70
is graphic /

graphic is

Embed Size (px)

DESCRIPTION

graphic is final project

Citation preview

Page 1: graphic is

is

grap

hic

/

Page 2: graphic is

who

do

this /1

2

34

56

Page 3: graphic is

1

2

3

4

5

6

ธนภรณ์ จ�ำปำเอฟ 1530800422

ศุภภรณ์ เลิศล�้ำยิ่ง

ผึ้ง 1530803806

มิ่งขวัญ ศรีบุญเอกหนูดี 1530800356

ปฤณ สุวรรณวรำกุล ปืน 1530804408

เจษนี ตรีไพศำลภักดี อีฟ 1530804390

ปทิตตำ ภูมิพัฒน์สกุล เบลล์ 1530800208graphic design คือ กำรออกแบบสื่อสำร ในรูปแบบที่น่ำสนใจ ไม่น่ำเบื่อ เป็นกำรยกระดับกำร

สื่อสำร และสร้ำงมูลค่ำให้งำนออกแบบ คือ กระบวนกำรสร้ำงสรรค์อันเกิดจำกกำรผสมผสำนศิลปะ

และเทคโนโลยี เพื่อใช้ในกำรสื่อสำรควำมคิดออกไป อย่ำงมีระบบ

graphic design คือ กำรออกแบบสื่อสำร หรือกำรสื่อสำรควำมหมำยให้ ทุกคนเข้ำใจและเห็นภำพ

ไปในทิศทำงเดียวกัน ไม่ซับซ้อน ท�ำให้จดจ�ำง่ำย โดยผ่ำนกระบวนกำรทำงควำมคิดสร้ำงสรรค์ และ

สร้ำงผลงำนออกมำในรูปแบบของ สื่อต่ำงๆ เพื่อประโยชน์ทำงกำรสื่อสำร

graphic design คือ องค์ประกอบที่เกิดขึ้นจำกลักษณะพื้นฐำนของขององค์ประกอบศิลป์ เช่น เส้น

จุด รูปทรง ฯลฯ น�ำมำประยุกต์ให้เกิดควำมแปลกใหม่โดยอำศัยควำมเป็นรูปธรรมและนำมธรรม เกิด

เป็นภำพที่แปลกตำ สวยงำม เป็นภำพที่เกิดจำกกำรคิด ท�ำให้งำนที่ออกมำดูแปลกใหม่และท�ำให้ของ

ที่ดูธรรมดำกลำยเป็นของที่มีมูลค่ำเพิ่มขึ้นมำได้ อำจใช้คอมพิวเตอร์หรือกำรท�ำด้วยมือก้อได้ ในนั้นๆ ออกมำได้อย่ำงชัดเจน

graphic design คือ กำรออกแบบกำรสื่อสำรช้อควำมบำงอย่ำงกับผู้ใช้ ทั้งตัวอักษร รูปภำพ เส้น

รวมถึงจุด เพื่อให้สื่อสำรตรงกันในแง่ของควำมหมำย

graphic design คือ กำรออกแบบกำรสื่อสำรให้มีกำรเข้ำใจตรงกันระหว่ำงผู้สื่อสำรและผู้รับสำรโดย

ไม่ต้องใช้กำรพูด ให้มีประสิทธิภำพมำกที่สุด โดยมีควำมสวยงำมเป็นอันดับสอง รองจำกควำมเข้ำใจ

graphic design คือ สิ่งที่อยู่รอบตัวแล้วสำมำรถสื่อสำรกับเรำได้ ตั้งแต่ตื่นนอนยันเรำนอน เป็นองค์

ประกอบในชีวิต ไม่ต้องอ่ำนแต่ก็เข้ำใจ บ่งบอกสิ่งที่อยู่ในชีวิต สื่อสำร อยู่ในทุกเรื่อง และอยู่กับมำ

ตั้งแต่ยุคก่อนๆ แซรกซึมอยู่โดยที่เรำไม่รู้ตัว

graphic is

Page 4: graphic is

now

and

life

styl

eปทิตตำ ภูมิพัฒน์สกุล เบลล์ 1530800208

ในประเทศไทยตอนนี้ graphic design เป็นอย่ำงไร

: คิดว่ำกรำฟิกดีไซน์ ในประเทศไทย ยังไปไม่ไกลเท่ำ

งำนของกรำฟิกดีไซน์ของต่ำงประเทศ แต่ก็คิดว่ำ ใน

ประเทศไทยยังมีงำนกรำฟิกอยู่บ้ำง แต่เป็นส่วนน้อย

เมื่อมองมุมของ กรำฟิกดีไซน์ของไทยแล้ว ฉันมีควำม

เห็นว่ำ ทุกชำติต่ำงก็มีเอกลักษณ์ในแบบของตนเอง ซึ่ง

จะสะท้อนวิถีชีวิตของชำตินั้นๆ ออกมำได้อย่ำงชัดเจน

\\

ฉันเกิดและโตมำในครอบครัว ที่ล้วนแต่มีผู้หญิง มีพ่อ

แม่ และมีน้องสำวอีก สองคน ฉันจบมัธยมปลำยจำก

โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ซึ่งเป็นโรงเรียนหญิงล้วน

ส่วนใหญ่ฉันจึงมีเพื่อนๆ เป็นผู้หญิง ฉันจึงมีสังคมแบบ

ผู้หญิงๆ ฉันชอบที่จะพบปะเพื่อนๆ เพื่อพูดคุย และ

แลกเปลี่ยนควำมคิดกัน เพื่อจะได้ควำมคิดที่แปลกใหม่

อยู่เสมอ

ฉันเป็นคนที่ชอบเที่ยว ฉันเชื่อว่ำกำรเที่ยว คือกำรหำ

Inspiration ได้ดีกว่ำกำรอยู่แค่หน้ำจอคอมพิวเตอร์

ก่อนที่ฉันจะได้เข้ำมำเรียนออกแบบนิเทศศิลป์ ฉันมัก

จะชอบขลุกตัวอยู่ในร้ำนหนังสือ ฉันชอบที่จะไปร้ำน

หนังสือ ชอบสะสมหนังสือ และ Magazine ต่ำงๆ เมื่อ

ฉันอยู่ในร้ำนหนังสือ ฉันมักจะตรงไปที่หนังสือที่มีควำม

โดดเด่น และน่ำสนใจ เพียงเพรำะแค่หน้ำปก ที่ดึงดูด

ฉัน และท�ำให้ฉันเข้ำไปหยิบมำดู และสะกดให้ฉ�ันต้อง

ซื้อมำเก็บสะสม จนในบำงครั้ง เล่มที่ฉันซื้อมำเพียง

เพรำะรูปแบบหนังสือ และหน้ำปกที่น่ำสนใจ และฉันก็

ชอบที่จะเป็นนักอ่ำน ฉันชอบอ่ำนหนังสือที่มีแนวคิดดีๆ

แม้จะเป็นเพียงประโยคสั้นๆ

และฉันมักจะเลือกซื้อของโดยค�ำนึงถึงดีไซน์เป็นหลัก

และประโยชน์ใช้สอยตำมมำ

เมื่อฉันได้มำเรียน และศึกษำคณะศิลปกรรมศำสตร์

สำขำนิเทศศิลป์ มันท�ำให้ฉันได้ค้นหำตัวเอง ได้พบเจอ

เพื่อนๆที่สนใจในด้ำนเดียวกัน และท�ำให้ฉันได้ลองผิด

ลองถูก

ได้รู้ว่ำงำนศิลปะไม่มีผิดไม่มีถูก มีแต่ว่ำมันจะสื่อสำร

และตอบโจทย์หรือไม่ ฉันชอบและสนใจในงำน

Typography เพรำะฉันคิดว่ำตัวอักษรคือพื้นฐำนส�ำคัญ

ในกำรออกแบบ และรู้สึกว่ำมันเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในกำร

