องค์ประกอบ Graphic

Preview:

DESCRIPTION

องค์ประกอบ Graphic. หัวข้อ. องค์ประกอบงานกราฟิก เส้น รูปร่าง, รูปทรง, น้ำหนัก พื้นผิว สีในการสื่อความหมาย ความหมายสี เทคนิคการนำสีไปใช้ ตัวอักษรในงานกราฟิก วิธีเลือกตัวอักษรและรูปแบบที่ใช้. องค์ประกอบงานกราฟิก. จุด เส้น รูปทรง, รูปร่าง, น้ำหนัก พื้นผิว. จุด ( DOT ). - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

องค์ประกอบGraphic

หัวขอ้• องค์ประกอบงานกราฟกิ

– เสน้– รูปรา่ง, รูปทรง, น้ำ�าหนัก– พื�นผิว

• สใีนการสื่อความหมาย– ความหมายสี– เทคนิคการน้ำาสไีปใช้

• ตัวอักษรในงานกราฟกิ– วธิเีลือกตัวอักษรและรูปแบบท่ีใช้

องค์ประกอบงานกราฟกิ• จุด• เสน้• รูปทรง, รูปรา่ง, น้ำ�าหนัก• พื�นผิว

จุด ( DOT )• เป็นองค์ประกอบที่มคีวามส้ำาคัญ เพราะ

เป็นต้นก้ำาเนิดของเสน้และน้ำ�าหนัก จะเหน็ได้ชดัในงานกราฟกิประเภท

Halftone

เสน้ ( LINE )• เสน้เป็นพื�นฐานท่ีส้ำาคัญของงานศิลปะทกุชนิด

เสน้สามารถใหค้วามหมาย แสดง ความรูส้กึ และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสรา้งเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ�น เสน้ม ี2 ลักษณะคือ เสน้ตรง (Straight Line) และ เสน้โค้ง (Curve Line) เสน้ทั�งสองชนิดนี� เมื่อน้ำามาจดัวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมชีื่อเรยีกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรูส้กึ ท่ีแตกต่างกันอีกด้วย

รูปรา่ง รูปทรง น้ำ�าหนัก• รูปรา่ง (Shape) – เป็นองค์ประกอบต่อ

เนื่องมาจากเสน้ แบง่รูปรา่งออกเป็น 2 ประเภทคือ– รูปรา่งแบบท่ีคุ้นตา คือ รูปรา่งท่ีเหน็แล้วรูทั้นที

วา่คืออะไร เชน่ ดอกไม ้– รูปรา่งแบบ freeform คือ รูปรา่งท่ีสื่อความ

หมายตามจนิตนาการ ไมม่รีูปทรงแน่นอน

รูปทรง ( Form )• รูปทรง เป็นรูปรา่งท่ีม ี– 3 มติิ คือมคีวาม

ลึก เพื่อสื่อความหมายและอารมณ์ใหกั้บงานกราฟกิได้มากขึ�น

น้ำ�าหนักกราฟกิ ( Value)• เป็นสว่นเสรมิที่ท้ำาใหง้านกราฟกิมคีวามเป็น

ธรรมชาติมากขึ�น และสง่ผลต่อการสื่อความหมายและอารมณ์ของการออกแบบกราฟกิได้มากขึ�น เชน่ ความหนัก ทึบของส ีหรอืความโปรง่ใส

พื�นผิว ( Texture)• พื�นผิวในงานกราฟกินั�นสามารถแบง่ออก

เป็น 2 รูปแบบคือ– พื�นผิวท่ีสามารถสมัผัสได้ด้วยมอื– พื�นผิวท่ีสามารถสมัผัสได้ด้วยตา

ส ี( Color )• สเีกิดจากอะไร

– สเีกิดจากแสง = RGB– สท่ีีเกิดจากหมกึพมิพ ์= CMYK– สท่ีีเกิดจากธรรมชาติ = แดง เหลือง น้ำ�าเงิน

