โครงการอ่างเก็บน้ำมวกเหล็ก [Compatibility Mode]

Preview:

Citation preview

สาํนักงานก่อสร้าง 4สาํนักโครงการขนาดใหญ่ กรมชลประทาน

ยนิดตี้อนรับ

โครงการมวกเหลก็ จงัหวัดสระบุรี

นายชยันต์ เมืองสง ผู้อาํนวยการสาํนักงานก่อสร้าง 4สาํนักโครงการขนาดใหญ่ กรมชลประทาน

ความเป็นมาโครงการ

ราษฎรในเขตท้องที่อําเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี ส่วนใหญ่

ประกอบอาชีพ ปลูกอ้อย ข้าวโพด ทานตะวัน เลีย้งไก่และสุกร ประสบ

ความเดือดร้อนเนื่องจากฝนทิง้ช่วงและภาวะภัยแล้ง จากปัญหาดังกล่าว

กรมชลประทานได้เริ่มศกึษาโครงการ ตัง้แต่สิงหาคม 2532

วัตถุประสงค์ของโครงการ

- เพื่อเป็นแหล่งนํา้สาํหรับการเพาะปลูกและปศุสัตว์ในเขตอาํเภอวังม่วง

จังหวัดสระบุรี

- ส่งนํา้เสริมให้พืน้ที่โครงการสูบนํา้แก่งคอย-บ้านหมอในช่วงฤดแูล้ง

- เพื่อเป็นแหล่งนํา้สาํหรับการอุปโภค-บริโภคในอาํเภอวังม่วง

จังหวัดสระบุรี

- เพื่อเป็นแหล่งนํา้สาํหรับการประมง

- เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่น

ที่ตัง้โครงการ

- ตัง้อยู่บริเวณหมู่ที่ 5 บ้านตะพานหิน ตําบลคําพราน อําเภอวังม่วง

จังหวัดสระบุรี ประมาณเส้นรุ้งที่ 14-08-2.4 เหนือ เส้นแวงที่ 101-08-51.6

ตะวันออก พกิัด 47 PQS 312-371 ระวาง 5238 IV

แผนที่แสดงที่ตัง้โครงการ

จ.สระบุรี

อ.วงัม่วง อ.มวกเหล็ก

อ.แก่งคอย

อ.เฉลิมพระเกียรติ

อ.เสาให้

อ.เมืองสระบุรีอ.หนองแซง

อ.หนองแค

อ.วิหารแดง

อ.บา้นหมอ้อ.ดอนพดุ

อ.หนองโดน

อ.พระพทุธบาท

ที่ตัง้โครงการ

จ.ลพบุรี

จ.นครราชสีมา

จ.พระนครศรอียุธยา จ.นครนายก

อ่างเก็บนํ้ามวกเหล็ก

โครงการสูบนํ้าแก่งคอย-บา้นหมอ

แผนที่แสดงที่ตัง้โครงการ

อ่างเก็บนํ้าเขื่อนป่าสกัชลสิทธิ์

แผนที่แสดงขอบเขตโครงการและพืน้ที่ชลประทานโดยสังเขป

หว้ยมวกเหล็ก

แม่นํ้าป่าสกั

พื้นที่ชลประทาน 20,000 ไร่

พื้นที่ชลประทาน 5,500 ไร่

อาํเภอวงัม่วง

อ่างเก็บนํ้ามวกเหล็ก

เขื่อนมวกเหล็ก

3017

3224

ลักษณะโครงการ

(1) ข้อมูลทางอุทกวทิยา

พืน้ที่รับนํา้ลงอ่าง 557.00 ตารางกโิลเมตร

ปริมาณนํา้ไหลลงอ่างในเกณฑ์เฉลี่ยต่อปี 161.06 ล้านลูกบาศก์เมตร

ความจุอ่างฯ ที่ระดบันํา้เกบ็กักตํ่าสุด 1.10 ล้านลูกบาศก์เมตร

ความจุอ่างฯ ที่ระดบันํา้เกบ็กักปกติ 61.00 ล้านลูกบาศก์เมตร

ความจุอ่างฯ ที่ระดบันํา้เกบ็กักสูงสุด 69.50 ล้านลูกบาศก์เมตร

ลักษณะโครงการ (ต่อ)

(2) เขื่อนหวังาน เขื่อนดนิแบบ Zone Type ระดบัสันเขื่อน +102.50 เมตร (ร.ท.ก.)