ออกแบบ แนวงำนที่ฉันสนใจ คืองำน

Editorial Design เพรำะเป็นงำนที่ต้องมีกำรวำงแผน มี

วิธีกำรเล่ำเรื่องในรูปแบบต่ำงๆ มีระบบ และมีอะไรที่

หลำกหลำย ซึ่งฉันคิดว่ำฉันเหมำะกับ Practical Design

Studio เพรำะเป็นกำรท�ำงำนแบบฉันพี่น้อง มีกำรพูดคุย

และแลกเปลี่ยนควำมคิดกัน และมีงำนที่หลำกหลำยให้

ได้เลือกท�ำ และเชื่อว่ำกำรท่องเที่ยวไปในที่ต่ำงๆ และ

กำรหำพื้นที่ใหม่ๆ ไม่จ�ำเจ คือกำรสร้ำงแรงบันดำลใจ

ที่ดีให้เกิดขึ้น

Page 5: graphic is

ในประเทศไทยตอนนี้ graphic design เป็นอย่ำงไร

: คิดว่ำประเทศไทย ยังให้ควำมส�ำคัญกับงำนกรำฟิก

ดีไซน์น้อยเกินไป แต่ในช่วงนี้ งำนกรำฟิกดีไซน์ในบ้ำน

เรำ เริ่มมีกำรพัฒนำขึ้นเพรำะมีคนรุ่นใหม่ๆ ให้ควำม

ส�ำคัญกับงำนกรำฟิกมำกขึ้น แต่เมื่อเทียบกับเมืองนอก

แล้ว เขำใส่ใจแม้กระทั่งป้ำยข้ำงถนน คือเค้ำให้ควำม

สนใจแม้กระทั่งสิ่งเล็กๆน้อยๆที่อยู่รอบตัวเขำ

\\

ครอบครัวของฉันมีทั้งหมด 5 คน มีพ่อ แม่ พี่สำวอีก

สองคน และฉันที่เป็นน้องคนเล็ก บ้ำนฉันอยู่ทำงใต้ของ

ประเทศไทยและติดกับประเทศมำเลเซีย ฉันเกิดและโต

มำกับสภำพแวดล้อมที่ไม่เป็นพิษ ผู้คนไม่คับคั่งวุ่นวำย

กำรใช้ชีวิตของคนที่นี่เป็นไปแบบเรื่อยๆไม่เร่งรีบ เมืองที่

ฉันอยู่เป็นเมืองที่สงบ ฉันจึงไม่ชอบควำมวุ่นวำย ไม่ชอบ

กำรอะไรที่เร่งรีบ และฉันชอบอยู่อย่ำงสงบ

ฉันเป็นคนที่มีโลกส่วนตัวสูง ไม่ค่อยคุยหรือปรึกษำ

ปัญหำกับคนในครอบครัว ชอบคิดและท�ำอะไรเงียบๆ

คนเดียว ซึ่งคนอื่นอำจจะไม่รับรู้ หรืออำจจะมองในมุม

ที่ฉันเป็นเด็กช่ำงฝันหรือเพ้อเจ้อซึ่งมันใกล้เคียงกันมำก

เลยทีเดียว ฉันชอบอยู่เฉยๆ แต่พออยู่เฉยๆมำกไปก็จะ

คิดว่ำชีวิตไร้ค่ำ ไม่มีประโยชน์

และจะหำอะไรซักอย่ำงที่ท�ำให้ตัวเองมีประโยชน์ ฉัน

เป็นคนที่ตรงไปตรงมำ ผิดคือผิด ถูกคือถูก ฉันไม่ชอบ

อะไรที่เครียดและซีเรียส แต่ถ้ำท�ำงำนจะตั้งใจและใส่ใจ

กับมัน เพื่อให้งำนออกมำดี เป็นระเบียบเรียบร้อย งำนที่

ท�ำต้องมีที่มำที่ไปเป็นระบบ ชัดเจน

เมื่อตอนเป็นเด็ก ทุกวันหยุดของฉันจะตื่นเช้ำเพื่อมำนั่งดู

กำร์ตูนเสมอ และฉันชอบวำดรูปตัวกำร์ตูนที่ตัวเองชอบ

ละฝันว่ำอยำกจะให้กำร์ตูนมันมีอยู่บนโลกนี้จริงๆ มัน

จึงเป็นจุดเริ่มต้นท�ำให้ฉันคิดจะท�ำให้ฝันของฉันเป็นจริง

นั่นเป็นเพียงมุมเล็กๆของฉันในวัยเด็ก

ฉันได้เลือกเรียนคณะศิลปกรรมศำสตร์ สำขำออกแบบ

นิเทศศิลป์ ฉันได้รู้ว่ำมันไม่ง่ำย และมันก็ไม่ยำก ที่จะ

ใช้เวลำค้นหำตัวเอง เมื่อฉันเข้ำมำศึกษำที่นี่ี่ มันท�ำให้

ฉันเจอผู้คนมำกมำย ที่ต่ำงก็สนใจในวิชำชีพเดียวกัน

และมันก็ท�ำให้ฉันรู้ว่ำชีวิตของฉันนั้นมีอะไรอีกมำกมำย

ที่ฉันยังไม่รู้ ฉันจึงต้องศึกษำค้นหำข้อมูล ค่อยสนใจ

ข่ำวสำรรอบตัวอยู่เสมอ สิ่งที่ฉันสนใจเป็นพิเศษคือ งำน

Corporate Identity เพรำะฉันคิดว่ำ งำน Ci เป็นงำน

ที่มีที่มำที่ไปมีเหตุผลสนับสนุน มีระบบกระบวนกำรคิด

อย่ำงชัดเจน

ไลฟ์สไตล์ของฉันน่ำจะตรงกับบริษัท Conscious ซึ่ง

บริษัทนี้เป็นบริษัทที่ซีเรียสและใส่ใจกับงำนที่ได้รับมอม

หมำย งำนที่ท�ำออกมำต้องมีระบบทำงควำมคิดที่ชัดเจน

เป็นระเบียบเรียบร้อย มีรำยละเอียดไม่เยอะเเต่ว่ำมัน

ลงตัว งำนที่ออกมำต้องมีประโยชน์และใช้ได้จริง แต่ถ้ำ

มีงำนที่เข้ำมำที่ไม่ใช่สิ่งที่ถนัดก็จะไม่รับงำนนั้น เพรำะ

ถ้ำท�ำงำนที่ไม่ถนัด งำนที่ออกมำก็จะไม่ดี และไม่มี

ประโยชน์

ธนภรณ์ จ�ำปำเอฟ 1530800422

Page 6: graphic is

now

and

life

styl

e

graphic design ในประเทศไทยตอนนี้ เหมือนเพิ่งมี

กำรสนใจมำกขึ้น แต่กำรออกแบบมักจะถูกละเลยถ้ำ

ต้องใช้เงินจ�ำนวนมำก designer ต้องท�ำงำนตำมใจ

ลูกค้ำ จึงไม่ได้แสดงฝีมือทำงด้ำนกำรออกแบบมำกนัก

ควำมเหนื่อยในกำรท�ำงำนแปรผกผันกับค่ำจ้ำง กำร

ออกแบบกรำฟฟิกจึงไม่ได้รับควำมสนใจเท่ำที่ควรใน

ประเทศไทย ซึ่งตรงกันข้ำมกับต่ำงประเทศ

\\

ผมจบจำกโรงเรียนสวนกุหลำบ เป็นคนที่รู้จักคนเยอะ

ผมจบจำกโรงเรียนสวนกุหลำบ เป็นคนที่รู้จักคนเยอะ

แต่ไม่ชอบอยู่ในกลุ่มคนเยอะๆ บ้ำนของผมอยู่หลัง

โรงเรียน แต่เวลำไปกลับโรงเรียนมักเดินอ้อมปำกคลอง

ตลำดเพรำะร�ำคำญคนเยอะๆ แม้ว่ำเดินผ่ำนปำกคลอง

จะใช้เวลำน้อยกว่ำ 5นำที เป็นคนชอบเล่นกีฬำ และ

เลี้ยงสัตว์ วันศุกร์ก็จะออกไปดื่มกับเพื่อนๆที่รู้ใจ เก็บ

ควำมลับกันได้ และตอบพ่อแม่เพื่อนได้ตรงกันแบบไม่

ต้องเตี๊ยม ผมชอบร้ำนแบบนั่งชิลคนไม่เยอะ ไม่ชอบ

เที่ยวผับ เป็นคนนอนตื่นสำย มีโลกส่วนตัวคนข้ำงสูง

ควำมชอบด้ำนกำรออกแบบ ชอบสนุกกับกำรสเก็ต

ออกควำมคิดมำกกว่ำลงมือท�ำเอง เกลียดกำรท�ำงำน

โดยใช้เวลำนำนๆ ไม่ถนัดภำพประกอบเลย ชอบ

Typography Package งำนประเภทที่มันมีแบบแผน

อยู่แล้ว

บุคลิกผมน่ำจะเข้ำกับบริษัท conscious ที่ซึ่งเป็นบริษัท

เล็กๆมีคน4-5คน เลิกงำนไม่ดึกมำก เข้ำงำนสำย ซึ่งถ้ำ

ตอนกลำงคืนออกไปดื่ม ก็น่ำจะเข้ำงำนทัน บรรยำกำศ

ควำมสัมพันธ์ในออฟฟิสอยู่กันแบบพี่น้อง ให้โอกำสใน

กำรแสดงควำมคิด

Page 7: graphic is

graphic design ในประเทศไทยตอนนี้ มีกำรพัฒนำ

อยู่เรื่อยๆ มีนักออกแบบที่เก่งๆเกิดขึ้นมำมำกมำย มี

ผลงำนที่ดีออกมำให้เห็นอยู่บ่อยๆ แต่งำนออกแบบ

ส่วนมำกจะเห็นได้ในกรุงเทพฯ ซึ่งส่วนมำกไม่ค่อย

พบงำนออกแบบตำมต่ำงจังหวัด ถึงมีก็เป็นส่วนน้อย

เนื่องจำกส่วนมำกในกรุงเทพฯ จะมีกำรน�ำเสนอผลงำน

ออกแบบออกมำให้ได้เห็นอยู่บ่อยๆ มีสถำบันที่สอนด้ำน

graphic design ที่หลำกหลำยและน่ำสนใจอยู่มำก

และอุปกรณ์ในกำรเรียนมีเยอะกว่ำต่ำงจังหวัด มีหอศิลป์

ที่ดีที่รวมงำนผลงำนตำมอยู่หลำยที่ ซึ่งต่ำงจังหวัดส่วน

มำกไม่ค่อยมี

\\

เรำเป็นเด็กต่ำงจังหวัดที่อยู่ท่ำมกลำงธรรมชำติ ต้นไม้

อยู่กับธรรมชำติ มีชีวิตที่เรียบง่ำย เวลำว่ำงของเรำคือ

กำรเลี้ยงสัตว์ เป็นคนที่ชอบสัตว์มำก เคยเลี้ยงมำหลำย

อย่ำงเช่น กระต่ำย ปลำ เต่ำ หมำ หนูแฮมเตอร์ ปู

และก็ได้มำเรียนที่กรุงเทพฯ ซึ่งในกรุงเทพฯหำอะไรที่

เป็นธรรมำชำติได้ยำกมำก เจอแต่อำกำศที่มีแต่มลพิษ

และเรำก็ชอบท�ำให้ห้องที่เรำอยู่มีบรรยำกำศที่เป็น

ธรรมชำติโดยกำร เอำต้นไม้เล็กมำไว้ในห้อง ท�ำห้องให้

ดูเป็นธรรมชำติ ดูสบำยๆเหมือนว่ำเรำอยู่ที่บ้ำน เรำเป็น

คนที่ชอบควำมอิสระ เป็นคนที่ถ้ำชอบอะไรก็จะท�ำในสิ่ง

ที่ชอบ แต่ถ้ำไม่ชอบอะไรแล้วก็จะไม่เอำสิ่งนั้นเลย เรำ

เป็นคนที่สนุกสนำนกับงำน ไม่ชอบอะไรที่ซีเรียส แต่ถ้ำ

ต้องท�ำงำนที่จริงจังก็จะท�ำอย่ำงตั้งใจ เรำชอบงำนด้ำน

โฟโต้ รีทัช packaging และชอบงำนillus ชอบสะสม

ของที่มีกำรดีไซน์ ซึ่งน่ำจะตรงกับ Farmgroup ที่เน้น

ควำมเป็นธรรมชำติ ควำมเป็นกันเอง สนุกสนำม และ

คนในทีมดีไซน์ดูเป็นคนที่มีควำมสนุกสนำม มีควำมสุข

กับงำนที่ท�ำ และจริงจังงำนที่ได้รับมอบหมำย ถ้ำงำน

ไหนที่บริษัทนี้ไม่ถนัด เค้ำก็จะปฏิเสธไม่รับงำน เพรำะ

ถ้ำท�ำงำนที่ไม่ถนัด งำนที่ออกก็จะไม่ดีอย่ำงที่ต้องกำร

Page 8: graphic is

now

and

life

styl

e

graphic design ในประเทศไทยตอนนี้ เริ่มมีกำรตื่น

ตัวมำกขึ้น เพรำะมีกำรแข่งขันกันทำงกำรตลำด และ

อีกส่วนนึงคิดว่ำมำจำกกำรได้รับรู้ ได้เห็นของประเทศ

ต่ำงๆมำกขึ้น เนื่องจำกมีอินเตอร์เนต เมื่อมีใครสักคนที่

โดดเด่นขึ้นมำด้วยกำรออกแบบ คนอื่นๆก็ต้องพยำยำม

ที่จะท�ำให้ตัวเองดูดีขึ้น กำรแข่งขันจึงสูงขึ้น ควำมตื่น

ตัวทำงด้ำนนี้จึงมีมำกขึ้น สังเกตได้จำกป้ำยหำเสียง ที่

สุหฤท มีควำมแตกต่ำง โดดเด่นออกมำจำกคนอื่นโดย

สิ้นเชิง เป็นสัญญำณที่ดีว่ำ กำรออกแบบกรำฟฟิกนั้น

ก�ำลังจะได้รับควำมสนใจมำกขึ้น

\\

เรำเป็นคนกรุงเทพฯ โตมำในเมืองที่ค่อยข้ำงวุ่นวำย

เรียนที่โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ซึ่งรู้สึกผูกพัน

กับที่นี่มำกเพรำะว่ำชีวิตส่วนใหญ่ หรือสังคมเพื่อนส่วน

ใหญ่ก็เริ่มมำจำกที่นี่ แล้วพอขึ้นมอสี่ก็มีจุดเปลี่ยนต้อง

ย้ำยโรงเรียนมำที่ใหม่ ต้องเจอสังคมใหม่ๆที่แตกต่ำง

จำกเดิม ท�ำให้ช่วงนั้นเป็นช่วงที่รู้สึกท้อแท้ เพรำะว่ำ

เรำไม่เคยเจอกำรเปลี่ยนแปลง แต่พอผ่ำนมำได้ มันก็

ท�ำให้เรำรู้จักกำรปรับตัว เพรำะในชีวิตจริงมันไม่ได้หยุด

อยู่กับที่ เรำก็ต้องเจอสังคมที่แตกต่ำงออกไป เจอคน

มำกมำยหลำกหลำย เรำเป็นคนชอบฟังเพลงมำตั้งแต่

เด็ก แล้วก็ชอบสะสมซีดีเพลงของศิลปินที่ชื่นชอบ ส่วน

ตัวคิดว่ำ ถ้ำอีกหน่อยมันก็จะหำซื้อไม่ได้แล้ว บำงชิ้น

มันก็ผ่ำนกำรดีไซน์ออกมำเป็นพิเศษ เรำเป็นคนชอบ

ท่องเที่ยว ถ้ำมีเวลำว่ำงก็จะชอบออกไปเที่ยวสถำนที่

ต่ำงๆไม่ว่ำจะเป็นทะเล ภูเขำ ถ้ำเป็นประเทศที่ชื่นชอบ

ก็คือ ประเทศญี่ปุ่น ที่ชอบท่องเที่ยวเพรำะคิดว่ำตัวเอง

ใช้ชีวิตในเมืองที่วุ่นวำย รถติด ก็เลยหำโอกำศไปพัก

ผ่อนให้ตัวเองสบำยใจ มันก็เป็นควำมสุขอย่ำงหนึ่ง และ

ก็ชอบหำร้ำนใหม่ๆไปกินข้ำว ไปเฮฮำกับเพื่อน แต่วัน

อำทิตย์ก็จะเป็นวันครอบครัว เป็นคนสนุกสนำน ไม่ชอบ

อะไรที่จุกจิก และไม่ชอบคนที่เอำเปรียบ ส่วนตัวเป็น

คนชอบงำน packaging เพรำะอันไหนที่น่ำสนใจมันจะ

ดึงดูดให้เรำเข้ำไปดู แล้วมันก็สำมำรถเล่นได้เยอะ ใส่

ไอเดียหรือกำรดีไซน์เข้ำไปในแพ็คเกจได้ ซึ่งน่ำจะตรง

กับ Farmgroup ซึ่งบริษัทนี้เป็นบริษัทที่เฮฮำ สนุกสนำน

แต่พอถึงเวลำงำนก็จะจริงจัง คนในบริษัทไม่ได้อยู่

แบบลูกจ้ำงนำยจ้ำง แต่อยู่แบบเพื่อนพี่น้อง ซึ่งท�ำให้

บรรยำกำศดูเป็นกันเอง และดูเป็นธรรมชำติ บรรยำกำศ

ในที่ท�ำงำนดูสบำยๆไม่เคร่งเครียด มันท�ำให้เรำได้เป็น

ตัวของตัวเอง ท�ำให้เรำมีควำมสุขในกำรท�ำงำน

Page 9: graphic is

graphic design ในประเทศไทยตอนนี้ มันก�ำลังก้ำวนะ

ตำมควำมคิดของฉัน ผู้คนเริ่มหันมำสนใจกรำฟฟิคมำก

ขึ้น ให้ควำมส�ำคัญกับดีซำยมำกขึ้น อำจเป็นเพรำะว่ำใน

ปัจจุบันมีกำรแข่งขันที่สูงขึ้น ควำมรู้เข้ำถึงได้มำกขี้นอ

ยำกดูอะไรก็เปิดในอินเตอรเน็ตง่ำยๆดังนั้น เรำรู้เรำเห็น

มำกขึ้น แม้บำงครั้งเรำไม่ได้ตั้งใจที่จะเสพ แต่มันก็แฝง

ตัวมำอย่ำงที่เรำไม่รู้ตัว แต่ถ้ำจะเปรียบกับต่ำงประเทศ

ที่เขำปลูกฝังมำตั้งแต่เด็กๆ เรำยังห่ำงไกลเขำมำก แต่ก็

ไม่แน้ในอนำคตถ้ำกำรศึกษำเรำพร้อมกว่ำนี้ดีกว่ำนี้ เรำ

ก็คงจะเห็นกรำฟฟิคไทยก้ำวกระโดดอย่ำงแน่นอน

\\

ตั้งแต่เด็กฉันอยู่หญิงล้วนมำตลอดฉันเป็นลูกคนแรกของ

พี่น้องสองคน ฉันเป็นคนที่หน้ำตำเด็กเรียนเป็นขวัญใจ

ผู้ปกครองมำก แต่จริงๆแล้วฉันไม่ใช่นะ ฉันเป็นฮ้ำ

วๆด้วยซ�ำ้ ท�ำอะไรหวำนๆไม่เป็น (นิสัยนะ) ชีวิตส่วน

ใหญ่ของฉันอยู่ในกรุงเทพ และอัมพวำ เพรำะฉันมีบ้ำน

สวนอยู่ที่นั้น ฉันชอบธรรมชำติ แต่ไม่มำนัก ฉันชอบ

เทคโนโลยี ชอบชีวิตที่มีสีสันมำกกว่ำ ใช้ชีวิตเงียบสงบ

ฉันชอบดูหนัง ชอบดูซีรี่ย์ถำมอะไรตอบได้หมดทุกเรื่อง

เมื่อตอน ปี1 ฉันคิดว่ำ ฉันอยำกจะเป็นนักอิลำสเตรด

ต่อจำกนั้น ปี2 ฉันอยำกจะเป็น อำต์ไดเรคเตอร์ สำย

โฆษณำ จำกนั้น ปี3 ฉันอยำกท�ำหนังสือ ฉันชอบจัด

เลย์เอ้ำ แต่ตอนนี้ฉันอยำกเป็น อำต์ไดเรคเตอร์ สำยก

รำฟฟิค ฉันเป็นคนขี้เบื่อ ดูจำกงำนที่ชอบและเปลี่ยน

บ่่อยๆ

ถ้ำฉันอยำกจะเข้ำบริษัทไหนในเล่มนี้ ฉันปลื้มใจที่

ฟำมร์กรุปมำกที่สุดเพรำะฉันเป็นคนขี้เบื่อ งำนของเขำ

มีควำมหลำกหลำย มีหลำยประเภท มีหลำยสไตล์ ดู

อบอุ่น

Page 10: graphic is

5 graphic house

thailandin /

Page 11: graphic is

graphic house

thailandin /

Page 12: graphic is

farmgroup

Page 13: graphic is

ฟาร์มกรุ๊ปก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2549 โดยมีวรทิตย์ เครือ

