40
นักวิจัย สวทช.คือ ... ความหวัง รศ.ดร.หริส ตะบ ตร 27 พฤศจิกายน 2549

20120417 nstda-history-harit

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ประวัติความเป็นมาของ สวทช.

Citation preview

Page 1: 20120417 nstda-history-harit

“นักวิจยั สวทช.” คอื ... ความหวัง

รศ.ดร.หริส สูตะบุตร

27 พฤศจิกายน 2549

Page 2: 20120417 nstda-history-harit

ตั้ง สวทช. ขึน้มาทาํไม

O ตอ้งการมีองคก์รที่มีนกัวิจยัมืออาชีพ ที่ใชเ้วลาเต็มที่ในการทาํวิจยั อาจารยม์หาวิทยาลยัมีเวลาวจิยันอ้ยไป

Page 3: 20120417 nstda-history-harit

© NSTDA 2012

www.nstda.or.th

1

ตั้ง สวทช. ขึ้นมาท าไม o ต้องการมีองค์กรที่ช่วยท าให้ประเทศไทยเก่งทางวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี โดยช่วยพัฒนามหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และหน่วยงานอื่นๆ โดย มีทุนการศึกษาต่างประเทศ และในประเทศ เพื่อสร้างอาจารย์ที่เนน้การวิจัย และนักวิจัยในสถาบันวิจัยและหน่วยงานต่างๆ ขณะนี้นักเรียนทุนเรียนจบกลับมาท างานแล้ว 1,991 คน ท ำงำนเป็นอำจำรย์มหำวิทยำลัย 1,046 คน ท างานที่ สวทช. 357 คน ท ำงำนที่หน่วยงำนในกระทรวงวิทยำศำสตร์ฯ 247 คน ท ำงำนที่หน่วยงำนอ่ืนๆ 341 คน

Page 4: 20120417 nstda-history-harit

© NSTDA 2012

www.nstda.or.th

2

ตั้ง สวทช. ขึ้นมาท าไม o ครม. ตั้งศูนย์ประสานงานนักเรียนทุนรัฐบาล (ศนวท.)

เพื่อติดตามดูแลนักเรียนทุน (http://stscholar.nstda.or.th)

o มีทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และหน่วยงานอื่นร่วมท างานกับนกัวิจัย สวทช.

o มี TGIST เพื่อช่วยอาจารย์มหาวิทยาลัยในการคุมวิทยานิพนธ์ และเพื่อให้นักศึกษาเข้ามาท าวิจัยที่ สวทช.

o นักเรียนทุนที่กลับมาเป็นจ านวนมากช่วยท าให้โครงการปริญญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) ประสบความส าเร็จ

นักเรียนทุน จ านวน 66 คน ดูแลนักเรียน คปก. 158 คน

Page 5: 20120417 nstda-history-harit

เราเดนิทางมาได้ไกลแล้ว

... แต่จะยงัต้องเดนิทางไปอีกไกล

Page 6: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์

เมื่อตอนที่ อ.ยงยทุธ และผมกลบัมาใหม่ๆ

ช่วยร่างแผนพฒันาวทิยาศาสตร์และ

เทคโนโลยสีาํหรับแผนพฒันาประเทศ

ระยะที่ 5 และ 6

(15-20 ปี มาแลว้)

ตอนนั้นอุทยานวทิยาศาสตร์ยงั

เป็นความฝันในกระดาษ

Page 7: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์

หลงัจากทาํแผน 5 และ 6 แลว้ ผมกเ็ลิกทาํแผนเพราะอยากมุ่งทาํใหแ้ผนที่เขียนไวเ้ป็นจริง

หลงัจากมีการตั้ง สวทช. ในสมยั อานนัท ์1

สวทช. กเ็ริ่ม ขึ้นที่อาคารสาํนกังานปลดัฯ

ซึ่งขณะนี้คืออาคารพระจอมเกลา้

อาคารของ สวทช. หลงัแรก คือ อาคารโยธี

ที่เกิดจากการขอใชท้ี่ของกรมวทิยาศาสตร์บริการ

Page 8: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์

ก่อนออกแบบไดจ้า้งบริษทั Earl Walls Associates,

Laboratory Design Consultants ซึ่งส่ง Mr. Ulrich M. Lindner

มาวางเคา้โครง

Page 9: 20120417 nstda-history-harit
Page 10: 20120417 nstda-history-harit
Page 11: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์ต่อมาไดข้อสิทธิการใชท้ี่ของหลวง ที่กรมธนารักษด์ูแล