และความกว้างสันเขื่อน 9.00 เมตร

- เขื่อนหลัก (Main Dam)

ความยาวสันเขื่อน 1,156.70 เมตร

ส่วนสูงที่สุด 43.50 เมตร

- เขื่อนปิดช่องเขาตํา่ (Saddle Dam)

ความยาวสันเขื่อน 120.00 เมตร

ส่วนสูงที่สุด 7.00 เมตร

ลักษณะโครงการ (ต่อ) (3) อาคารประกอบ

- อาคารทางระบายนํ้าล้น (Spillway) ตัง้อยู่บริเวณฝั่งซ้ายของเขื่อนหลัก ชนิด Gate spillway จาํนวนบานระบาย 3 บาน ขนาดบานระบาย 6.00 x12.50 เมตร ระดบัสันบานระบาย +99.844 เมตร (ร.ท.ก.) อัตราการระบายนํา้สูงสุด 1,069.370 ลูกบาศก์เมตรต่อวนิาที- อาคารท่อส่งนํ้าและระบายนํ้าลงลํานํ้าเดมิ (Outlet) ตัง้อยู่บริเวณฝั่งขวาของเขื่อนหลัก ชนิด Concrete Steel Liner ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.00 เมตร อัตราการระบายสูงสุด 35.67 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

ลักษณะโครงการ (ต่อ) (4) ระบบชลประทาน

1) ระบบส่งนํา้ฝั่งซ้าย พืน้ที่ 20,000 ไร่

ส่งนํา้ผ่านอาคารควบคุมของอาคารท่อส่งนํา้และระบายนํา้ลงลาํนํา้เดมิ

ด้วยแรงโน้มถ่วง ส่งนํา้โดยระบบท่อ ความยาว 55.495 กโิลเมตร

ลักษณะโครงการ (ต่อ)2) ระบบส่งนํา้ฝั่งขวา พืน้ที่ 5,500 ไร่

เป็นสถานีสูบนํา้ติดตัง้เครื่องสูบนํา้แบบจุ่มแนวเอียงแบบมีรางเลื่อน

จาํนวน 4 เครื่อง (3 เครื่องสาํหรับการใช้งานปกต ิและ 1 เครื่องสาํรอง) อัตราการสูบ

ต่อเครื่อง 0.33 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อัตราการสูบนํา้รวม 1 ลูกบาศก์เมตรต่อ

วินาที จากอ่างเก็บนํา้ขึน้ไปเก็บที่บ่อพักนํา้ และปล่อยนํา้ผ่านท่อส่งนํา้ ความยาว

รวม 18.322 กโิลเมตร

ระยะเวลาดาํเนินงานโครงการ 8 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2560)

วงเงนิโครงการทัง้สิน้ 2,900.00 ล้านบาท

แผนการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละปี

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560

แล้วเสร็จ

จาํนวนเงนิ (ล้านบาท) งานเตรียมความพร้อม 281.53 473.54 439.29 683.67 496.58 525.39

วงเงนิค่าก่อสร้าง (ราคา ณ ปี 2553)