วาณิชกิจ หรือพี่แต็บและกาวิล ทวีคูณ สองกราฟิกดีไซเนอร์เป็นผู้ก่อ

ตั้ง ต่อมาพี่สาวของวรทิตย์ วรินดา เธียรอัจฉริยะ (ภรรยาคุณธนา

เธียรอัจฉริยะ) และพีระพล ทองศรี ได้เข้ามาเป็นหุ้นส่วน ชื่อบริษัท

ในตอนแรกคือกราฟิกฟาร์ม เพราะอยากท�างานดีไซน์เป็นหลัก จึงใช้

ชื่อฟาร์มเพื่อให้คนไทยเข้าถึงได้ง่าย ส่วนค�าว่า 'ฟาร์ม' นั้นเป็นค�าที่

ใช้เชื่อมธุรกิจให้เข้าถึงได้ง่าย แต่ในการท�างานจริง กราฟิกฟาร์มไม่

ได้เน้นแค่ความคิดหรือความสวยงาม แต่ยังท�าวิจัยเพื่อตอบโจทย์ด้าน

ธุรกิจและความต้องการของลูกค้าด้วย ต่อมาเปลี่ยนเป็น ฟาร์มกรุ๊ป

เพราะต้องการรับงานให้หลากหลายมากขึ้น ซึ่งนอกจากงานกราฟิก

ดีไซน์แล้ว ทางฟาร์มกรุ๊ปก็ยังรับงานประเภทโมชั่นกราฟิก รวมทั้งงาน

อีเวนต์ ซึ่งท�าให้บริษัทสามารถเปิดให้บริการด้านดีไซน์แบบครบวงจร

Page 14: graphic is

ดีไซน์สวยๆ ส่งผลให้ภาพลักษณ์ขององค์กร แบรนด์ หรือ

สินค้าต่างๆ ดูดีขึ้นได้ บริษัทกราฟิกดีไซน์จึงเข้ามามี

บทบาทในการท�าตลาดยุคดิจิตอลมากขึ้น ฟาร์มกรุ๊ป เป็น

ดีไซน์สตูดิโอที่รับงานหลากหลาย ท�าให้หัวเรือใหญ่ทั้งสี่ ว

รินดา เธียรอัจฉริยะ, วรทิตย์ เครือวาณิชกิจ, กาวิล ทวีคูณ

และพีระพล ทองศรี แห่งฟาร์มกรุ๊ป ต้องระดมสมองร่วมกัน

เพื่อสร้างสรรค์งานที่โดนใจ และตอบสนองความต้องการ

ของลูกค้าได้

ฟาร์มกรุ๊ปจะเน้นการคิดที่มีตรรกะในการตีโจทย์ ไม่เน้น

แค่ไอเดียทางด้านศิลปะ แต่จะค�านึงถึง เหตุผลทางธุรกิจ

ประกอบ ทุกครั้งที่รับงานจากแบรนด์ใหญ่ๆ จะต้องท�าวิจัย

เพื่อ ดูว่าลูกค้าต้องการอะไร กลุ่มเป้าหมายของลูกค้าคือ

ใคร งานไหนน่าเบื่อก็ต้องสร้างคอนเซ็ปต์ให้มันสนุก

Page 15: graphic is

ผลงานกับแบรนด์ที่ผ่านมา ได้แก่ การออกแบบ

สินค้าพรีเมียมช่วงปีใหม่ครบเซต ทั้ง Printing Set,

Traveling Set โบร์ชัวร์ดีไซน์ ของทรู คอร์ปอเรชั่น,

ออกแบบกราฟิกดีไซน์ให้โค้ก เฟสติวัลเซต, งานของ

SCG ที่รับท�าทั้งสิ่งพิมพ์, วิดีโอ, Identity System,

Manual, นิทรรศการ, อีเวนต์ เป็นต้น

/

/

จากงานกราฟิกดีไซน์ รับออกแบบโบร์ชัวร์, โลโก้ที่

เป็น Identity Design, สิ่งพิมพ์ ผลงานต่างๆ ท�าให้

ฟาร์มกรุ๊ปเป็นที่รู้จักมากขึ้น และได้รับการติดต่อ

จากแบรนด์ใหญ่ๆ ให้รับงานออกแบบโมชั่นกราฟิก

(Motion Graphic), ออกแบบนิทรรศการ, อีเวนต์

เป็น Multidisciplinary Design Studio หรือดีไซน์สตู

ดิโอแบบครบวงจร หัวเรือทั้งสี่จึงต้องผลัดกันออกไป

บรีฟงานจากลูกค้าไม่เว้นแต่ละวัน

Page 16: graphic is

ออกแบบ Stationery ส�าหรับ

บริษัท ก่อสร้างและวิศวกรรม

ออกแบบการ์ดแต่งงาน

Page 17: graphic is

ออกแบบตราสัญลักษณ์ และสื่อสิ่ง

พิมพ์ ส�าหรับแบรนด์สินค้าของไทย

ข้าวอินทรีย์

Page 18: graphic is

ออกแบบตราสัญลักษณ์ ส�าหรับสโมสรฟุตบอลชลบุรี

Page 19: graphic is
Page 20: graphic is

ออกแบบตราสัญลักษณ์ Jarken ซึ่งประกอบไปด้วย 4 เส้น ในขนาดที่แตกต่างกัน และความยาวเส้นเหล่า

นี้ แสดง 4 แผนก หลักของ Jarken จ�านวน 4 เส้น มาจากจ�านวนของพื้นที่ ที่ท�าให้พวกเขาท�างานร่วมกัน

อย่างเท่าเทียม แต่ท�าในโครงการที่แตกต่างกัน

Page 21: graphic is

ในมุมของอีเวนต์ เป็นศูนย์รวมของทุกอย่าง

เพราะต้องมี Environment Graphic, Exhibition

ของลูกค้า, มีการสื่อสารกับลูกค้า, ดูงบประมาณ

ซึ่งอีเวนต์มีคนท�ามาก ต้องดูเทรนด์และคิดอะไร

ใหม่ๆ อยู่เสมอ เนื่องจากอีเวนต์จัดครั้งเดียว การ

ได้โจทย์มาโจทย์เดียว แล้วต้องตีเป็นมีเดียทุกอัน

ซึ่งทุกอย่างต้องเข้ากันต้องเข้ากันได้ด้วยดี ส�าหรับ

ฟาร์มกรุ๊ปแล้ว อีเวนต์จึงเป็นงานยากที่สุด /

/

Page 22: graphic is

Under the Sea

สัตว์ใต้น�้าชนิดต่างๆ สีสรรที่สดใส มาประยุกต์เป็นงาน

ประติมากรรมผสมสนามเด็กเล่น ผู้ใหญ่ได้นั่งพัก เด็กๆ ได้

ปีนป่าย และกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ให้น�าไปสู้การ

เรียนรู้ต่อไป

Page 23: graphic is

SeatingSculpture

งานประติมากรรมผสมเฟอร์นิเจอร์ สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นจุด

นั่งพัก นัดพบ และถ่ายรูป รูปแบบของแต่ละชิ้นงานถูก

ออกแบบให้เข้ากับ Zone ต่างๆ ของห้าง

Page 24: graphic is

/งานกราฟิกดีไซน์เริ่มรู้จักในวงกว้าง มีคนยอมรับและคนท�าธุรกิจก็ประสบความส�าเร็จมากขึ้น

เรื่อยๆ ที่ผ่านมากราฟิกฟาร์มรับงานรวมแล้วมากกว่าร้อยชิ้น โดยในด้านกราฟิกดีไซน์จะได้

ท�าเดือนละประมาณ 10 ชิ้น งานที่มีกระบวนการคิดและท�านานอย่างโมชั่นกราฟิก ในปีที่ผ่าน

มามีเกือบ 10 ชิ้น ส่วนอีเวนต์มีเกือบ 20 งาน และนิทรรศการประมาณ 10 งาน โดยมีทีมงาน

ทั้งหมด 12 ชีวิต

ฟาร์มกรุ๊ปมองลูกค้าเป็นพาร์ตเนอร์ เวลาเราไปรับงานจากลูกค้าจะต้องเข้าใจถึงความต้องการ

และการตลาดขององค์กร คือต้องพูดภาษาเดียวกันกับลูกค้า จะได้สื่อสารได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย

และสอดแทรกความช่างคิดลงไปในผลงาน เมื่อลูกค้าพอใจ ก็เท่ากับว่าทั้งทีมประสบความ

ส�าเร็จ ที่สามารถสนองความต้องการของลูกค้าได้

“งานดีไซน์ เราพยายามท�าด้วยเหตุและผล เสริมคุณค่าให้องค์กร ให้กับแบรนด์ เพราะทาง

ธุรกิจแล้ว มีผลต่อความน่าเชื่อถือ และความเป็นมืออาชีพของลูกค้า” วรินดาพูดถึงหัวใจของ

การงานที่ต้องบาลานซ์ระหว่างความคิดของดีไซเนอร์ และเหตุผลทางธุรกิจ

ฟาร์มกรุ๊ป ทีมดีไซน์ที่มีความขี้เล่น สนุกสนาน แต่จริงจังกับงาน ถ้าเทียบเป็นคน วรทิตย์บอก

ว่าน่าจะเป็นโก๊ะตี๋ คือมีความสามารถ แต่ไม่ได้แสดงภาพลักษณ์ว่าตัวเองดูดี การท�างานก็จะ

ยึดคอนเซ็ปต์เป็นหลัก ไม่มีกลยุทธ์ทางธุรกิจมาก ท�าเต็มที่กับงบประมาณที่มี และตอบโจทย์

ลูกค้าเป็นหลัก ถ้างานไหนที่ไม่ถนัด พวกเขาจะไม่รับ

Page 25: graphic is
Page 26: graphic is
Page 27: graphic is

แพรคทิเคิล สตูดิโอ คือ กลุ่มนักออกแบบไทยที่ผ่านประสบการณ์

การออกแบบ ทั้งในวิชาชีพและแวดวงการศึกษาในสาขาการออกแบบสื่อสาร

ด้วยความเชื่อที่ว่านักออกแบบและงานออกแบบเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรมการอยู่

อาศัย อย่างแยกกันไม่ออก สิ่งที่เราท�าจึงไม่ใช่เพียงแค่การให้บริการทางการออกแบบเท่านั้น

แต่เราพยายามจะผลักดันให้กระบวนการออกแบบเป็นกิจกรรมทางวัฒนธรรมและการด�ารง

อาชีพนักออกแบบในฐานะพลเมืองของสังคมโลก เราจึงมุ่งหวังที่จะใช้ทักษะของเราตอบสนอง

สังคมในทางสร้างสรรค์และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลงานของเราจะ ‘แพรคทิเคิล’ (Practical)

practical

Page 28: graphic is

แพรคทิเคิล สตูดิโอ ก่อตั้งโดยคุณ สันติ ลอรัชวี

ความตั้งใจแรกของผมและเพื่อนอีก 4 คนที่เริ่มต้นบริษัทภาคปฏิบัติ จ�ากัด หรือเรียกกันว่า Practical คือไม่ต้องการยืนอยู่บนการ

รับจ้างออกแบบเป็นหลัก เพราะท้ายที่สุดเราจะไม่ได้ท�าสิ่งที่ชอบจึงชวนเพื่อนมาออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ใช้กราฟิกเป็นจุดขาย เริ่ม

จากงาน stationery แล้วออกแบบกราฟิกโดยไม่มีลูกค้ามาก�าหนดว่าต้องการอย่างไร ท�าอยู่ประมาณสามปี แบรนด์ Practical

ได้ไปออกงาน Paper World ที่ Frankfurt ออกงาน B.I.G. มีวางขายที่ Playground, Propaganda จัดว่าประสบความส�าเร็จใน

ระดับหนึ่ง แต่ด้วยเหตุผลหลายประการท�าให้ Practical กลับมาเป็น Design Studio เหมือนเดิม โดยเปลี่ยนรูปแบบการท�างานให้

ยืดหยุ่น สมาชิกสามารถท�างานอื่นที่เป็นความฝันส่วนตัวควบคู่ไปได้เพื่อให้อยู่กันได้ยาวนาน Practical Design Studio มีสภาพเป็น

community ที่มี facility ให้นักออกแบบ เช่น หนังสือ ซอพท์แวร์ ฟอนต์ คอมพิวเตอร์ กาแฟ มีที่ให้นั่งคุยกัน โดยส่วนกลางจะ

เป็นฝ่ายจัดหามาให้ งานที่อยากท�าคนเดียวก็สามารถท�าได้ งานที่ท�าเองไม่ไหวก็ช่วยกันท�า ขณะเดียวกันก็เริ่มรวมตัวกันท�ากิจกรรม

บางอย่างที่ไม่เกี่ยวกับการหารายได้ สมาชิกที่ Practical จะมีนิสัยและทัศนคติตรงกันเพราะทีี่นี่ไม่ได้รับประกันความก้าวหน้าด้วย

ตัวเงิน และสมาชิกต้องช่วยงานส่วนกลางด้วย นี่คือ model ล่าสุดที่เราใช้บริหารธุรกิจการออกแบบ ค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนไม่สูง

มากนัก มีแต่ค่าเช่าส�านักงาน ค่าสาธารณูปโภค ที่เหลือคือค่าใช้จ่ายในกองกลางส�าหรับซื้อหนังสือ เหมือนเป็นชุมชนมากกว่าเป็น