AIT และมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ไดก้รุณาแบ่งให้

มหาวทิยาลยัละ 100 ไร่ รวมเป็น 200 ไร่ จึงไดข้อ

งบประมาณเพื่อออกแบบและสร้างอุทยานวทิยาศาสตร์

ผมไดค้ิดถึงหลกัการของอุทยาน ซึ่งในตอนนั้นเรียกวา่

“อุทยานวจิัยและพฒันาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลย”ี

หรือ STRDP

Page 12: 20120417 nstda-history-harit
Page 13: 20120417 nstda-history-harit
Page 14: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์

ก่อนออกแบบไดใ้ชเ้งิน USAID จา้ง Park Experts 3 คน

คือ Mr. L.C. Goldman, Mr. M.C. Houseworth และ

Mr. M.J. Krauss มาวางแผนแม่บทและเคา้โครงของ

อาคาร

Page 15: 20120417 nstda-history-harit

G1. Concept of STRDP“Research Labs, Incubators, Facilitating Unit”

Dr. Yongyuth YuthawongDr. Harit SutabutrDr. Pairash ThajchayapongDr. Sakarindr BhumiratanaMr. Leonard C. GoldmanDr. Saran PoshyachindaSecretary

G2. Conceptual Master Plan of STRDP“What to do and when”YongyuthDr. Nit ChantramangklasriHaritGolmanPairashSakarindrDr. Krissanapong KirtikaraDr. Sutat SriwatanapongseDr. Panya SrichandraMr. Michael J. KrausMr. Marvin C. HouseworthDr. Paul A. SutorSaran SecretaryMiss Patcharin Pusanaas Secretary

Page 16: 20120417 nstda-history-harit
Page 17: 20120417 nstda-history-harit
Page 18: 20120417 nstda-history-harit
Page 19: 20120417 nstda-history-harit
Page 20: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์เมื่อออกแบบเสร็จ ประมลูดว้ยความยากลาํบากเพราะไม่ได้

เลือกรายที่ราคาตํ่าสุด กเ็ริ่มมีการก่อสร้าง แต่ก่อสร้างมาได้

ไม่นานกเ็กิดปัญหาฟองสบู่แตก วกิฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ

บริษทัที่รับเหมาตอ้งเลิกกิจการพร้อมๆ กบัการสัง่ยบุบริษทั

การเงินหลายสิบบริษทั ตึกหลายตึกที่เจอปัญหานี้ ป่านนี้ยงั

คา้งไม่ไดส้ร้างต่อกม็ี แต่ดว้ยความยากลาํบากเรากส็ามารถ

หาบริษทักาํจรกิจก่อสร้าง มาสร้างต่อจนเสร็จ

Page 21: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์

เมื่อมาตรวจการก่อสร้าง ปีนตึกขึ้นไปที่หลงัคา

ชั้น 5 แลว้มองไปรอบๆ กเ็กิดความรู้สึกวา่ ที่ฝัน

ไว ้20 ปีมาแลว้ ที่ทาํแผนแม่บทไว ้ที่ออกแบบไว ้

ที่ไดก้่อสร้างไว ้กาํลงัจะเป็นความจริงขึ้นมาแลว้

Page 22: 20120417 nstda-history-harit

อทุยานวทิยาศาสตร์ฝันที่เป็นจริง

Page 23: 20120417 nstda-history-harit

ความก้าวหน้าของ สวทช.

Page 24: 20120417 nstda-history-harit

ความก้าวหน้าของ สวทช.

• เรียกไดว้า่ สวทช. เริ่มจากสูญ คือคนในตอนแรกไม่กี่คน ประกอบดว้ย อาจารยม์หาวทิยาลยั ที่ สวทช. ยมืตวัมาทาํงานบางเวลาไม่กี่คน เมื่อตอนเกิดและก่อนมี พรบ.สวทช. สถาบนัวจิยัวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยแีห่งประเทศไทย (วว.) มีบุญคุณต่อเราเพราะ สวทช. เกิดขึ้นโดยใช ้พรบ. ของ วว.

