1. การขอยืมเงินทดรองราชการใน ... กอง...1....

Preview:

Citation preview

1. การขอยืมเงินทดรองราชการในการเดินทางไปปฏิบัติราชการ เช่น เดินทางไปราชการ หรือการฝึกอบรมและรายจ่ายอื่น ๆ หรือลักษณะท่ีเป็นรายการค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุฯ

2. สัญญายืมเงินให้จัดท าขึ้น 2 ฉบับ ให้ลงลามมือชื่อในสัญญายืมเงินทั้ง 2 ฉบับ พร้อมลงวันที่ขอยืมเงิน

3. การยืมเงินโดยใช้บัตรเครดิตราชการส าหรับเป็นค่าทีพ่ัก ค่าอาหาร และค่าโดยสารเครื่องบิน กรมบัญชีกลางบังคับให้ใช้บัตรเครดิตราชการ (การฝึกอบรม) ถ้าไม่ใช้ต้องช้ีแจงเหตุผล

4. การขอยืมเงินทดรองราชการต้องช าระคืนเงินยืมเก่าให้เสร็จสิ้นก่อน จึงจะขอยืมใหม่ได้

5. ให้ผู้ยืมส่งหลักฐานการจ่ายเงินและเงินเหลือจ่ายที่ยืมไป (ถ้าม)ี

ภายในก าหนดระยะเวลา ดังนี้

5.1 กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมทั้งการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ให้ส่งแก่ส่วนราชการผู้จ่ายเงินยืมภายใน 15 วัน นับจากวันกลับมาถึง

5.2 การยืมเงินเพื่อปฏิบัติราชการนอกเหนือจากการเดินทาง เช่น ฝึกอบรมในสถานท่ีราชการ และค่าลงทะเบียนอบรมฯ ให้ส่งใช้เงินยืม ภายใน 30 วัน นับจากวันท่ีรับเงิน

สามารถส่งหลักฐานและเงินคืนได้ก่อนก าหนด หากมีการส่งหลักฐานล่าช้าเกินก าหนด สบค. จะจัดท าหนังสือรายงานเสนอหัวหน้าส่วนราชการ และจะด าเนินการในขั้นต่อไปตามที่สัญญายืมเงินระบุไว้ (คือการหักเงินเดือน ชดใช้เงินยืมต่อไป)

1. เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ได้แก่

1. บันทึกที่ได้รับการอนุมัติให้จัดอบรม สัมมนา รายละเอียดโครงการ บันทึกขออนุมัติเดินทางไปจัดอบรม สัมมนาในต่างจังหวัด (กรณีจัดนอกสถานที)่

2. หนังสือเชิญวิทยากร (กรณีมีการเปลี่ยนแปลงวิทยากรให้แนบบันทึกอนุมัติการเปลี่ยนแปลงวิทยากรด้วย

3. บัญชีรายมือชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมในแต่ละวัน/ผู้สังเกตการณ์

กรณีอบรม สัมมนา ทั้งวันให้ลงชื่อเช้า – บ่าย

หลักฐานประกอบการเบิกจ่าย ได้แก่

1. ใบเสร็จรับเงินค่าอาหาร (เป็นอาหารมื้อไหน จ านวนกี่คน

อัตราค่าอาหารต่อคน)

2. ใบเสร็จรับเงินค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เป็นอาหารมื้อไหน

จ านวนกี่คน อัตราค่าอาหารต่อคน)

ใบเสร็จรับเงินอย่างน้อยต้องมีรายการ 5 รายการ ดังนี้

2.1 ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ท าการของผู้รับเงิน

2.2 วัน เดือน ปี ที่รับเงิน

2.3 แสดงรายละเอียดรายการว่าเป็นค่าอะไร

2.4 จ านวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร

2.5 ลายมือชื่อผู้รับเงิน

กรณีการจ่ายเงินรายใด ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินได้

ให้ผู้รับเงินลงลายมือชื่อผู้รับเงินใน ใบส าคัญรับเงิน เป็นหลักฐาน

การจ่าย พร้อมทั้ง แนบส าเนาบัตรประชาชนประกอบการเบิกจ่าย

กรณีที่จ่ายเงินไป โดยได้รับใบเสร็จรับเงินซึ่งมีรายการไม่ครบถ้วนหรือไม่

อาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินได้ ให้จัดท าใบรับรองแทน

ใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) ประกอบการเบิกจ่ายเงิน

4. หลักฐานค่าเช่าที่พัก ให้ใช้ใบเสร็จรับเงิน และใบแจ้งรายการ (FOLIO) ที่แสดงรายละเอียดการเข้าพักแรมประกอบการเบิกจ่าย

5. หลักฐานค่าพาหนะ อบรมและเดินทาง

5.1 กรณีใช้รถยนต์ส่วนราชการ ให้แนบใบขอใช้รถยนต์ราชการ

5.2 ใบเสร็จรับเงินค่าน้ ามันเชื้อเพลิง โดยระบุเลขทะเบียนของรถราชการที่ใช้

5.3 ค่าธรรมเนียมผ่านทางด่วน ให้จัดท าใบรบัรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) แจ้งรายละเอียดที่ขึ้นทางด่วนไปราชการ ไป–กลับ จากไหน ถึงที่ใด เป็นจ านวนเงินเท่าไร แนบใบใช้รถราชการประกอบการเบิกจ่าย

5.4 ค่าพาหนะรับจ้าง ข้ามเขตจังหวัดระหว่าง กทม. กับจังหวัดที่มี เขตติดต่อ กทม. เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน เที่ยวละ 600 บาท ส าหรับจังหวัด ที่มีเขตติดต่อจังหวัดอื่นๆ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเที่ยวละ 500 บาท

5.5 กรณีเดินทางโดยพาหนะส่วนตัวต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนการเดินทาง เบิกชดเชยค่าน้ ามันเชื้อเพลิง กม. ละ 4 บาท

5.6 กรณีเดินทางโดยเครื่องบิน ชั้นประหยัด อ านวยการระดับต้น ระดับช านาญการ และช านาญการพิเศษ ทั่วไประดับช านาญงาน และระดับอาวุโส (ระดับ 6-8)

5.7 ผู้ด ารงต าแหน่งระดับต่ ากว่าที่กล่าว เบิกได้เฉพาะกรณีที่มีความจ าเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ

หลักฐานการเบิกค่าโดยสารเครื่องบิน

ซื้อแบบมีบัตรโดยสารให้ใช้ใบเสร็จรับเงินและกากตั๋ว ซื้อแบบ Electronic Ticket (E-Ticket) ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดง

รายละเอียดการเดินทาง (Itinerary Receipt) ที่มีรายการดังนี้ 1. ชื่อสายการบิน 5. วันเวลาที่เดินทาง

2. ชื่อ – สกุล ผู้เดินทาง 6. ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ และจ านวนเงินรวม

3. ต้นทาง – ปลายทาง 7. หลักฐานการช าระเงิน

4. เลขที่เที่ยวบิน (กรณีช าระเงินที่เคาน์เตอร์เซอร์วสิ)

2. การเบิกค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ เช่น การประชุมที่เกี่ยวกับงานในหน้าท่ีปกติ ประชุมชี้แจง ประชุมประจ าเดือน ประชุมคณะกรรมการฯ ประชุมประจ าเดือนทีไ่ม่ใช่เป็นการประชุมทางวิชาการ หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ การอบรมสัมมนา ตามระเบียบการฝึกอบรมฯ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เอกสารประกอบการเบิกจ่าย มีดังนี้ 2.1 หนังสือขออนุมัติจัดประชุมราชการ (ให้ระบุรายละเอียดงบประมาณ ที่จะใช้ในการเบิกจ่าย ถ้าในโครงการระบุรายละเอียดงบประมาณ ให้ใช้โครงการประกอบการเบิกพร้อมหนังสือขออนุมัติจัดประชุมราชการแต่ถ้าไม่มีโครงการ ให้ระบุรายละเอียดงบประมาณในหนังสือขออนุมัติจัดประชุม)