ส�านักงานออกแบบ

Page 29: graphic is

/Design philosophy

Design ส�าหรับผมคือการใชช้ีวิตทั่วไป

และเป็นสิ่งที่ผมเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมี

อยู่ ซึ่งจะต้องแยกกันระหว่างปรัชญา

ของการออกแบบ กับความหมายของ

มันในเชิงวิชาชีพ เวลาท�างานผมมัก

จะใช้ทั้งสองอย่างนี้ควบคู่กันไป ไม่ใช้

ด้านใดด้านหนึ่ง ในด้านของวิชาชีพคือ

การเป็นผู้เชี่ยวชาญ

หมายถึงเราอาจจะมีค�าตอบหรือมี

แนวทางการแก้ปัญหาของโจทย์เพื่อ

ท�าให้เกิดการตอบสนองต่อความ

ต้องการในการออกแบบนั้นได้อย่าง

แม่นย�า ขณะเดียวกันในอีกด้านหนึ่ง

design ก็คือ life

ผมจะพยายามเชื่อมโยงสิ่งนี้เข้ามาใน

การท�างานโดยเฉพาะวิธีการท�างาน ถ้า

เราเชื่อว่า design คือวิถีชีวิตหรือชีวิต

ประจ�าวัน ทุกครั้งที่เราออกแบบอะไร

บางอย่าง

เราก็อยากจะท�าให้มันมีชีวิตหรือมี

ความน่าสนใจในแบบที่เป็นธรรมดา

สามัญ ซึ่งสองเรื่องนี้ผมมักจะใช้มัน

ควบคู่กันไป

จากประเด็นที่ว่า “เราจะออกแบบ

สังคมออกแบบของเราอย่างไร?” ผม

เปิดสตูดิโอออกแบบมาหลายครั้ง

พยายามหา solution มาตลอดว่าสตูดิ

โอออกแบบแบบไหน

หรือวิธีการท�างานแบบไหนที่จะท�าให้

เรามีความสุขมากที่สุด

ประสบการณ์ที่ผ่านมาคือการหล่อ

หลอมและเป็น model ที่น�ามาใช้กับ

Practical Design Studio

เราต้องการความท้าทายหรือความ

สนุกสนานบางอย่าง นอกเหนือจาก

งานบริการออกแบบให้กับลูกค้าทั่วไป

เพื่อท�าให้เราไม่เบื่ออาชีพของเรา จึงมี

งานในลักษณะที่ไม่แสวงผลก�าไร

ที่ไปท�าร่วมกับองค์กรหรือโครงการ

ต่างๆอยู่มาก เพราะคิดว่า design

หรือ graphic design ไม่ได้มีไว้เพื่อ

ตอบสนองการท�างานทางพาณิชย์อย่าง

เดียว แม้โจทย์ทางการพาณิชย์จะเป็น

ตัวขับเคลื่อน graphic

design ให้เดินไปข้างหน้าและท�าให้เรา

ด�ารงชีวิตไปได้ แต่เราสามารถใช้ทักษะ

และศักยภาพของ graphic design

เพื่อตอบสนองทางสังคม วัฒนธรรม

และโดยเฉพาะอย่างยิ่งตอบสนองความ

คิดของตัวเราเองได้ ท�าให้ช่วงหลัง

ผมเริ่มหันมาท�างานส่วนตัวที่ไม่ได้มี

ลูกค้า ไม่ได้มีใครว่าจ้าง แต่เป็นงาน

ที่เราสนใจและอยากท�า เช่นการจัด

กิจกรรมทางวิชาชีพและนิทรรศการการ

แสดงผลงานส่วนตัว นี่เป็นที่มาหรือ

philosophy ในการใช้ชีวิตเกี่ยวกับการ

ออกแบบของผม

Design inspiration / Design Process

แรงบันดาลใจส่วนหนึ่งมาจากเพื่อน

ร่วมงานบ้าง มาจากอาจารย์บ้าง มา

จากลูกศิษย์บ้าง สรุปคือมาจากทั่วทุก

สารทิศ คงไม่มีนักออกแบบคนไหนได้

แรงบันดาลใจจากช่องทางเดียว

แรงบันดาลใจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา นัก

ออกแบบเองมีเสารับสัญญาณกับสิ่ง

ต่างๆอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นจึงไม่มีค�า

ตอบที่ชัดเจนว่าการหาแรงบันดาลใจ

ต้องไปดูอะไร

ผมคิดว่าการดูอะไรไม่ส�าคัญเท่ากับ

การจับประเด็นจากสิ่งที่ดู การนั่ง

รถเมล์ การนั่งรถไฟฟ้า การขับรถบน

ทางโทลเวย์ การเข้าห้องน�้าตอนเช้า

การอาบน�้า การอ่านหนังสือหรืออะไร

ก็แล้วแต่

เป็นแรงบันดาลใจได้ตลอดเวลา จน

บางทีต้องขับมันทิ้งบ้าง หากเปรียบเรา

เป็นเสารับสัญญาณ เราก็ต้องเปิดช่อง

สัญญาณต่างๆแล้วต้องมีตัวกรองด้วย

เพื่อแปลงข้อมูลมาใช้ให้เป็นประโยชน์

ช่วงหลังการเสพงานของเราจะกว้างขึ้น

ไม่ค่อยดูหนังสือ design แล้วแต่ชอบดู

หนังสืองานศิลปะมากกว่า หรือได้แรง

บันดาลใจจากสถานที่ต่างๆ ที่เราไป

ผมคิดว่าวัตถุดิบในชีวิตจริงก็สดดี

ยกตัวอย่างงานที่ผมท�า Typographic

Installation ขนาดใหญ่ เป็นค�าว่า

กรุงเทพ คนสามารถเดินเข้าออก

ภายในค�าว่ากรุงเทพได้ ระหว่างการ

พัฒนางานชิ้นนั้น ผมยังคิดไม่ออกเลย

ว่าจะท�า surface อย่างไรสุดท้ายได้

แรงบันดาลใจจากร้านอาหาร ขณะ

ที่ก�าลังปรึกษาเรื่องนี้กับน้องที่ท�า

production ปรากฏว่าเห็นประตูเหล็ก

ข้างร้านที่เอาเชือกมาพันประตูรั้วไว้

แทนที่จะเป็นลูกกรงก็เอาเชือกมาท�า

แบบง่ายๆ สุดท้ายก็กลายเป็นวิธีที่ผม

น�าไปใช้ในงานจริง

Page 30: graphic is

print

Page 31: graphic is

/

Page 32: graphic is
Page 33: graphic is

logo

Page 34: graphic is

pagkage

Page 35: graphic is
Page 36: graphic is

งานด้าน Exhibition ของที่นี่ก็โดดเด่นและน่าสนใจมาก

Page 37: graphic is
Page 38: graphic is

Practical Design Studio ได้ท�างานร่วมกับองค์กรที่รู้จักกันดีหลาย บริษัท รวมทั้งกรุงเทพมหานครหอ

ศิลป์วัฒนธรรม, ส�านักงานศิลป์ร่วมสมัยและวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรมพรรคประชาธิปัตย์ Antalis

(ไทยแลนด์) จ�ากัด , "Show me ไทย" นิทรรศการศิลปะ , "ภาพเหมือนของพระราชา" นิทรรศการศิลปะ

"คิงในโครงการหัวใจ", Somboon Seafood, Designiti ความรู้เครือข่ายสถาบันแห่งประเทศไทย ฯลฯ

นอกจากการท�างานพื้นฐานของสตูดิโอออกแบบนี้ สตูดิโอออกแบบกราฟิกที่นี่ได้ริเริ่มและจัดกิจกรรมการ

ออกแบบเป็นประจ�าภายใต้ความร่วมมือกับสมาคมไทยจาก Graphic Designer (ThaiGa) โดยมีการน�า

นักออกแบบมาบรรยายและน�าเสนอผลงานให้กับมหาวิทยาลัยและองค์กรต่างๆมากมาย

ในปี 2009 จัดโครงการปฏิบัติออกแบบกราฟิก "I am a นักออกแบบกราฟิกไทย" ซึ่งริเริ่มโดย

สันติ ลอรัชวี ในปี 2010 ได้เข้าร่วมงาน “Paper Matter” นิทรรศการการออกแบบที่กรุงเทพฯหอศิลป์

วัฒนธรรมและ "heART to Heart" นิทรรศการภายใต้แนวคิด "ความหวัง" ซึ่งจัดนิทรรศการด้านหน้าของ

อาคารเซ็นทรัลเวิลด์ราชประสงค์สนธิ พวกเขายังจัดงานการออกแบบกราฟิกไทย "Somewhere Thai”

รวม 50 สถานที่ เพื่อการประกาศ"ความเป็นไทย" ในงานออกแบบ

Page 39: graphic is

สรุป ภาพรวมของ Practical เปรียบเหมือนคนที่ต้องมีความละเอียดอ่อน ชอบและใส่ใจในดีเทล ในขณะที่เนื้อหาข้างในนั้นแน่นมาก

Page 40: graphic is
Page 41: graphic is

นนทวัฒน์ เจริญชาศรี สั่งสมประสบการณ์งานกราฟิกมาตั้งแต่ยุคเศรษฐกิจตกต�่าในช่วงปี 2540

ก่อนฝ่าฟันมาตั้งสตูดิโอของตัวเองด้วยการรับงานออกแบบทุกชนิดที่มีกราฟิกเป็นส่วนผสม

ตั้งแต่การจัดท�าตราสัญลักษณ์บริษัท ออกแบบสิ่งพิมพ์ กราฟิกงานดนตรี ออกแบบตกแต่ง

ภายใน และงานนิทรรศการ ไปจนถึงงานที่ปรึกษาด้านการออกแบบ นอกจากงานประจ�าที่สตู

ดิโอ เขายังควบต�าแหน่งผู้ก�ากับฝ่ายศิลป์ของนิตยสาร Wallpaper* (Thai Edition) และได้รับ

เชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยอีกหลายแห่ง

ductstore

Page 42: graphic is

นนทวัฒน์ เจริญชาศรี ผู้ก่อตั้ง‘DUCTSTORE the design guru co.,ltd’ มีต�าแหน่งเป็น Design Director ให้บริการงานออกแบบแทบจะทุกอย่าง อาทิ รับออกแบบ Interior / Exhibition / Display / 3D Presentation / Corporate Identity / Design Consultant / Graphic Design / Magazine / Music Graphic Design and More

สโลแกนของที่นี่คือ Relieves and Solves the Design Crisis

จุดเริ่มต้นที่มำก่อตั้งออฟฟิศท�ำเอง

ตอนจบมาก็ไปท�าแมกกาซีน ตอนนั้นเศรษฐกิจมันไม่ค่อยดีพอเราเข้าไปท�าหนังสือก็หยุดไป

บ้าง ปิดไปบ้าง เรารู้สึกว่าอาชีพนี้ไม่มั่นคง ไหนๆมันจะไม่มั่นคงแล้วท�าเองดีกว่า ไปที่ไหนเดี๋ยว

มันก็เจ๊งก็หยุด ก็เลยลองดู ตอนแรกก็โทไปหาเจ้านายเก่า รุ่นพี่ว่าเราท�าออฟฟิศนี้แล้วนะชื่อนี้ๆ

แรกๆก็ท�าฟรีค่อนข้างเยอะ ท�าโชว์บ้างได้ตังค์น้อยบ้างแต่เราก็อยากท�า คือเราสนุกไง แต่ตอน

นี้มันเป็นอีกแบบนึงแล้วไง มันเป็นธุรกิจมากขึ้น มันพลาดไม่ได้ พลาดแล้วมันเซงอ่ะเออ พลาด

แล้วมันเซง แต่ก็ไม่ได้พลาดเยอะนะ ผิดค�านิดนึง เป็นเรื่องน่าเบื่ออะ

10 ปีนี้กับ 10 ปีที่แล้วกับวงกำรออกแบบในเมืองไทย

โห สุดยอดอ่ะ สิบปีที่แล้ว ช่วงเศรษฐกิจมันตกด้วยไง มันท�าให้เกิดดีไซเนอรห์น้าใหม่ขึ้นมา

เพราะทุกคนต้องเอาตัวรอด ออฟฟิศใหญ่ๆเลย์ออฟพนักงาน เมื่อก่อนคนจบมาแล้วต้องเข้า

ท�างานออฟฟิศใหญ่ๆ แต่พอเกิดเรื่องนี้ มันก็เกิดกลุ่มฟรีแลนมากมาย ก็ท�าให้เกิดผู้รอดตาย

แล้วเรื่องค่า FEE ค่าดีไซน์คนจ้างคิดว่าไม่จ�าเป็นต้องจ่าย ตอนผมท�าแรกๆก็โดนโกงมาเยอะ

สมมุติแสนนึง เขาก็บอก อุ้ยท�าไมแพงจังเอาไปหมื่นนึงพอ มันพูดยากอ่ะ ทุกคนไม่เก็ทเรื่องการ

ดีไซน์ แต่พอ สิบปีผ่านไปทุกคนเก็ทแล้ว ทุกที่มีค่า FEE แล้ว ลูกค้าก็เข้าใจว่าต้องจ่ายนะ แล้ว

ลุกค้าตอนนี้ก็เป็นคนรุ่นใหม่ทั้งนั้น เกิดมาในยุคข้อมูลข่าวสาร รับวัฒนธรรมจากทั่วโลก ถามว่า