Page 25: 20120417 nstda-history-harit

ความก้าวหน้าของ สวทช.• สวทช. ตั้งมาได ้15 ปี คือตั้งในปี 2534 ขณะนี้มีคนประมาณ 1,960 คน ปัจจุบนันกัวจิยัไดส้ร้างผลงานและไดร้ับรางวลัมากมาย เป็นที่น่าภาคภูมิใจ

• ดา้นบริการวชิาการ และการถ่ายทอดเทคโนโลย ีซึ่งเป็นองคป์ระกอบที่สาํคญัของ สวทช. กท็าํไดด้ี ผมยอมรับวา่ อุทยานฯ นกัวจิยัและบุคลากรอื่นของสวทช.ไม่ไดท้าํใหผ้มผดิหวงัเลย

Page 26: 20120417 nstda-history-harit

ความก้าวหน้าของ สวทช.

• ความฝันที่อยากใหน้กัวจิยัพนัธุ์แทม้าเป็น

รมว.กระทรวงวทิยาศาสตร์ฯ

กเ็ป็นจริง เมื่อ อ.ยงยทุธ ไดร้ับ

การทาบทาม และรับเป็น รมว.

กระทรวงวทิยาศาสตร์ฯ

Page 27: 20120417 nstda-history-harit

เรายงัต้องเดนิทางร่วมกนัอีกไกล

Page 28: 20120417 nstda-history-harit

เรายงัต้องเดนิทางร่วมกนัอีกไกล• เมื่อพดูถึงคู่แข่ง ผมย ํ้าเสมอวา่ เราตอ้งไม่ถือวา่ มหาวทิยาลยั และ วว. เป็นคู่แข่ง เพราะพนัธกิจของ สวทช. คือช่วยสร้างประเทศไทยใหเ้ก่งทาง ว&ท เมื่อมหาวทิยาลยั และ วว. มีผลงานดีเราตอ้งดีใจและภูมิใจ

• ดงันั้นคู่แข่งของเราตอ้งเป็นสถาบนัประเภทเดียวกนัในต่างประเทศ ผมเคยเสนอวา่ slogan ของเราควรจะเป็น

“beat ITRI”

Page 29: 20120417 nstda-history-harit

ITRI หรือ Industrial Technology Research

Institute ของไต้หวนั

สวทช. ตั้งมาแลว้ 15 ปี

ITRI ตั้งมาแลว้ 33 ปี

สวทช. มีคน 1,960 คน

ITRI มีคน 6,000 คน

ในด้านผลงาน ทั้งในด้านบทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ และสิทธิบัตร เขาทิง้เราห่างมาก

ITRI

Page 30: 20120417 nstda-history-harit

เรื่องที ่ ITRI มี Impact ต่ออตุสาหกรรม

• Establishing New High – Tech Industries

Work at ITRI have extended the boundaries of IC design, flat – panel displays, and CD drives

Examples :

– Taiwan became the world’s 4th largest IC supplier

• In 2001, IC packaging and IC foundry industries rank # 1, while IC design sector ranks second in worldwide output

• Taiwanese notebook PC, many peripheral devices and wireless LAN products have had a dominating presence since late 1990’s

Page 31: 20120417 nstda-history-harit

เรื่องที ่ ITRI มี Impact ต่ออตุสาหกรรม

• Upgrading Traditional Industries

Research at ITRI has led to improvements in a diverse range of fields, including

– Automotive Industry – ITRI developed a common (1,200 CC) engine for domestic cars with cooperation from Great Britain’s Lotus Engineering Co.

– Precision Machinery

ITRI has developed PC – based controllers, plant automation services.

Taiwan is no. 6 in export of advanced tools and machinery.

– Textile Industry

ITRI developed high – speed spinning process, greatly improved the throughput

Page 32: 20120417 nstda-history-harit

เรื่องที ่ ITRI มี Impact ต่ออตุสาหกรรม• Leading the Drive for Sustainable Growth

– Resource usage

ITRI has developed an efficient water recovery system. The system can reclaim 70% of waste water incurred in IC manufacturing.

– Waste Treatment

ITRI has developed a new up-stream anaerobic sludge bed (modified UASB) waste water treatment technology. Compared with conventional activated sludge method, the new technology saves 30 – 60 % in land and capital cost.

