของยาสําหรับมนุษยดวย5

เชื้อแบคทีเรียท่ีแพรจากสัตวบริโภคสูคนท่ีพบบอย ไดแก Salmonella spp., Campylobacter6

spp., Escherichia coli และ Enterococcus spp. เม่ือเร็วๆ นี้ มีหลักฐานแสดงวาพบเชื้อแบคทีเรีย 7

Staphylococcus aureus (รวมถึง MRSA) และClostridium difficile ในสัตวบริโภค และสามารถพบใน8

ผลิตภัณฑอาหารและสิ่งแวดลอมในเวลาตอมาได9

ในปจจุบันเชื้อแบคทีเรียกรัมลบด้ือยา (เชน E. coli) เปนปญหาท่ีมีความสําคัญท่ีทวีความรุนแรงอยาง10

รวดเร็ว โดยไมมียาตานจุลชีพกลุมใหมท่ีอยูระหวางวิจัยและพัฒนา ในอีก 10 ป ขางหนา จึงยากท่ีจะมียาตานจุล11

ชีพกลุมใหมท่ีมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อท่ีเกิดจากแบคทีเรียกรัมลบด้ือยา12

เ ม่ือ เร็ วๆ นี้ พบการระบาดของ เชื้ อแบคที เรี ย ท่ี มียีน metallo-betalactamase ซ่ึ ง ด้ือยา 13

carbapenems และ beta-lactams ทุกชนิด ท่ีนากังวลมากคือการพบการกระจายขามทวีปของเชื้อ E. coli14

ด้ือยาหลายชนิด (New Delhi metallo-betalactamase or NDM strain) ซ่ึงด้ือยา carbapenems และยา15

ตานจุลชีพอ่ืนๆ เกือบท้ังหมดรวมถึงยาในกลุม non-betalactam เชื้อดังกลาวทําใหเกิดโรคติดเชื้อท้ังใน16

โรงพยาบาลและชุมชน และมีการแพรกระจายในสหราชอาณาจักรและประเทศอ่ืนๆ นอกจากนั้นยังมีการ17

สงผานยีนท่ีมีรหัสในการสราง metallo-betalactamase ไปยังแบคทีเรียสายพันธุอ่ืนๆ (เชน Klebsiella,18

Vibiro และ Providentia) การรักษาจําเปนตองใชยาฉีด polymyxin เขาทางหลอดเลือดดําเทานั้น แมเปนยา19

ท่ีมีการใชทางคลินิกไมมากนักในปจจุบันเนื่องจากปญหาพิษของยาและการด้ือยาในระหวางการรักษา ซ่ึงเกิดได20

ไมยาก แตขณะนี้เปนยาชนิดเดียวท่ีพิสูจนแลววาไวตอเชื้อแบคทีเรียด้ือยาหลายชนิดกลุมนี้ อยางไรก็ตาม 21

แบคทีเรียกลุมนี้บางสายพันธุท่ีมี NDM gene มีการด้ือยาตานจุลชีพทุกชนิดรวมท้ัง polymyxin22

ในประเทศเนเธอรแลนด ตรวจพบยีนท่ีมีรหัสในการสรางเอนไซม ESBL (extended spectrum23

beta-lactamase) ในสัตวบริโภคและในคนไขท่ีเปนโรคติดเชื้อรุนแรง ซ่ึงเปนยีนชนิดเดียวกันท่ีตรวจพบใน E.24

coli isolates25

E. coli เปนเชื้อกอโรคในมนุษยท่ีมีความสําคัญในระดับโลก และเปนสาเหตุในการเกิดโรคติดเชื้อ26

มากกวาเชื้อ Salmonella, Campylobacter รวมกัน27

28

29

2. สถานการณเช้ือดื้อยาดานการปศุสัตว30

การด้ือยาของเชื้อแบคทีเรียกอโรคในสัตวปก31

ชนิดของยา ป 2545-2551 ป 2552-2555E. coli (Chicken, duck, goose) %การดื้อยา

Amoxicillin 67.5 83.8

Page 5: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 5

ชนิดของยา ป 2545-2551 ป 2552-2555

Amoxicillin/Clavulanic acid 20.0 0.0

Ampicillin 71.2 86.1Ceftiofur 16.7 2.7

Cephalothin 41.9 50.0

Colistin 8.3 7.7Doxycycline 67.3 41.0

Enrofloxacin 58.6 47.2Gentamicin 15.3 28.9

Kanamycin 26.7 25.9

Norfloxacin 50.0 42.1Streptomycin 74.4 51.5

Tetracycline 86.0 62.5Trimethoprim/Sulfamethoxazole 65.9 45.8Salmonella (Chicken, duck, bird)

Amoxicillin 33.8 63.3

Amoxicillin/Clavulanic acid 7.1 8.9Ampicillin 28.4 52.4

Ceftiofur 0.0 4.0

Cephalothin 11.9 14.6Colistin 20.7 8.3

Doxycycline 31.6 26.0Enrofloxacin 14.9 4.2

Gentamicin 6.6 22.0

Kanamycin 5.9 11.6Norfloxacin 5.0 0.0

Streptomycin 39.0 41.0

Tetracycline 42.9 41.7

Trimethoprim/Sulfamethoxazole 35.0 34.1

Methicillin resistant Staphylococcus aureus: MRSA 100 isolates of coagulase positive1

staphylococci that be cultured from milk samples are MRSA 9%, VRSA 0%, VISA 48% (MIC)2

(West VRC; DLD)3

Methicillin resistant Staphylococcus aureus: MRSA 807 isolates of coagulase positive4

staphylococci that be cultured from milk sample are MRSA 1.2% (multiplex PCR) (NIAH; DLD)5

การด้ือยาของ E.coli: อุจจาระและน้ําเสียจากฟารมสุกร (Dept.of Livestock Development; DLD)6

Page 6: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 6

1,150 isolates from feces and 694 isolates from waste water (during 2003-2004)1

- Doxycycline, tetracycline, sulfa, sulfamedoxazole, trimetroprim 71.43-92.31%2

- Streptomycin, amoxycillin, sulfamethoxazole-trimetroprim, ampicillin, nail, kanamycin,3

neomycin 33.43-65.85%4

- Enrofloxacin, ciprofloxacin, norfloxacin, gentamycin, cepha, colistin 3.72-26.51%5

Antimicrobial resistance patterns of Salmonella isolated from meat sold in Nan6

province, Thailand7

8

9

10

11

12

13

14

Antimicrobial resistance patterns of Pathogenic E. coli isolated from sick pigs, Thailand15

Page 7: มาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์และเภสัชเคมีภัณฑ์

เอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นมาตรการควบคุมยาและปรับประเภทยาตานจุลชีพสําหรับสัตวและเคมีภัณฑ สิงหาคม 2557 หนา 7

1

2

3

4