ดีไซน์ที่เขาเคยเห็นมามันเยอะ แล้วที่ดีๆเขาก็

ต้องเคยเห็น แต่เมื่อก่อนคนไม่รู้ไม่เคยเห็นไง

ก็ไม่รู้ว่าอะไรที่เรียกว่าดีไม่ดี ก็เลยไม่อยาก

จะจ่ายเงินไปกับเรื่องพวกนี้ ถามว่าท�าไมสมัย

ก่อนบ้านสไตล์หลุยต์มีเต็มไปหมด ก็เพราะ

เขาคิดว่าแบบนี้มันดีไง แต่ตอนนี้มันขึ้นยู่กับ

แต่ละคนแล้ว ชอบฮิปปี้ ชอบโมเดิร์น ชอบ

เรโทร มันหลากหลายขึ้นจากข้อมูลที่หลาก

หลายมากขึ้น

มองเด็กรุ่นใหม่ที่เรียนในสำยออกแบบวันนี้

เป็นยังไง

เวลาไปบรรยายตามมหาลัยเรารู้สึกอะไรบางอย่าง มันจะมีคนสองประเภทนะ หนึ่งคือ

เก่งอยู่แล้วและพยายามพัฒนาตัวเองให้เก่ง

ขึ้นอีก ซึ่งเขาจะได้เปรียบเรื่องข้อมูลข่าวสาร

เรื่องอุปกรณ์เรื่องซอฟแวร์ที่จะเตรียมความ

พร้อมให้เขาก่อนจบออกไปพวกนี้ถ้าขวนขวา

ยมากๆจะโคตรเก่งเลย กับอีกอย่างคือเฉยๆ

ไม่ขวนขวาย เพราะมันมีให้เห็นอยู่รอบตัว

เดี่ยวนี้ค่านิยมของเด็กรุ่นใหม่คือ ไม่อุทิศตน

อยากได้อะไรมาง่ายๆ จบง่ายๆ ดังเร็ว รวย

เร็ว ไม่ชอบเป็นลูกจ้างใคร ทุกคนมักเป็นแบ

ไบนี้ อาจจะจากการสั่งสมของ... ถ้าถามพี่ๆ

คิดว่า อาจจะมาจากช่วงหนึ่งที่เรามักจะบอก

ว่า อยากท�าอะไรก็ท�า เชื่อมั่นในตัวเอง แต่

บางอย่างมันไม่ฟังเหตุผลมันเชื่อแต่ตัวเองเลย

อ่ะ ถ้าไปในทางที่ดีก็ดีไงครับ แต่เลือกที่จะ

ใช้มันให้ถูกจังหวะเวลายังไงให้ออกมาดี แค่นี้

เอง อีกอย่างเด็กยุคนี้เป็นยุคของสังคมที่ใช้

เงินอ่ะ เราไม่รู้ว่าเขาหาได้มากแค่ไหน แต่เขา

ใช้เยอะอ่ะ ดังนั้นเวลาที่พวกเขาจบมาแล้วได้

เงินเดือนเรตปกติ ซึ่งมักจะต�่ากว่าที่เขาเคยได้

เคยใช้ เขาก็จะแอนตี้กับมัน

เด็กกรุงเทพอ่ะ พ่อแม่ก็มีส่วนที่สร้างเด็กแบบ

นี้ขึ้นมาคือตามใจ อยากได้อะไรก็ได้ ได้ง่าย

ได้เร็ว

Page 43: graphic is

/

Nontawat

เวลำไปบรรยำยให้นักศึกษำฟัง คุณเห็นอะไรใน

แววตำพวกเขำ

มีสองแบบ คือไม่คิดอะไรเลย ผมรู้สึกว่าไม่น่า

มาเลย คือเขาไม่เก็ทอะ เรารู้สึกเลย คือน้องจะ

เป็นดีไซเนอร์แล้วไม่สนใจสิ่งที่เราเอาไปให้เขาดู

เลย ไม่มีเลย(เน้นเสียง) กับบางที่มองแล้ว โอ้โห

รู้สึกได้เลยว่าเขามีความอยาก เขาอยากรู้จริงๆ

กับสิ่งที่เราท�ามันเป็นยังไง

เราอยากบอกเขาในแง่ความจริง ในแง่วิธีการ

ที่จะท�าให้เขาไปสู่สิ่งที่เราเจอมา อะไรไม่ดี ก็

อยากบอกเขาว่าอย่าไปเจอเลย อันที่เราพลาด

มาก็มี เราก็พยายามบอกเขา เราอยากไปเผย

แพร่อยู่แล้ว ไปปลุกระดมเขา ไปเป็นยากระ

ตุ้น ใช่ มันจะได้สร้างคนใหม่มาเชื่อมต่อจาก

คนรุ่นก่อน

เปรียบเทียบเด็กที่เรียนออกแบบวันนี้กับเมื่อก่อน

เขามีโอกาสที่ดี มีอะไรให้เห็นชัดเจน แฟชั่นก็

มี TCDC น�ามาให้ดู แต่ผมว่าเด็กรุ่นนี้ยากกว่า

เพราะข้อมูลมันเยอะ ท�าให้เขาหลงข้อมูลได้ง่าย

ไม่รู้ว่าจะท�าอะไรดีละ แม่งเยอะมาก เมื่อก่อน

ใครชอบดนตรีก็มุ่งไปดนตรีอย่างเดียว เดี๋ยว

นี้มันปาร์ตี้ ดนตรี มัลติมีเดีย ศิลปะ แฟชั่น

ผสมรวมกันไปหมดเลย เป็นงานชิ้นเดียวกัน

เคยเจอปะเด็กเรียนวิศวะ สักพัก เฮ้ยกูอยากเป็น

นักร้องว่ะ มันคอนทราสกันตอนเนี่ย เด็กรุ่นใหม่

มันมีทางเยอะ ก็เกิดความไขว้เขวได้ หรือมีน้อง

อยู่คนนึงเอนท์ติดศิลปกรรม จุฬาฯ แต่จริงๆไม่

อยากเรียนเลย อยากเรียนบัญชี ดูดิอะไรเงี้ย คือ

ระบบเอนท์มันเป็นอะไรที่ตกหล่นอ่ะ มันไม่ใช่

อะไรที่โฟกัส

คนแบบไหนเหมำะกับกำรเป็นนักออกแบบ

ทุกคนมีอีโก้ใช่ปะ เลือกใช้ให้เป็น คนที่เรารู้สึก

ว่าเก่งจริงอ่ะ คือคนที่ไม่ค่อนต�าหนิคนอื่น และ

คนที่ตั้งใจจริง ทุกที่จะมีครีมอยู่ ทุกมหาลัยมัน

จะมีพวกครีมอยู่ ที่ล่ะสามที่ล่ะห้าคนมีอยู่แล้ว

เจอค�ำถำมไหนจำกเด็กที่ท�ำอึ้งไปเลย

ถามว่า พี่รู้ได้ไงว่างานมันจะออกมาดี ถ้าท�า

ออกมาแล้วมีคนพูดว่ามันไม่ดี คือเราก็บอกว่า

นั่นมันก็แสดงให้เห็นถึงรสนิยมของดีไซเนอร์ว่า

ไม่ดี ท�าออกมาคนก็ด่า แต่อย่างน้อยคุณเป็นคน

ออกแบบคุณต้องมั่นใจสิ่งที่คุณท�าสิ ใช่ปะ คุณ

เป็นดีไซเนอร์คุณถามแบบนี้ไม่ได้อ่ะ

คนเป็นนักออกแบบต้องบริโภคเยอะ

การที่จะเป็นดีไซเนอร์ได้มันต้องเสพต้องบริโภค

เยอะ เพราะให้รู้ว่ามันเป็นยังไง เหมาะไม่เหมาะ

กับงานไหน ถ้าเราไม่รู้จักไม่เคยใช้ไม่เคยเห็น

แล้วเราจะไปบอกเขาได้ไงว่าอะไรดีไม่ดี เช่น

ก๊อกน�้าราคาห้าหมื่นจะไปบอกเขาให้ใช้แบบนี้

ได้ยังไง ถ้าบอกว่าแค่สวย มันไม่ได้อ่ะ เขาก็

ไม่เก็ทหรอก หรือเพื่อนพี่คนนึงเขาก็พูดน่าคิด

นะ ว่าเคยจับกุญแจรถเฟอรารี่ไหม ว่ามันเป็นยัง

ไง มันมีน�้าหนัก วัสดุยังไง กับกุญแจรถราคา

เท่านั้นอะ มันต่างจากรถอื่นยังไง ผมก็ยังไม่

เคยจับอะนะ คือยังไงคุณก็ต้องรู้มากกว่าลูกค้า

อ่ะ ถ้าลูกค้ารู้มากกว่าคุณนี่มันจบแล้วอ่ะ คุณ

ต้องแนะน�าเขาได้ เป็นที่ปรึกษาเขาได้อ่ะ เป็นที่

ปรึกษาด้านการออกแบบรสนิยม แต่คุณไม่มีเลย

แล้วคุณจะท�าอะไรได้ละ

ที่คุณท�าสิ ใช่ปะ คุณเป็นดีไซเนอร์คุณถามแบบ

นี้ไม่ได้อ่ะ

Page 44: graphic is
Page 45: graphic is
Page 46: graphic is
Page 47: graphic is
Page 48: graphic is
Page 49: graphic is

ductstoreหำกมองผ่ำนๆแล้ว ductstore ดูเป็นแบรนด์เข้มๆแต่จริงๆแล้วข้ำงในนั้นอบอุ่นมำก เป็นแบรนด์ที่ขี้เล่นมำกๆทันสมัย และ โดดเด่นมีเอกลักษณ์ของตัวเองเสมอ

/

Page 50: graphic is

color party

Page 51: graphic is

13 ปีก่อน เกิดการรวมกลุ่มกันระหว่างนักออกแบบกราฟิกระดับหัวกะทิขึ้นในเมืองไทย ได้แก่ คุณวิเชียร โต๋ว คุณปุณลาภ

ปุณโณฑก และคุณสยาม อัตตะริยะ ก่อตั้งเป็นบริษัทในนาม Pink Blue Black &Orange (PBB&O) ผลิตผลงานกราฟิกทุก

ประเภท ซึ่งชื่อนี้คล้องจองกับโครงสร้างการท�างานที่แบ่งออกเป็นทีมตามสีทั้ง 4 กลุ่ม นานเข้าพวกเขาก็ได้ตั้งชื่อเล่นให้กับบริษัท

เพื่อให้จ�าง่ายขึ้นว่า “Color Party”ตั้งแต่นั้นมาชื่อนี้ก็ติดปากลูกค้าจนถึงขั้นติดใจในเวลาต่อมา

คุณวิเชียร โต๋ว Design Director และหนึ่งผู้ก่อตั้งบริษัท Pink Blue Black & Orange จ�ากัด กล่าวถึงโครงสร้างการท�างานซึ่ง

แบ่งตามกลุ่มสีว่า หลักๆ แล้วจะเป็นทีมครีเอทีฟดีไซเนอร์ 3 กลุ่ม นั่นคือ Blue

Black & Orange โดยมี 3 ผู้ก่อตั้งรับหน้าที่เป็นหัวหน้าทีม ส่วน Pink เป็นกลุ่มสีที่ดูแลรับผิดชอบงาน Back Office ทั้งหมด ไล่

ตั้งแต่การเงิน การตลาด และงานพิมพ์ “ทีมครีเอทีฟทั้ง 3 ทีมเปรียบเสมือนการรองรับงานมีแก้ว 3 ใบ แต่ละใบก็ไปหาน�้ามา

เติม แก้วไหนเต็มก่อนและมีทีท่าว่าจะล้น หากแก้วไหนยังว่างก็ไปใส่แก้วนั้น แต่ปัจจุบันทั้ง 3 ทีมหาน�้าได้เต็มพอๆ กัน ด้วย

ประสบการณ์ที่ท�างานมานานแต่ละคนจะมีฐานลูกค้าของตัวเอง โดยลูกค้าของเราก็จะหลากหลาย และครอบคลุมทั้งธุรกิจ

พลังงาน สื่อสาร อุตสาหกรรม และธนาคาร เป็นต้น”แต่จะสังเกตได้ว่าบริษัทนี้ไม่มี Client Service “ในหนึ่งทีมที่มี Design

Director ควบคุมอยู่นั้นจะท�าหน้าที่ดูแลงานทุกอย่าง ตั้งแต่ติดต่อลูกค้า ขายงาน คิดงาน ท�าแบบ มาจากประสบการณ์ครั้งอดีต

ซึ่งเคยพบปัญหาการสื่อสารกันระหว่างครีเอทีฟกับ Client Service ซึ่งบางครั้งถ้า Client Service ไม่แข็งแรงพออาจจะให้ข้อมูล

ไม่ครบถ้วนแก่ลูกค้าได้ เกิดการหลงทางกัน ท�าให้ลูกค้าอยากเจอครีเอทีฟมากกว่า อีกส่วนหนึ่งผมมองว่าการที่ท�างานแล้วเจอ

ลูกค้าเอง มันสนุกกว่า สามารถคุยได้เลยว่าเขาต้องการอะไร ตรงนี้เราไม่ได้เข้าใจเนื้องานเพียงอย่างเดียว แต่ยังเข้าใจ Nature

ของลูกค้าด้วยไม่ใช่ในแง่องค์กร แต่ในแง่บุคคล เพื่อที่จะได้รู้ว่าเราควรจะเข้าไปท�างานในรูปแบบใด เชิงรุกหรือรับ”

รูปแบบการท�างานดังกล่าว คุณสยาม อัตตะริยะ Design Director กลับมองว่าเป็นข้อได้เปรียบของ PBB&O เมื่อเทียบกับคู่แข่ง

ซึ่งเป็นองค์กรขนาดใหญ่กว่า “อันนี้เป็นมุมมองที่การท�างานกับลูกค้ากับเราเริ่มเปลี่ยนไป มุมมองต่างๆ ก็เริ่มเปลี่ยน จากแต่

ก่อนเรายังเด็กอยู่อาจจะไม่มีประสบการณ์มาก หรืออาจจะไม่ได้รับความไว้วางใจมาก เขาอาจมองเราเป็นแค่ซัพพลายเออร์ พอ

เราเริ่มโตขึ้น เขารู้จักผลงานเรามากขึ้น ท�าให้เรามีโอกาสได้ประสานงานกับลูกค้าที่มีอ�านาจตัดสินใจได้ ท�าให้เกิดลักษณะการ

ท�างานที่เหมือนช่วยกันคิด กลายเป็นพาร์ทเนอร์ช่วยกันแก้ปัญหา เวลาท�างานก็จะเบ็ดเสร็จในการคุยในที่ประชุมกันเลย คล่อง

ตัวกว่า ลูกค้าก็จะรู้สึกว่าเปรียบเทียบกับประสิทธิภาพในเรื่องของเวลา คุณภาพ

เราจะได้เปรียบกว่าองค์กรที่ใหญ่กว่า”

Page 52: graphic is

Why Color Party?