2.2 รายชื่อและลายมือช่ือผู้เข้าร่วมประชุม

2.3 หนังสือรับรองการจัดประชุมและจ านวนผู้เข้าร่วมประชุม โดยเจ้าหน้าที่ผู้จัดประชุมเป็นผู้รับรองในหนังสือ (ถ้าม)ี

2.4 วาระการประชุม หรือตารางการประชุม

2.5 ใบเสร็จรับเงินค่าอาหาร และค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (หรือใบส าคัญรับเงินพร้อมส าเนาบัตรประจ าตัวประชาชน)

2.6 หนังสืออนุมัติเบิกจ่ายเงิน

2.7 หลักฐานการจ่ายเงินอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)

3. การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ เช่น จัดงานนิทรรศการ จัดการประกวดหรือแข่งขัน หรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ฯลฯ 3.1 โครงการจัดงานต่าง ๆ (ระบุงบประมาณและกิจกรรมให้ชัดเจนในโครงการ) 3.2 หนังสือขออนุมัติให้จัดงานตามโครงการฯ 3.3 รายช่ือและลายมือช่ือผู้มาร่วมงาน 3.4 หลักฐานการจัดซื้อจัดจ้าง (ถ้าม)ี กรณีจัดซื้อจัดจ้างต้องท าตามระเบียบพัสด ุ 3.5 หลักฐานอื่น ๆ เช่นใบเสร็จรับเงิน ใบส าคัญรับเงินค่าเงินรางวัล 3.6 อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม / สัมมนา และการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

แบบ 8500 ด้านหน้า

แบบ 8500 ด้านหลัง

ส่วนที่ 1 แบบ 8708 ด้านหน้า

ส่วนที่ 1 แบบ 8708 ด้านหลัง

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าเช่าบ้าน

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายคา่เช่าบ้าน (ต่อ)

การลงรายการในแบบขอเบิกค่าเช่าบ้าน (6006) (1) ให้ระบุช่ือผู้ขอเบิกค่าเช่าบ้าน และใส่ต าแหน่งให้ถูกต้องตรงตามปัจจุบัน (2) ให้ระบุเดือนที่เบิก เช่น ประจ าเดือนมิถุนายน 2557 ในกรณีเบิกหลายเดือน เช่น ประจ าเดือน พฤษภาคม-มิถุนายน 2557 เป็นต้น (3) ให้ระบุจ านวนใบเสร็จรับเงินที่ได้จ่ายไปจริง และใส่จ านวนเงินให้ตรงตามใบเสร็จด้วย (4) ให้ใส่ “เงินเดือนที่ได้รับในปัจจุบัน” (5) ให้ระบุเลขที่ที่ได้รับอนุมัติ และลงวันที่ที่ได้รับอนุมัติ (ตามแบบขอรับเงินคา่เช่าบ้าน 6005) (6) ใส่จ านวนเงินที่ได้ตามสิทธิ์ (ตามพ.ร.ฎ.ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ฉ.3 พ.ศ. 2552) (7) ให้ระบุจ านวนที่ขอเบิก (ต้องไม่เกินสิทธิ์ที่พึงได้รับใน (6) หรือที่ได้จ่ายไปจริงแล้วแต่อย่างใด จะต่ ากว่า) (8) ให้ระบุวันที่ เดือน พ.ศ. ในเดือนที่ขอเบิก เช่นเบิกประจ าเดือนมิถุนายน 2557 ให้ใส่ว่า “1 - 30 มิถุนายน 2557” หมายเหตุ : ให้ลงลายมือชื่อผู้ขอเบิก และลายมือชื่อผู้รับเงิน ก่อนส่งเบิกมายังส านักบริหารการคลัง

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล

ใช้ในกรณีที่เป็นผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาลและไม่ได้ท าการจ่าย

ตรงกับโรงพยาบาลที่เข้ารับ การรักษา

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล (ต่อ)

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล (ต่อด้านหลัง)

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ต่อด้านหลัง)

Recommended