Page 33: 20120417 nstda-history-harit

เรื่องที ่ ITRI มี Impact ต่ออตุสาหกรรม

• Developing Highly Skilled Human Resources.

ITRI’s broad scope of research, excellent facilities, close industrial ties and interdisciplinary approach combine to make a uniquely effective hotbed for talents critical to the future of industries. Although ITRI is not an educational institution, it is one of the biggest suppliers of industrial leaders in Taiwan

The Science - based Industrial Park, with US$ 27 billion in annual output, has some 4,900 ITRI alumni. They are the key factor of the success of that establishment.

Page 34: 20120417 nstda-history-harit

“นักวิจยั สวทช.” คอื ... ความหวัง

Page 35: 20120417 nstda-history-harit

“นักวจิัย สวทช.” คอื ...ความหวงั

• เห็นแลว้วา่ เพื่อใหป้ระเทศไทยเก่งทาง ว&ท เพื่อให้

ประเทศไทยสามารถสร้างความมัง่คัง่ และความผาสุกของ

ประชากร สวทช. ตอ้ง ตั้งเป้าที่จะ beat ITRI ซึ่งเห็นแลว้

วา่ยาก และเราตอ้งร่วมกนัเดินทางอีกไกล

Page 36: 20120417 nstda-history-harit

“นักวจิัย สวทช.” คอื ...ความหวงั• ในปัจจุบนั มีอนัตรายที่บริษทั High Tech ขา้มชาติที่มีฐานการ

ผลิตในไทย คิดจะยา้ยไปอยูป่ระเทศขา้งเคียง เช่น Malaysia เขากาํลงัมองวา่

* ระบบงานวจิยัของไทยยงัไม่ดีพอ

* มหาวทิยาลยัยงัผลิตวศิวกร และ

นกัวทิยาศาสตร์ไม่ดีพอ

* วศิวกร และนกัวทิยาศาสตร์ไทยที่ทาํงานกบัเขา

ยงัสู้งานไม่มากพอ

Page 37: 20120417 nstda-history-harit

“นักวจิัย สวทช.” คอื ...ความหวงั• เราตอ้งการดึงบริษทัขา้มชาติ ใหเ้อางาน R & D มาไวใ้นไทย

เราอยากใหไ้ทยมีส่วนร่วมมากขึ้นในการผลิตองคป์ระกอบของ

mega project เช่น รถไฟฟ้าใตด้ิน

เราอยากใหไ้ทยมีอุตสาหกรรมที่มี brand name ไทย

เพราะเมื่อมี brand name กต็อ้งสูเ้พื่อ brand name

กต็อ้งทาํ R & D เพราะความจาํเป็น

ไม่ใช่เพราะรัฐบาลขอร้องใหท้าํ

Page 38: 20120417 nstda-history-harit

“นักวจิัย สวทช.” คอื ...ความหวงั• ถา้มีกิจกรรมเหล่านี้ กิจกรรมเหล่านี้จะเป็น

ตวัฉุดลากหรือหวัรถไฟที่จะนาํขบวนการพฒันาความสามารถ

ทาง ว & ท โดยเฉพาะ R & D

นกัวจิยัไทยกจ็ะมีที่เล่นหรือ playing field

ดงันั้นจึงจะดึงดูดใหค้นมาสนใจ

ในการเรียน ว & ท มากขึ้น

Page 39: 20120417 nstda-history-harit

“นักวจิัย สวทช.” คอื ...ความหวงั• เนื่องจากพนัธกิจของ สวทช. คือ

* การช่วยทาํใหป้ระเทศไทยเก่งทาง ว & ท

* ช่วยพฒันามหาวิทยาลยัและสถาบนัวจิยั

ความหวงัของประเทศจึงตอ้งอยูบ่นบ่าของ สวทช.

นกัวจิยั สวทช. คือ ผูเ้ล่นหลกัของ สวทช.

บุคลากรส่วนอื่น กส็าํคญัมากเป็นกลุ่มบริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลย ีและสนบัสนุน

ดงันั้น นกัวจิยั สวทช. คือ

ความหวงัของ สวทช. และของประเทศไทย

Page 40: 20120417 nstda-history-harit

“นักวิจยั สวทช.” คอื ... ความหวัง

ขอบคุณครับ