เมื่อธุรกิจกราฟิกดีไซน์เริ่มแข็งแรงขึ้นเรื่อยๆ ผู้บริหารจึงขยายเข้าสู่ตลาดโปรดักต์ดีไซน์ในปี 2543

โดยใช้นิกเนม Color Party มาตั้งเป็นชื่อบริษัท Color Party Object จ�ากัด ผลิตโปรดักต์ดีไซน์

ในกลุ่ม Stationary และ Kitchen Ware ด้วยวัตถุประสงค์แรกที่ตั้งใจจัดจ�าหน่ายในต่างประเทศ

คุณสมศรี มณีสถิตย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท Color Party Object จ�ากัด กล่าวว่าตลาดหลักๆ

จะอยู่ในยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น โดยวางจ�าหน่ายในมาร์กแอนด์สเปนเซอร์ ฮาบิแทต

และตามร้านอาร์ตแกลเลอรี่ ตลาดอีกส่วนหนึ่งอยู่ในประเทศ วางจ�าหน่ายในร้าน Propaganda,

Be Trend, Loft และ Design Object ในเกษรพลาซ่า และ TCDC ซึ่งเป็นเอาท์เลตของ Color Party Object แต่ด้วยความผันผวนของ

ตลาดโลกหลายระลอก ทั้งวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์จนมาถึงวิกฤตกรีซ

ที่ลามไปทั่วยุโรป ประกอบกับค่าเงินบาทแข็งอย่างต่อเนื่อง และการแข่งขันทางด้านราคาในธุรกิจโปรดักต์ดีไซน์เป็นปัจจัยให้บริษัทหัน

มาทบทวนการท�างานอีกครั้ง “ธรรมชาติของงานโปรดักต์ดีไซน์บังคับให้ดีไซเนอร์ต้องขยันออกแบบเป็นซีรีส์ แล้วก็ต้องคอยลุ้นว่าคอลเล

คชั่นที่ท�าออกไปถูกใจตลาดหรือไม่ ที่ส�าคัญคือการแบกสต๊อกสินค้า ปัญหามีอยู่ว่างานครีเอทีฟของเราเดินไปข้างหน้าได้ แต่ภาคผลิตที่

จะตามมาซัพพอร์ตเราไปแข่งขันในตลาดโลกมันไม่คุ้ม เพราะค่าแรงบ้านเราแข่งกับประเทศจีนไม่ได้ ท�าให้จีนครองตลาดนี้ไป

นี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ท�าให้เราลดบทบาทงานโปรดักต์ดีไซน์ในต่างประเทศ ถ้าเราท�าจริงๆ มันต้องใช้พลังงานมาก ทั้งในแง่ของรีเสิร์ช

วิเคราะห์ตลาด อีกอย่างเป็นเรื่องของลิขสิทธิ์ที่เราต้องตามไปจดทะเบียนด้วย มองในแง่การลงทุนมันไม่คุ้ม เราก็ปรับตัวไปตามสภาพ”

Page 53: graphic is

จุดนี้เองท�าให้เมื่อ 4 ปีก่อน Color Party Object หันมารุกตลาดคอร์ปอเรทพรีเมียมจนประสบความส�าเร็อย่างต่อเนื่อง ท�าให้สัดส่วนราย

ได้เปลี่ยนไปจากตลาดส่งออกมาเป็นตลาดในประเทศ “ความส�าเร็จในธุรกิจคอร์ปอเรทพรีเมียมของบริษัท มาจากพฤติกรรมลูกค้าเริ่ม

เปลี่ยนมาถึงจุดหนึ่งจากที่เขามักซื้อส�าเร็จรูปที่มีอยู่ดาษดื่นมาติดโลโก้ไว้แจกตามเทศกาลต่างๆ ตอนนี้ลูกค้าเริ่มมองของพรีเมียมในแง่

กลยุทธ์มากขึ้น ซึ่งท�าให้ Brand Identity ขององค์กรชัดเจนมากกว่า” คุณวิเชียร กล่าว เขาให้ค�าจ�ากัความของงานโปรดักต์ดีไซน์ในกลุ่ม

ของคอร์ปอเรทพรีเมียมที่ดีจะต้องตอบโจทย์ Corporate Identity ของลูกค้า ด้วยเหตุผลว่านี่คือเป้าหมายที่ลูกค้า Invest ไปเพื่อสร้าง

แวลูให้กับองค์กร ขณะเดียวกันก็จะต้องศึกษากลุ่มเป้าหมาย (ผู้รับ) ว่าเป็นใคร “สมมติว่าธุรกิจธนาคารที่เป็นลูกค้าเราเขาก็มีกลุ่มลูกค้า

ที่เป็นระดับซีอีโอ ระดับผู้บริหาร ผู้จัดการ หรือแม้แต่ท�าของพรีเมียมแจกนักข่าว เราก็ต้องวิเคราะห์ไลฟ์สไตล์ว่าแต่ละกลุ่มต้องการอะไร

มีพฤติกรรมอย่างไร ส่วนเรื่องดีไซน์ก็จะท�าการวิเคราะห์ลงไปอีกชั้นหนึ่ง” คุณสมศรี กล่าว “เราไม่ได้ท�าสินค้า แต่มันคือของขวัญ เพราะ

ฉะนั้นของขวัญจะต้องท�าหน้าที่ทางอารมณ์ หรือให้คุณค่าทางใจ ผู้รับเห็นแล้วอยากเก็บ ถ้าเป็นไปได้เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องประโยชน์

ใช้สอยไปด้วย ท้ายที่สุดแล้วเราขายประสบการณ์ มันเป็นกระบวนการตั้งแต่เปิดแพ็กเกจ แล้วเจอตัวหนังสืออะไร รับของแล้วรู้สึกอยาก

เก็บด้วยความประทับใจ เพราะของบางชิ้นเงินก็หาซื้อไม่ได้ นั่นเป็นการลงทุนที่ลูกค้าเราจะต้องไปสูญเปล่า” คุณสยาม กล่าวเสริม แต่

ไม่ว่าจะท�างานตอบโจทย์ลูกค้าขนาดไหน ก็ไม่เคยละทิ้ง Signature “ผมว่านี่คือตัวตนของผู้ออกแบบ เพราะ Signature อยู่ในงานของ

เราอยู่แล้ว ผลงานแต่ละชิ้นคงหนีไม่พ้น มุมมอง ทักษะของผู้ออกแบบ โดย Signature ส่วนใหญ่ของเราพยายามน�าเสนอเรื่องแบรนด์

ให้ตรงโจทย์ แม้งานของเราจะหลากหลายเปลี่ยนแปลงไปตามลูกค้าแต่ละคน แต่ทุกคนจะมองเห็นอะไรบางอย่างที่มีความคล้ายคลึงกัน

โดยเฉพาะความประณีต วัสดุที่เลือกใช้ ความเอาใจใส่ หรืออะไรบางอย่างที่เป็นตัวตนของเรา” เช่นเดียวกับองค์ประกอบของงานกราฟิก

ดีไซน์ที่ดี แม้ผลงานส่วนใหญ่จะมีกรอบไว้อยู่แล้ว อย่างเช่น ปฏิทิน ไดอารี Annual Report และ Company Profile แต่ PBB&O จะ

ส�ารวจว่าขอบเขตเส้นแบ่งว่าอยู่ตรงไหนแล้วพยายามเข้าไปชิดขอบนั้นให้มากที่สุด “ผมยอมรับว่าโจทย์บางอย่างไม่มีเป้าให้เราวิ่งไปได้

ไกลขนาดนั้น ด้วยตัวลูกค้าเอง และ Corporate Image ของเขาเองซึ่งเหมือนรัฐธรรมนูญที่ฉีกกฎไม่ได้ ฉะนั้น Area

ที่ผมวิ่งได้มันถูกตีกรอบด้วยรัฐธรรมนูญอันจ�ากัดของลูกค้า อยู่ที่ว่าเราวิ่งไปได้ไกลแค่ไหน ฉะนั้นเรื่องเทคนิคแพรวพราวอาจถูกตัดไปด้วย

เหตุผลเหล่านี้บ้าง” คุณวิเชียร กล่าว

Page 54: graphic is
Page 55: graphic is
Page 56: graphic is
Page 57: graphic is

Planแม้จะอยู่ในฐานะผู้ผลิตที่สร้างสรรค์ผลงานในเชิงกลยุทธ์ให้แก่ลูกค้า แต่ส�าหรับ PBB&O แล้ว คุณสยาม ให้ความเห็นว่า กลยุทธ์การท�างานในวันนี้เป็นผลมาจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่มีความไม่แน่นอน“ธุรกิจนี้แข่งขันสูง โดยเฉพาะเรื่องราคา และความผันผวนอื่น ท�าให้ธุรกิจมีความไม่แน่นอน ทีนี้เราจะอยู่ยังไงบนความไม่แน่นอน และมีคู่แข่งหน้าใหม่ๆ เข้ามาทุกปี สิ่งที่เราพยายามท�าคือตั้งอยู่บนฐานลูกค้าเก่า แล้วเซอร์วิสให้ดี ในที่นี้หมายถึงท�างานให้ได้ตามที่ลูกค้าคาดหวัง ด้วยงานที่สมูทมีประสิทธิภาพคุ้มเงินที่เขาจ้างเรา เหมือนกับการเล่นเทนนิสเราต้องพยายามเซิร์ฟให้ได้เอสบ่อยๆ”คุณวิเชียร คุณสยาม เสริมว่า จุดต่างที่บริษัทพยายามรักษาไว้เสมอคือ การน�าเสนอไอเดียที่แตกต่างซึ่งจุดนี้เป็นอีกข้อที่มัดใจลูกค้า “เราพยายามเข้าใจลูกค้า อย่างน้อยๆ ไม่ว่าลูกค้าใหม่ หรือเก่า เราจะต้องคิดอยู่เสมอว่าต้องสร้างความเซอร์ไพรส์ให้เขาตลอดเวลา เพราะถ้าเราน�าเสนอในสิ่งเดิม ก็จะน่าเบื่อ ทุกครั้งเราพยายามกลับไปน�าเสนออะไรที่แปลกใหม่ ผมว่างานออกแบบมันไม่ได้เป็นแค่แบบ แต่มันเป็นการดูแลความสัมพันธ์ ควบคุมให้ปัญหาให้อยู่ที่เรา ไม่ไปผลักภาระไปที่ลูกค้าหรือส่วนอื่นๆ ที่ส�าคัญความเก่งอย่างเดียวไม่พอ แต่ต้องท�าให้ลูกค้าไว้วางใจเราเมื่อเราได้รับมอบหมาย ท�าให้เขาไม่ผิดหวัง เรายายามไม่ท�าให้เกิดอุบัติเหตุระหว่างทาง อันนี้คืองานเบื้องหน้า ส่วนงานเบื้องหลัง เราจะต้องวางแผนการผลิตอย่างดี เพราะสินค้าแต่ละอย่างมีวิธีการผลิตที่ซับซ้อน ไม่ได้อยู่ในไลน์ผลิตที่ผู้ผลิตเขาท�ากันปกติ เพื่อให้งานราบรื่นเสร็จตามที่ก�าหนดวันส่งมอบ”

/

/

Page 58: graphic is
Page 59: graphic is

เราเปรียบเทียบความสุขของการออกแบบสร้างสรรค์ เป็นที่บรรจุที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่น่าตื่นเต้น ความพึงพอใจในงานศิลปะความงาม และงานฝีมือที่มีความละเอียดเช่นเดียวกันกับ 'วิทยาศาสตร์ + ศิลปะ + งานฝีมือนอกเหนือจากตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่เราได้รับแรงบันดาลใจและไม่เคยละเลยที่จะให้กลับไปยังผู้อื่น แรงบันดาลใจนี้ ที่เราจะยังได้รับความสนใจในการท�างานให้กับองค์กรของศิลปะและวัฒนธรรมในประเทศไทย เป็นผลให้เราได้รับการใส่ใจในการท�างานและช่วยให้พวกเขาหาทางออก ภายในงบประมาณ ที่พวกเขาต่อรองและในเวลาเดียวกันความเชื่อมั่นที่ดี และมีคุณภาพตามมาตรฐานของเรา อย่างไรก็ตามอาชีพนี้ยังเป็นหนทางยาวไกลเพื่อให้เป็นที่ยอมรับในสังคมไทย เราจึงพยายามส่งเสริม ให้กิจกรรมเพิ่มเติม และความรู้การออกแบบเพื่อศักยภาพและความสนใจในงานออกแบบทั้งหมด

Page 60: graphic is

วีร์ วีรพร อาจารย์พิเศษคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และกราฟิกดีไซเนอร์แห่งบริษัท Conscious คือผู้ริเริ่มท�าเว็บและ

พอดแคสต์ Design ไป บ่นไป ซึ่งรวบรวมสารพัดเรื่องราวเกี่ยวกับแวดวงการออกแบบ ทั้งด้านการศึกษาและวิชาชีพการออกแบบ มีการ

พูดคุยกับนักออกแบบด้านต่าง ๆ ที่แวะเวียนกันมาแบ่งปันประสบการณ์ ช่วยเปิดโลกทัศน์ใหม่ ๆ ด้านการออกแบบให้กับผู้ที่สนใจ