สสีื่อความหมาย• สแีต่ละสจีะสื่อถึงความหมายที่แตกต่างกัน

ออกไป โดยผู้ออกแบบงานด้านกราฟกิจ้ำาเป็นต้องเลือกใชใ้หม้คีวามเหมาะสมกับงานแต่ละประเภท และตรงกับความหมายท่ีกราฟกิต้องการสื่อออกไป

สสีื่อความหมาย

สสีื่อความหมาย

เทคนิคการน้ำาสไีปใชง้าน• Mono• Complement• Triadic • Analogous• Split Complementary• Tetradic (Double

Complementary)

Mono• การใชส้ไีปในโทนเดียวกันทั�งหมด เชน่ โทน

สเีหลือง จุดเด่นของภาพก็จะเป็นสเีหลือง สว่นอ่ืนๆ ก็จะใชส้ทีี่ใกล้เคียงกับสเีหลือง โดยใชว้ธิลีดและเพิม่น้ำ�าหนักความเขม้ของสี

Complement• การใชส้ทีี่ตัดกันหรอืสตีรงขา้ม เวลาเลือกใช้

เทคนิคสนีี�ต้องค้ำานึงถึงความสวยงามเป็นหลักและการใหน้้ำ�าหนักของส ีถ้าสามารถควบคมุสไีด้ จะชว่ยใหง้านมคีวามเด่นและดึงดดูมากกวา่แบบ Mono

Triadic• การเลือกส ี3 ส ีที่มรีะยะหา่งเท่ากันเป็น

สามสหีลักในการออกแบบงานกราฟกิ นิยมใชม้ากในปัจจุบนั โดยเฉพาะในสื่อสิง่พมิพ์

Analogous• สขีา้งเคียงกัน คือ การเลือกสใีดสหีนึ่งขึ�น

มาใชง้านพรอ้มกับสท่ีีอยูติ่ดกันอีกขา้งละส ีหรอื สทีี่อยูติ่ดกัน 3 สใีนวงจรสี

Split Complementary

Double Complementary ( Tetrad )

Color Scheme Designer• http://

www.colorschemedesigner.com

Typography• Body & Proportion• Format• Font Style

Body & Proportion• Body หมายถึง ตัวอักษรแต่ละตัว • Proportion หมายถึง คณุสมบติัหลัก

ของตัวอักษรแต่ละตัว ม ี3 รูปแบบคือ ตัวอักษรปกติ ตัวหนา ตัวเอียง

ProportionAa Aa Aa

Regular Bold Italic

Aa Aa AaRegular Bold Italic

รูปแบบของตัวอักษร• Serif

– ดเูป็นระเบยีบ ทางการ เหมาะใชใ้นงานท่ีเป็นทางการ

• San Serif– อ่านง่าย ทันสมยั ไมเ่ป็นทางการมากนัก

• Antique– เหมาะกับงานท่ีต้องการเน้นความยอ้นยุค

แสดงความชดัเจนในยุคสมยั• Script

– รูปแบบของตัวอักษรท่ีไมเ่ป็นทางการ มคีวามเป็นกันเอง ดสูนุกสนาน และมคีวามคล้ายคลึงกับลายมอืเขยีน

วธิเีลือกใชง้าน FONT• ความหมายต้องเขา้กัน

• อารมณ์ของฟอนต์

LOVE LOVE

PROFESSIONAL

SALE

การวางต้ำาแหน่งตัวอักษร• ธรรมชาติการอ่านของคนไทยจะอ่านจาก

ซา้ยไปขวา และบนลงล่าง

1

2

3

การวางต้ำาแหน่งตัวอักษร• จุดเด่นควรจะมเีพยีงจุดเดียว คือ มตัีว

อักษรที่เป็นจุดน้ำาสายตาเพยีงจุดเดียว เพื่อใหช้ิ�นงานกราฟกิมคีวามเด่นชดั และดึงดดูความสนใจได้

การวางต้ำาแหน่งตัวอักษร• ไมค่วรใชฟ้อนต์หลากหลายรูปแบบจนเกิน

ไป เพราะจะท้ำาใหง้านดไูมเ่ป็นมอือาชพี อีกทั�งยงัเกิดความแตกต่างของตัวอักษรท่ีสง่ผลต่อการอ่านและขาดความเด่นชดัและดึงดดู