- เขื่อนหวังานและอาคารประกอบ 1,421.194 ล้านบาท

- ระบบชลประทาน

1) ระบบส่งนํา้ฝั่งซ้าย 749.840 ล้านบาท

2) ระบบส่งนํา้ฝั่งขวา 331.454 ล้านบาท

ประโยชน์ของโครงการ

1) เพิ่มพืน้ที่ชลประทานใหม่ จาํนวน 25,500 ไร่ ในเขตอาํเภอวังม่วง

2) ส่งนํา้เสริมพืน้ที่ชลประทานในเขตโครงการสูบนํา้แก่งคอย-บ้านหมอ

จาํนวน 14,000 ไร่ เฉพาะในช่วงฤดแูล้ง

3) ส่งนํา้ดบิเพื่อการผลิตนํา้ประปาในเขตเทศบาลตาํบลวังม่วง

4) เป็นแหล่งนํา้สาํหรับการเพาะขยายพนัธุ์สัตว์นํา้และแหล่งท่องเที่ยว

ในท้องถิ่น

สถานะภาพโครงการ (1) ด้านการสาํรวจ-ออกแบบ

- 29 ธันวาคม 2550 ออกแบบแล้วเสร็จ

(2) ด้านการศกึษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)

- พฤษภาคม 2543 จัดทาํรายงานวางโครงการ (Pre-Feasibility Report)

แล้วเสร็จ

- มถิุนายน 2545 รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) แล้วเสร็จ

- 17 มีนาคม 2551 เสนอรายงานฯ ให้ สผ. พจิารณาดาํเนินการ

- 10 กรกฎาคม 2551 คชก. มีมตยิังไม่เหน็ชอบกับรายงานฯ โดยให้นํา

ข้อคดิเหน็ของ คชก. และฝ่ายเลขานุการ (สผ.) ไปปรับปรุงและแก้ไขรายงานฯ ให้

ข้อมูลมีความถูกต้องและเป็นปัจจุบนั

สถานะภาพโครงการ (ต่อ)- 28 กันยายน 2552 กรมฯ แจ้ง สผ. และคชก. ว่าโครงการไม่มีพืน้ที่อยู่

ในเขตป่าอนุรักษ์เพิ่มเตมิแล้ว เนื่องจากมีการออกเอกสารการครอบครองเป็น

สปก.4-01 และ น..ส3ก

- 12 พฤศจกิายน 2552 คชก. มีมตใิห้ตรวจสอบข้อเทจ็จริงของพืน้ที่

โครงการ

- 16 กุมภาพันธ์ 2553 ส่งรายงานชีแ้จงเพิ่มเตมิ ให้ สผ. พจิารณา

- 8 เมษายน 2553 คชก. มีมตใิห้กรมชลประทานดาํเนินการปรับปรุง

รายงานการวเิคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมใหม่ ให้ข้อมูลครบถ้วนสมบรูณ์ก่อน

เสนอ คชก. ต่อไป

สถานะภาพโครงการ (ต่อ)

(3) การจัดหาที่ดนิ เนือ้ที่รวม 3,743 ไร่ ดาํเนินการปักหลักเขตแล้วเสร็จ

ประกอบด้วย

1) พืน้ที่หวังาน เนือ้ที่ 471 ไร่

2) พืน้ที่โรงสูบนํา้ของระบบส่งนํา้ฝั่งขวา เนือ้ที่ 64 ไร่

3) พืน้ที่อ่างเกบ็นํา้ เนือ้ที่ 3,208 ไร่

สถานะภาพโครงการ (ต่อ)