จุดเริ่มต้นของบริษัท conscious

ตอนเเรกชื่อว่า design conscious ตอนนั้นคิด

ชื่อไม่ออกเเล้วมันเป็นค�าที่คนชอบใช้อธิบาย

เหมือนเเบบว่าเป็นคนที่เเคร์การออกเเบบมาก

เหลือเกิน เเต่ว่าเพื่อนๆที่คุยกันเเล้วใช้ค�านี้

นิยามมักจะเป็นในเชิงลบนะเเบบว่า เห้ยคุณ

design conscios เกินไปเดี๋ยวคนเค้าไม่รู้สึก

หรอก เเล้วทีนี้ตอนนั้นก็เลยลองใช้ชื่อนี้มาสัก

พักนึง เเล้วก็มีพี่อนทินนี่เเหละมาบอกว่าจริงๆ

คุณไม่น่าจะใส่ใจเเต่ค�าว่าออกเเบบนะค�าว่า

condcious มันหมายถึงคุณมีสติสัมปชัญญะ

รับรู้ ที่นี้ท�าไมคุณจ�าใส่ใจเเต่เรื่องออกเเบบหละ

เนี่ยคุณท�างานออกเเบบ เเบบมีสติรู้ตัวอยู่เสมอ

เนี่ยความหมายมันกว้างกว่านะ คือเค้าไม่ได้

ทักยาวๆเเบบที่ผมพูดเมื่อกี้หรอก เค้าทักบอก

ท�าไมไม่ลองตัดค�าว่าdesign ออกหละมันกว้าง

กว่าตั้งเยอะ เราก็เลยรู้สึกว่าเออมันก็โอเคนะเเล้

วก็เขียนง่ายเรียบง่าย โลโก้เล็กลงเมื่อก่อนมัน

ยาว พอท�าเป็นสองบรรทัดก็เส้นยุ่งๆมันก็โอเค

พอลองมาทบทวนตรงนี้ก็เลยคิดว่า การที่เรา

ท�างานออกเเบบเราไม่ต้องใส่ใจกับเรื่องงานอ

อกเเบบก็ได้ เราท�างานออกเเบบด้วยความใส่ใจ

อยู่เสมอว่าเราก�าลังท�าอะไรน่าจะเป็นความ

หมายที่ดีก็เลยเป็นชื่อนี้

บริษัทตั้งอยู่ที่นี่ตั้งเเต่ต้นเลยรึเปล่ำ

ตอนเเรกที่เริ่มท�าก็มีห้องอยู่ตรงตึกโชว์รูมรถ

ยนต์ฮอนด้าของทางบ้านเเล้วมันตลกมาก

คือข้างล่างเป็นโชว์รูมข้างบนมันก็จะมีพวก

พนักงานบัญชีข้างหลังก็จะเป็นซ่อมรถอยู่

เเล้วอยู่ตรงนั้นมันอยู่ไม่ได้เพราะเราท�างานเรา

ก็ชอบฟังเพลงเราก็มีกิจกรรมอะไรที่ไม่เหมือน

เค้า ก็เลยมาที่อพาทเม้นนี้คือจริงๆตึกนี้ก็เป็น

กิจการนึงของทางบ้านเค้าก็บอกว่าอย่าเอาค่า

เช่าไปเข้ากระเป๋าคนอื่นเลยท�านองนี้ เเต่ว่าตอน

เเรกเป็นห้องๆนึงในอพาทเม้นจริงๆเป็นห้อง

ที่ใช้อยู่อาศัยอย่างนั้นอะ เเล้วก็เอาโต๊ะไปวาง

นั่งท�างานกันพอดีอยู่ห้องนั้นมาพักนึงก็ มันคิด

ว่ารู้สึกไม่ค่อยดีกับคนท�างาน สมมติคุณเป็น

นักศึกษาผู้หญิงจบมาใหม่มาถึงเเล้วเเบบเดิน

เข้าอพาทเม้นลึกลับมันก็เลยดูไม่ค่อยดี ก็เลยจะ

ย้ายคิดไปคิดมาก็ว่าจะไปไหนดีอยากมีที่ท�างาน

ให้บรรยากาศมันดีขึ้น ให้มันเป็นกิจลักษณะขึ้น

เวลาใครมาหา ก็เลยได้ห้องข้างล่างหน้าตึกนี้

มา เมื่อก่อนเป็นร้านตรงนี้เป็นร้านดอกไม้ก็เลย

มาลงตรงนี้ เเล้วพอมาที่นี่เราก็ก็มีคนเห็นมีคน

ทักทายกันมากขึ้น

ตอนเริ่มท�ำ เริ่มกันยังไง

จริงๆมันเริ่มมาจากว่าตอนที่ว่าอยู่ที่โชว์

รูมฮอนด้าตอนนั้นมี2คน คือผมมีช่วงที่ผมไม่ได้

เป็นดีไซน์เนอร์ ก่อนที่ผมจะไปเรียนต่อผมท�าที่

g49 พอผมกลับมาก็ไปช่วยกิจการทางบ้านเเล้

วก็อยากท�าออฟฟิศตัวเองคือจริงๆอยากกลับไป

เป็นดีไซเนอร์เเหละ เเต่เเบบเราเรียนต่อกลับมา

เราเห็นพ่อเราเหนื่อยเค้าก็เเก่ลง เค้าก็ไม่อยาก

ให้เราไปเป็นลูกจ้างคนอื่นซึ่งจริงๆผมโคตร

อยากเป็นลูกจ้างเลยนะตอนนั้นผมก็คิดว่าผม

อยากท�างานที่ไหน ก็มีเพื่อนที่ไปเรียนอังกฤษ

Page 61: graphic is

เเล้วกลับมาด้วยกันเลยคิดลองท�าดู หาเด็ก

มาสักพักนึงชีวิตเพื่อนคนนั้นก็ถึงจังหวะที่ต้อง

มีภาระ ก็เลยเลิกไปพักนึงคือเลิกเเบบ นอน

ร้องไห้เลยนะว่าเเบบ เฮ้ย!!! เราไม่ได้เป็นดีไซ

เนอร์เเล้ว ก็ไปช่วยกิจการทางบ้านพักนึงจน

มันเจอภาวะที่เราไม่ได้พอใจว่าเราก�าลังโตขึ้น

มาเป็นบุลคลเเบบไหนหรือว่าเราไปท�างานใน

สถานที่ที่เราไม่ชอบเจอคนเเบบที่คุยกันไม่ค่อย

รู้เรื่องละก็ได้เงินเยอะเเต่ไม่มีความสุขก็เลยคิด

ว่าจะเริ่ม

ที่นี้พอจะเริ่มจุดที่ท�าให้อยากจะกลับมา

เพราะว่าตอนนั้นพอไม่ได้มีอาชีพที่เป็นดีไซน์

เนอร์เเล้วมันเซงๆ มีคนมาสอบ มกรุงเทพก็

มา พอมาก็สนุกรู้สึกมันดีที่ว่าเราไม่ได้ท�าเเต่

ว่าเราเอาความรู้ประสบการณ์มาเเชร์กับเด็กๆ

นะเเล้วเราไม่ได้ให้เค้าอย่างเดียวเราก็เป็นการ

เชคตัวเองว่าเราต้องกลับไปศึกษานู้นนี่นั่น มัน

ก็เกิดความรู้สึกว่าถ้าเราเป็นอาจารย์พิเศษ ค�า

ว่าพิเศษผมไม่อยากให้แปลค�าว่าพิเศษว่า part

time อยากให้แปลว่าคุณมีอะไรที่เชื่อมตัว

ห้องเรียนกับโลกเเห่งความจริงได้มาก เพราะ

ตอนจะกลับไปสอนมีความคิดว่าอะไรที่เราชอบ

ไม่ชอบเเล้วเรามีความอยากจะท�าในเเบบที่เรา

เชื่อ เรารู้สึกว่าท�าไมตอนเราเรียนกับตอนเรา

เรียนจบไปมันต่างกันเยอะเราก็เลยอยากเป็น

อาจารย์พิเศษเเบบที่ว่าไป ทีนี้ตอนนั้นก็เริ่ม

โดยการเอานักศึกษาที่เคยสอนสามสี่คน คุย

กับอาจารย์ที่จุฬาที่คณะศิลปะกรรมที่เรียน

มา บอกมีน้องมาช่วยท�างานมั้ยก็เลยลองเริ่ม

รับงานมีผมคนเดียวกับนักศึกษาสองสามคน

ช่วยกันตอนปิดเทอมกะว่าถ้าจบโปรเจคนี้เรา

จะ มีเงินก้อนนึงที่พอจะท�าออฟฟิศต่อได้

เเล้วทุกอย่างมันก็ไม่เป้นอย่างที่คิดก็เลยกลาย

เป็น part time เเล้วมันควบคุมกันได้ไม่มี

ประสิทธิภาพก็เลยคิดว่าอย่างนี้ต้องมีคนประจ�า

ละ ก็เลยเอาลูกศิษย์มาคนนึงคือเนต ที่ตอนนี้

ไปท�า ซุปเปอรฺสโตร์ฟ้อน มาเป็นพนักงานประ

จ�าคนเเรกถ้ายุคที่ท�ากันจริงๆครั้งเเรกก็ 2 คน

คือผมกับเนตเเล้วเราก็ลองวิ่งชนโปรเจคที่คิดว่า

คนสองคนไม่น่าจะท�าได้ผมเชื่อว่าเราท�างานที่

ดีได้ท่า มีโอกาศ พอได้โปรเจคที่มันเกินก�าลัง

สองคนมาเราก็เลยหาเด็กจบใหม่ทางที่ต่างๆ

เดินดูงานทีสิส คุยถามเพื่อนที่เป็นอาจารย์

บางทีก็จ้างเป็นโปรเจค คุณมาท�างานนี้สาม

เดือนเเละก็เเยกกัน ละพอสักพักนึงก็ค่อยๆเพิ่ม

พนักงานประจ�ามาจนตอนนี้ก็มีเเค่สี่คนรวม

ผมด้วย

สไตล์งำนของที่นี้เป็นยังไงบ้ำง

ผมคิดว่าสไตล์ผมมันไม่ใช่เรื่องลุคซะทีเดียว

เพราะเรารู้สึกว่าเราไม่ได้เเบบเอนจอยกับการ

ท�างานตามลุค เเต่ว่าพยายามท�าโจทย์เเล้ว

ทีนี้ถ้าโจทย์มันก็จะชี้น�าไปที่ลุคทีหลังชี้น�าไปที่

สไตล์ที่มันฟิคกับโจทย์ พอเรารู้ว่าเราถนัดโจทย์

เเบบไหนเเล้วลุคที่ตามมา มันก็จะไม่ค่อยหนี

อะไรไป ผมไม่ได้คิดว่าสไตล์ในเเง่รูปลักษณ์มัน

ส�าคัญขนาดนั้นเเต่ถ้าถามถึงสิ่งที่ตัวเองชอบผม

ชอบงานเรียบร้อยๆ เพราะรู้ว่าตัวเองเป็นเด็ก

เรียบร้อยไม่ได้เปรี้ยว คิดทุกอย่างมาให้หมดจด

ท�าให้มีรายละเอียดไม่เยอะเเต่ว่ามันลงตัว

ชอบงานเเบบนั้นมากกว่าไม่ค่อยอยากท�าอะไร

เฟี้ยวๆเเบบอัดเยอะๆตามสมัยนิยมเพราะรู้ว่า

ตามสมัยนิยมสักพักนึงเราก็เเก่อยู่ดี

ผมไม่ค่อยคิดเรื่องตามใจลูกค้าผมคิดเรื่อง

ประโยชน์มากกว่า อย่างสมมติว่าเราท�า

นิทรรศการอันนึงตอนนี้ก�าลังเวิค คือการชวน

คนมาปั่นจักรยานผมไม่ได้คิดว่าผมจะท�าให้

สสส เค้าชอบนะเเต่คิดว่าท�ายังไงให้คนที่เห็น

เนี่ยอยากจะปั่นจักรยานจริงๆ เเล้วหลังจากนั้น

สสส อยากให้คนรู้ว่ามีตึกนี้อยู่ตรงนี้นิทรรศการ

นี้อยู่ที่นี่เป็นเรื่องรอง จริงๆผมอยากตามใจ

คนใช้งานมากกว่าตามใจลูกค้า

เเล้วเคยเถียงกับลูกค้ำมั้ย

มันขึ้นอยู่กับเราเจอลูกค้าเเบบไหนท่าเราเจอ

ลูกค้าคนที่เค้าคิดว่า มองเราว่าเป็นคนรับจ้าง

ท�าของเค้าก็จะรู้สึกว่าเค้ามีอ�านาจที่จะสั่งเรา

เเต่ท่าเราค่อยๆคุยกันกลายเป็นพวกเดียวกัน

ค�าว่าพวกเดียวกันในที่นี้คือเรามองประโยชน์

ของผู้ใช้งาน อย่างตอนนี้ผมท�าเเพคเกจของ

เตารีดอยู่อันนึงผมก็ไม่ได้คิดว่าจะตามใจลูกค้า

ทั้งหมด เราก็มาเดาใจกันว่าลูกค้าที่ค้ามาจะ

ซื้อเตารีดอันนี้ต้องรู้สึกยังไงบ้าง ปัญหาคือคน

ที่รู้จักผลิตภันดีที่สุดก็คือลูกค้า คนที่มีทักษะ

สื่อสารดีที่สุดก้คือเราทั้งสองคนนี้พยายาม

ท�างานด้วยกันดังนั้นควรจะเกิดความรู้สึกว่า

สองคนนี้เป้นฝั่งเดียวกัน ไม่ใช่ว่าฉันสั่งเธอ

เพราะฉันรู้ว่าคนนี้คิดยังไงถ้าเป้นอย่างนั้นเนี่

ยมันท�างานด้วยกันมันไม่มีความสุขหรอกเเต่

มันไม่ใช่ว่าลูกค้าทุกคนเข้ามาเจอกันเเล้วจะ

รู้สึกว่าเป็นpartnerกันต้องยอมรับว่าในสังคม

ไทยมีปัญหาเรื่องทัศนคติที่ไม่ค่อยดี ท�าให้คน

มองอาชีพนี้เป็นบริการรับจ้างท�าของที่มีนายทุน

มา ถ้าเราเคารพกันเค้าเคารพทักษะของเรา

ว่าเราเป้นผู้เชี่ยวชาญในสิ่งที่เราท�า เราเคารพ

เค้าว่าเค้าต้องรู้เรื่องตลาดดีกว่าเราเเล้วเรา

ประนีประนอมกัน เค้ามีส่วนที่เค้ารูเดีกว่าเรา

เรามีส่วนที่รู้ดีกว่าเค้าเเต่เราต้องมาช่วยกัน ดัง

นั้นบางครั้งถ้าเจอลูกค้าที่เค้าอาจจะยังไม่เข้า

ใจรูปเเบบนี้เเต่เราเเสดงให้เค้าเห็นได้ ว่าเห็น

มั้ยว่าผมท�างานมีเหตุผลเเบบนี้ มันเป้นรูปเเบ

บการร่วมมือที่ผมคิดว่ามันเป็นเเบบที่ควรจะ

เป็น

life style ของคนท�ำงำนที่นี่เป็นยังไง

พยามยามท�างานให้ได้ สิบโมงถึงทุ่ม นอกจาก

มีอะไรที่อยู่ดึกเเล้วผมไม่ชอบอยู่ดึกเพราะผม

รู้สึกว่าชีวิตเรามันต้องการเวลาส่วนตัว จริงๆ

มันไม่ได้แปลว่าคนที่มาสายเเล้วอยู่ดึกจะ

ท�างานได้มากกว่าคนที่มาเช้าเเล้วกลับเร็วเสมอ

ไป ผมคิดว่าถ้าเรากลับดึกมากๆสม�่าเสมอเเล้

วสุดท้ายเราไม่มีเวลาส่วนตัวให้ตัวเองชีวิตเรา

จะเซ็งง่าย คือ พอดีผมค่อนค่างอยากใช้เวลา

กับครอบครัวตอนเช้ากลับบ้านก็ไม่อยากให้ดึก

เกินไปอยากนั่งคุยกับเเม่กับพ่อบ้าง ถ้านอก

เหนือจากเรื่องเวลาท�างานก็คือก็พยายามอยาก