การจดัหาที่ดนิ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่

1) พืน้ที่ที่ขออนุญาตจากส่วนราชการ เนือ้ที่รวม 3,386 ไร่ ประกอบด้วย

- พืน้ที่ป่าสงวนแห่งชาต ิ เนือ้ที่ 1,787 ไร่ ได้แก่

พืน้ที่ป่าสงวนแห่งชาตปิ่าทบักวางและป่ามวกเหล็ก แปลงที่ 1 เนือ้ที่ 535 ไร่

พืน้ที่สวนป่าหลังเขา-ท่าระหดั เนือ้ที่ 242 ไร่

น.ส.3ก ที่อยู่ในเขตป่าอนุรักษ์เพิ่มเตมิ (โซน C) เนือ้ที่ 85 ไร่

พืน้ที่ ส.ป.ก.4-01 ที่อยู่ในเขตป่าอนุรักษ์เพิ่มเตมิ (โซน C) เนือ้ที่ 290 ไร่

พืน้ที่ ส.ป.ก.4-01 ที่อยู่ในเขตป่าเศรษฐกจิ (โซน E) เนือ้ที่ 635 ไร่

สถานะภาพโครงการ (ต่อ)2) พืน้ที่ที่ต้องจดัซือ้ จาํนวน 326 แปลง เนือ้ที่รวม 1,367 ไร่ ประกอบด้วย

- โฉนด จาํนวน 46 แปลง เนือ้ที่รวม 459 ไร่

ยื่นหนังสือขอรังวัดและยนิยอมให้ใช้พืน้ที่แล้ว จาํนวน 23 แปลง

(บริเวณพืน้ที่หวังาน) คงเหลืออีก จาํนวน 23 แปลง

- น.ส.3ก จาํนวน 260 แปลง เนือ้ที่รวม 595 ไร่

ยื่นหนังสือขอรังวัดและยนิยอมให้ใช้พืน้ที่แล้ว จาํนวน 236 แปลง

คงเหลืออีก จาํนวน 24 แปลง

- ที่ดนิไม่มีเอกสารสิทธิ์ จาํนวน 20 แปลง เนือ้ที่รวม 313 ไร่

ยื่นหนังสือขอรังวัดที่ดนิ จาํนวน 20 แปลง และเข้ารังวัดแล้ว

จาํนวน 2 แปลง เนือ้ที่รวม 60 ไร่

สถานะภาพโครงการ (ต่อ)3) การขอตราพระราชกฤษฎีกาเวนคืนที่ดนิ

คณะรัฐมนตรีอนุมัตกิารขอตราพระราชกฤษฎีกาเวนคืนที่ดนิ เมื่อวันที่ 15

ธันวาคม 2552 และได้ชีแ้จงรายละเอียดร่าง พรฎ. ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว

เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2553 โดยสาํนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จะเสนอร่าง พรฎ.

เมื่อได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้ ในชัน้ต้นจะได้ตรวจสอบร่างไว้ก่อน

สถานะภาพโครงการ (ต่อ) 4) ที่ดนิระบบส่งนํา้ เนือ้ที่ประมาณ 1,210 ไร่

- มีแผนเข้าปักหลักเขตและรังวัดที่ดนิในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดย

แบ่งเป็น ระบบส่งนํา้ฝั่งซ้าย เนือ้ที่ 937 ไร่ และระบบส่งนํา้ฝั่งขวา เนือ้ที่ 273 ไร่

งบประมาณการจดัหาที่ดนิ แบ่งเป็น

1. เขื่อนหวังานและอาคารประกอบพร้อมส่วนประกอบอื่น เนือ้ที่

2,900 ไร่ จาํนวนเงนิ 352,858,000 บาท

2. ระบบชลประทาน เนือ้ที่ 1,210 ไร่ จาํนวนเงนิ 132,308,800 บาท

สถานะภาพโครงการ (ต่อ) (4) การประชาสัมพนัธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน

ปี พ.ศ. 2549-2552 มีการประชุมสัมมนารับฟังความคดิเหน็ 2 ครัง้ และการ

ประชาสัมพนัธ์กลุ่มย่อย 4 ครัง้ ร่วมกับประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน

พืน้ที่

ผลการประชุม ราษฎรส่วนใหญ่มีความเข้าใจโครงการในระดบัดมีาก และ

เหน็ด้วยกับการดาํเนินโครงการ รวมทัง้พร้อมที่จะมีส่วนร่วมกับโครงการ