ได้คนที่ชอบอะไรเหมือนๆกันตอนนี้มีสามสี่คน

Page 62: graphic is

ปั่นจักรยาน อยู่กันเหมือนเป็นพี่น้องกันมากกว่า

ผมขี้เกียดจะมาดุอะไรมาก ค่อยๆสอนกันไปเเต่

จริงๆก็รู้ว่าถ้าเข้มงวดกว่านี้ก็อาจจะดีเเต่ผมรู้ว่า

เห็นหน้ากันทุกวันในพื้นที่เเคบๆวันละหลายๆ

ชั่วโมงมันควรจะหาคนที่วิถีชีวิตคล้ายๆกันไม่ใช่

คนนึงรักปาร์ตี้จัด คนนึงรักธรรมชาติจัด เรื่อง

มุขตลกอะไรต้องไปด้วยกันได้ อะไรที่บริษัทนี้

เเตกต่างจากที่อื่น

อะไรที่บริษัทนี้เเตกต่ำงจำกที่อื่น

ผมว่าอันนี้มันยากคือจริงๆตอนนี้ผมก�าลังอยู่ใน

ช่วงทบทวนจุดยืนตัวเองอยู่หลังจากที่ออฟฟิศนี้

มาประมาณ4ปี ผมคิดว่าผมไม่ใช่คนเก่งเฉพาะ

ทาง อย่างสมติคุณไปหาคัดสรรดีมาก สุดยอด

เรื่องไทโป อาจารย์โรจน์คือเจ้าเเห่งความเป็น

ลูกทุ่ง ฟาร์มกรุปผมว่าเค้าเป็นเป็ดเเต่เป็นเป็ดที่

เเข็งเเรง ปาร์ตี้ เฮฮาก็ได้ จุดเเข็งจริงๆคงเป็น

เรื่องความที่ถนัดcontent เเละเจตนาดีที่อยาก

จะช่วยเหลือสังคม ตอนนี้ผมพยายามที่จะรับ

งานที่ขายของจัดๆให้น้อย พวกขายของจัดๆ

ผมจะไม่โชว์ให้ใครเห็นว่าผมท�าเพราะเรารู้สึกว่า

ถ้าเราโชว์อะไรไปคนก็จะมาเเบบนั้นเเล้วเราก็จะ

กลายเป็นเเบบนั้น ดังนั้นก็เลยคิดว่าให้มันเป็น

งานที่ดูตั้งใจท�ามีรายละเอียดเล็กๆน้อยๆเเล้ว

มีความน่ารักช่วยเหลือกัน อย่างตอนนี้มีท�ากับ

สสส ออฟฟิศนี้อยากท�าเรื่องดีๆให้สังคม ตอน

นที่ผมตั้งออฟฟิศสิ่งนึงที่ผมสงสัยคือท�าไมพวก

งานที่ท�าให้สังมของประเทศไทยมันไม่ค่อยมี

กราฟฟิคดีๆอย่างผมไปเรียนที่เมืองนอกผมเห็น

ว่าถ้าคุณอ่านหนังสือออก คุณขึ้นรถไฟ รถเมล์

ไม่หลง โดยที่ดูแแผนที่ มันออกกเเบบดีมาก

เลยกราฟฟิคมันช่วยให้เข้าใจได้ง่าย เวลาไปโรง

ละคร เเกลอรี่ต่างๆ กราฟฟิคสวย เราก็กลับมา

นึกถึงประเทศไทยไม่ค่อยมีอะไรเเบบนี้ อย่าง

ผมไปท�าหนังสือให้ยูเนสโกก็เป้นเรื่องเกี่ยวกับ

อนุรักษ์ ได้ท�าสื่อประกอบละครของภัทราวดี เรา

รู้สึกว่าเราอยากท�างานห้คนที่เจตนาดี เรารู้สึกว่า

กราฟฟิคน่าจะท�าหน้าที่ได้มากกว่านี้ ผมอยาก

เอาความสามารถของผมมาท�าให้คนอื่นมากว่า

มาช่วยขายของ ช่วยขายของก็เป็นประโยชน์เเต่

ว่าทุกวันนี้มันมีคนท�ากราฟฟิคขายๆเยอะเเล้ว

ไง ที่ปัญหาก็คือหน่วยงานตรงนี้เค้าก็ไม่ค่อยมีตัง

เเล้วเค้าก็อาจจะไม่เคยเจอดีไซน์เนอร์ทีท�างานใน

คุณภาพดีราคาที่มันสูงขึ้นมาจากที่เค้าเคยจ้าง

มันก็จะเป็นปัญหา

อย่างเช่นสวดมนต์ข้ามปี งดเหล้าเข้าพรรษา เรา

มีความกล้าที่จะทดลองความเสี่ยง อาชีพนักออก

เเบบเป็นอาชีพที่คนจ้างต้องเดิมพันกับเรา ความ

รู้ของเค้าบวกกับสกิลของเราเเล้วสิ่งที่เสนออกไป

มันถูกไม่ถูก กราฟฟิคไทยมันเริ่มจากเรื่องการ

ศึกษาระบบการศึกษาในประเทศเราเนี่ย เรามัก

จะถูกปลูกฝังว่าเป็นหมอเป็นวิศวะอะไรที่เป็น

เจ้าคนนายคนคือคนเรียนเก่ง คนเรียนไม่เก่งจึง

เรียนศิลปะ เเล้วพอโตขึ้นมามันก็จะเกิดการไม่

เารพในวิชาชีพซึ่งกันเเละกัน คนนึงก็เลยกดอีก

คนนึง คนนี้ก็ต้องยอม ยอมเพราะไม่งั้นเดี๋ยว

ไม่มีงานท�า คนที่เข้าใจจนเกิดความร่วมมือมัน

ถึงจะท�าให้มีงานดีๆออกมาได้ ถ้ามีงานดีๆเยอะ

พอมันถึงจะขับเคลื่อนร่วมกันไป ดังนั้นผมว่ามัน

เป็นเรื่องของสังคมมันไม่ใช่ว่าเราไม่มีดีไซน์เนอ

ร์ที่เก่งเเต่ว่าท�าไมเราไม่เจอลูกค้าที่กล้าเเละบ้าที่

จะเสี่ยงกับดีไซน์เนอร์ที่เก่งๆ สร้างอะไรดีๆออก

มามันก็เพราะเรื่องอย่างเนี่ย โดนปลูกฝังแปลกๆ

มาตั้งเเต่ไหนเเต่ไร คือผมคิดว่าอาชีพนี้มันไม่

ได้ส�าคัญขนาดนั้นถ้าพูดกันตรงๆคือ หมอส�าคัญ

กว่าเพราะอยู่ระหว่างความเป็นความตาย อย่าง

สมมติวิศวะกรค�านวนผิดเนี่ยคือคนอะตายจริง

ความส�าคัญมันมีทั้งเรื่องพระเดชเเละพระคุณ

อย่างคุณเป็นวิศวกรคนที่สร้างตึกเนี่ยคุณอาจจะ

มีพระเดช อย่างสังคมเราทุกวันนี้มีเงินก็ซื้อของ

เเพงแปลว่าดูดี การปลูกฝังอะไรทั้งหลายมันไม่

ส่งเสริมให้คนมาคิดว่าท�าอะไรให้คนอื่น อย่าง

เรื่องว่าบ้านเมืองเราท�าไมป้ายอะไรมันเยอะ

เเยะเนี่ยผมไม่ได้มองว่าปัญหามันคือรสนิยมที่

คนออกเเบบมาไม่ดีนะ คิดว่ารากที่ลึกกว่านั้นคือ

ความเห็นเเก่ตัว ตรงที่อย่างที่ไปห้างร้านต่างๆ

ต้องตะโกนเเข่งกัน คิดเเต่เอาตัวเองว่าต้องเด่น

กว่าคนอื่นโดยที่ไม่คิดว่าท�าให้มันรื่นรมย์กว่านี้

อย่างสมมติป้ายหาเสียงเนี่ยผมรู้สึกว่ามันก็คือ

Page 63: graphic is

ความเห็นเเก่ตัวว่าเออเราอยากให้คนเห็นหน้าเรา

มากกว่าเเล้วเลือกเรามากกว่าคนอื่น เเล้วก็ไม่

เเคร์ว่าคนเดินถนนจะเสียพื้นที่โดนบัง ป้ายมัน

ล้ม อาจจะโดนคนบาดเจ็บได้นะ

กำรคิดกำรท�ำงำนของที่นี่เป้นยังไง

จริงๆมันก็ไม่ได้มีอะไรมากถ้ามีโจทย์มา

ก็จะให้เเยกย้ายกันไปคิดมาว่านึกถึงอะไรต่างๆ พอถึงเวลาที่ก�าหนดก้เอามารวมกันมาโยนใส่กันเขียนบนกระดาน หรือฉายออกจอ ดูอะไรต่างๆเยอะๆให้เห็นความเป้นไปได้ทั้งหมดเชื่อมโยงจากสิ่งนึงไปอีกสิ่งนึงไปเรื่อยๆจนพอได้เป้นคอนเซปปุ๊บเราก็จะค่อยมาเป็นดีไซน์เเล้วเราก็จะมาดูกัน ปกติชอบท�าสามทางเลือกเยอะกว่านี้ก็เหนื่อยน้อยกว่านี้ก็ดูบังคับไป สามเเบบนี้เเต่ละเเบบให้ผลยังไงมั่ง สิ่งที่มนัจะพูด

เป้นประเด็นอะไร พอไปเสนอก็มาพัตนาต่อ ส่วน

ใหญ่directionจะพยายามให้เป็นคนละคนท�า

การคิดจะมาจากการตกลงร่วมกัน เราก็ดูว่าคน

นี้ถนัดอันนี้ เเชร์กัน ผมเป็นคนดูภาพรวมเเละ

สุดท้ายก็จะปล่อยให้คนนี้เเสดงฝีมือ ก็จะคอยทัก

ท้วง ตั้งค�าถามถ้าเค้าเสกต ก็จะถามว่าท�าไมไม่

เเบบนี้ เปลี่ยนเป้นอันนี้มั้ย เราก็จะเสกตมือให้

เเล้วลองท�าเอามาดู ผมก็จะเเบบโดดไปโดดมาดู

ภาพรวม ผมอยากให้น้องๆเค้าได้ปล่อยของ เค้า

ได้เอนจอยกับงานที่เค้ารู้สึกได้ว่าเป็นของเค้าเเต่

ว่ามันอยู่ในเเนวทางที่เรายอมรับได้เเบบนี้โอเค

นิยำมค�ำว่ำกรำฟฟิคของคุณคืออะไร

ถ้าเอาตามต�าราที่ผมยึดถือมาตลอดมันคือออก

เเบบสิ่งที่คนอ่านเเต่ค�าว่าอ่านในที่นี้คือไม่ได้

แแปลว่าเป็นตัวหนังสือเเล้วอ่าน การอ่านของ

ผมหมายถึงการตีความสิ่งที่คุณมองเห้น อาจจะ

เป็นตัวหนังสือ เป็นสี เป็นภาพ อย่างคุณเห็น

โปสเตอร์คุณก็จะอ่านว่าท่าทางเเบบนี้เค้าต้องเป้

นคนยังไง เส้นเฉียงเเบบนี้แปลว่ายังไง มันคือ

ท�าอะไรก็ตามที่คนมองเห็นเเล้วตีความ เนี่ยคือ

กราฟฟิคดีไซน์

คิดว่ำกรำฟฟิคในประเทศไทยตอนนี้เป็น

ไง

ก�าลังสนุกผมเรียนจบมา13ปี ถ้าเป้นตอนช่วง

ที่ผมเรียนจบใหม่ๆมันไม่ตื่นเต้นเท่านี้เลย ใน

ช่วง13ปีที่ผ่านมาผมเห็นว่ามันมีความตื่นตัวมาก

ขึ้นทุกอย่าง สถานที่เรียนมากขึ้นคนที่มีความ

ช�านาญเฉพาะทางมีเยอะขึ้น เรื่องหลายๆเรื่อง

ที่เคยเป็นจุดอ่อนของภาพรวมดีไซเนอร์ไทยมัน

เริ่มมีคนเอาจริงทางด้านนี้ คุณย้อนไปสิบปีคน

ไทยไม่เก่งไทยโปเลยนะ ตอนนี้เอาจริงเอาจัง

กันเยอะ คนผลิตฟ้อนกันหลายรายมีหลายทาง

เลือก ลูกค้าก็กล้าหาญมากขึ้นเเละดีไซเนอร์เป็น

ตัวเป็นคนกันเยอะขึ้น เมื่อมันอาจจะเหมือนกับ

อยู่ในเอเจนซี่ซะเยอะตอนนี้มาเปิดออฟฟิศเล็กๆ

ที่สร้างงานน่าตื่นเต้นออกมาเรื่อยๆ ผมว่ามันยัง

ไม่ดีพอในเเง่ที่ว่าสุดท้ายเเล้วมันยังไม่ใช่อาชีฟ

ที่เลี้ยงตัวจนเเก่ได้ซึ่งผมเริ่มมารู้สึกช่วง สองปี

หลังผมรู้สึกว่า ท�าไมขีดจ�ากัดของเราคางานมัน

ได้เท่านี้ ขนาดไปคุยกับเจ้านายเก่าเราว่าถ้าเป็น

โปรเจคนี้พี่คิดเท่าไหร่ ขนาดเค้ายังได้เท่านี้เอง

หรอ มันน่าเสียดายที่นี้พอถ้าเกิดว่ามันยังเป็น

อย่างนี้ต่อไป สังเกตุดิว่าเราไม่มีดัไซน์เนอร์เเก่ๆ

ท�าไมเราไม่มีคนที่สามารถท�าจนเเก่เเล้วเจ๋งได้

อย่าง วิน คาเวลเนี่ย เเต่ต้องเข้าใจนะเพราะ

ศาสตร์นั้นในประเทศเมืองนอกเค้าเก้ามานาน

กว่าเรา ของเราพอถึงจุดนึงภาระในชีวิตมากก็

ต้องรีบไปท�าอย่างอื่นซึ่งมันน่าเสียดาย ตอนนี้

มันน่าตื่นเต้นตรงที่ว่า อย่าง ผม รักกิต ชาย พี่

หมูดักสโต อาจารย์ติ๊กอะไรพวกนี้คือคนกลุ่ม

อายุ สามสิบ กลาง ถึง สี่สิบ ซึ่งยังเคลื่อนไหว

ได้อยู่อยากให้กลุ่มเนี่ยอยู่ไปนานๆ สร้างงานที่

ดีออกมา

Page 64: graphic is
Page 65: graphic is
Page 66: graphic is
Page 67: graphic is
Page 68: graphic is
Page 69: graphic is

ในฐำนะกรำฟิกดีไซเนอร์ผู้บุกเบิกชุมชน

ออนไลน์ส�ำหรับนักออกแบบ เขำมองว่ำ

“เทคโนโลยี” ไม่ได้จ�ำกัดอยู่เฉพำะเรื่องของ

คอมพิวเตอร์เท่ำนั้น เพรำะหำกมองย้อนไปใน

อดีตจะพบว่ำเทคโนโลยีก็คือสิ่งที่มำช่วยขยำย

ขอบเขตกำรสร้ำงสรรค์งำนออกแบบมำตั้งแต่

ยุคปฏิวัติอุตสำหกรรม เช่น วิธีกำรผลิตแบบ

ใหม่ กำรใช้วัสดุแบบใหม่ ฯลฯ เขำเชื่อว่ำหำก

ไม่มีคอมพิวเตอร์ นักออกแบบก็ยังสำมำรถ

ท�ำงำนได้ เพรำะในอดีตสถำปัตยกรรมระดับ

โลกและงำนออกแบบที่เป็นต�ำนำนก็ยังเกิดขึ้น

ได้มำกมำย เพียงแต่ว่ำถ้ำอยู่ดี ๆ เกิดไม่มี

คอมพิวเตอร์โลกอำจหมุนช้ำลง อำจมีกำรผลิต

งำนน้อยลง และอำจเป็นงำนด้ำนหัตถกรรม

มำกขึ้น ซึ่งเขำก็มองว่ำบำงทีตอนนี้โลกเรำอำจ

จะต้องกำรกลับมำมองอะไรให้มันช้ำ ๆ ลึก

ๆ ลงหน่อยก็ได้

Page 70: graphic is