คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ......

Preview:

Citation preview

คูมือการจัดสอบ NT ป.3 (สําหรับสถานศึกษา)ประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

เพ่ือการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๗

๑. เหตุผลและความสําคัญ

โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียนปการศึกษา ๒๕๕๗ เปนการประเมินภาพรวมของการจัดการศึกษาของประเทศไทยและเปนภาพสะทอนคุณภาพของเด็กไทย เพื่อพัฒนาการปรับปรุงการเรียนการสอนของครู ซึ่งถือเปนกระบวนการตรวจสอบการขับเคล่ือนนโยบายการศึกษาและการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาสรางความมั่นใจวาสถานศึกษา และหนวยงานตนสังกัดจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐานตามท่ีกําหนด นักเรียนมีความรูความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนด และยังเปนองคประกอบ/ตัวชี้วัดท่ีสําคัญตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งความสําคญัของการประกันคุณภาพจะเห็นไดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๔๗ กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับ และมาตรา ๔๘ ใหหนวยงานตนสังกัด และสถานศึกษา จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานท่ีเกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

หลักการสําคัญประการหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษาก็คือ การแสดงถึงภาระรับผิดชอบ (Accountability) ซึ่งตรวจสอบได ท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ไดรวมกันกําหนดคํารับรองในการปฏิบัติราชการของสวนราชการประจําปงบประมาณ โดยกําหนดเปาหมาย และจุดเนนที่ตองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมท้ังความสามารถในการคิดของผูเรียนใหสูงขึ้นโดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกําหนดเกณฑสําหรับการจบการศึกษาวา นอกจากผูเรียนไดเรียนรายวิชาพื้นฐาน รายวิชากิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสรางเวลาเรียน และผานเกณฑการประเมินตามท่ีสถานศึกษากําหนดแลว ผูเรียนตองมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห เขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการประเมินท่ีสถานศึกษากําหนด ประกอบกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดจัดทําประกาศเร่ือง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘เมษายน ๒๕๕๗ ลงนามโดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นายอภิชาติ จีระวุฒิ)โดยเฉพาะขอ ๗ ใหเพิ่มขอสอบแบบเขียนตอบท้ังการเขียนตอบแบบส้ันและแบบยาว ในการวัดและประเมินผลเมื่อจบหนวยการเรียนในการสอบระหวางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน

คูมือการจัดสอบฯ หนา 2

อยางนอยรอยละ ๓๐ ของการสอบแตละคร้ัง จากนโยบาย ยุทธศาสตร กลยุทธ และประกาศของสพฐ. ดังกลาว สํานักทดสอบทางการศึกษา ไดดําเนินการจัดทําแบบทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานสําคัญ ๓ ดาน คือ ดานภาษา (Literacy) ดานคํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล(Reasoning Abilities) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ซึ่งเปนความสามารถท่ีตกผลึก (Crystallization)จากการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปนความสามารถพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูของนักเรียนในระดับสูงขึ้นตอไป

การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในปการศึกษา ๒๕๕๗ นี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานดําเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ โดยวัดความสามารถพื้นฐานสําคัญ ๓ ดาน คือ ดานภาษา (Literacy)ดานคํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล (Reasoning Abilities) ซึ่งถือเปนความสามารถพื้นฐานเบ้ืองตนสําคัญท่ีใชในการเรียนรู ในระดับท่ีสูงขึ้นและยังสะทอนไปสูการยกระดับผลการประเมินระดับชาติ (O-NET) และนานาชาติ (PISA) ผลการประเมินท่ีไดจะเปนขอมูลสําคัญท่ีสะทอนคุณภาพการดําเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปนตองมีขอมูลผลการเรียนรู ไปเตรียมความพรอมของผูเรียน และเปนตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย กําหนดยุทธศาสตร แผนการศึกษาของชาติ ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ระดับสถานศึกษา มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเปนไทย ใหนักเรียนไดรับการพัฒนาศักยภาพสูงสุดในตนมีความรูและทักษะท่ีแข็งแกรงและเหมาะสม เปนพื้นฐานสําคัญในการเรียนรูระดับสูงขึ้นไปและการดํารงชีวิตในอนาคต โดยเฉพาะขอ ๒ เรงพัฒนาความแข็งแกรงทางการศึกษาใหผูเรียนทุกระดับ ทุกประเภท รวมถึงเด็กพิการ และดอยโอกาส ใหมีความรูและทักษะแหงโลกยุคใหมควบคูกันไป โดยเฉพาะทักษะการอาน เขียน และการคิด เพื่อใหมีความพรอมเขาสูการศึกษาระดับสูง และโลกของการทํางาน โดยไดกําหนดเปนยุทธศาสตร พัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกระดับทุกประเภท เพื่อใหนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามชวงวัยและมีคุณภาพเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพและมาตรฐานใกลเคียงกัน อีกท้ังเปนการสงเสริมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหมีความเขมแข็งเพื่อรองรับการประเมินภายนอกซึ่งไดกําหนดเปนกลยุทธในการดําเนินงาน เชน สงเสริมสนับสนุนการนําผลการทดสอบ O-NETประเมินผล PISA และเพื่อเปนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเพื่อเตรียมการใหผูเรียนมีความพรอมสําหรับรองรับการประเมินภายนอกของสถานศึกษา ท้ังการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุงประเมินใหทัดเทียมกับนานาชาติ เชน การประเมินระดับนานาชาติ(PISA, TIMSS, …) ท่ีมีรูปแบบการประเมินท่ีหลากหลาย มุงเนนคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพื้นฐานท่ีสําคัญจําเปน ผลการประเมินของโรงเรียนและเขตพื้นท่ีการศึกษา จะเปนตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม และใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย วางแผน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ี

คูมือการจัดสอบฯ หนา 3

การศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนผลการประเมินนักเรียนทุกคนจะเปนขอมูลสําคัญในการปรับปรุงเพื่อการพัฒนา๒. วัตถุประสงค

เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานท่ีสําคัญจําเปนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ในดานภาษา (Literacy) ดานคํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล (Reasoning Abilities)๓. กลุมเปาหมาย

นักเรียนท่ีศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ปการศึกษา ๒๕๕๗ ทุกคนทุกโรงเรียน ซึ่งอยูในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และตํารวจตระเวนชายแดน๔. เคร่ืองมือที่ใชในการประเมิน

เคร่ืองมือท่ีใชในการประเมิน ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ แสดงรายละเอียด ดังตาราง

แบบทดสอบความสามารถ จํานวนขอ คะแนนเต็ม เวลา (นาที)ดานภาษา (Literacy) ๓๐ ๓๕ ๖๐ดานคํานวณ (Numeracy) ๓๐ ๓๕ ๙๐ดานเหตุผล (Reasoning Abilities) ๓๐ ๓๕ ๖๐

โครงสรางขอสอบ๑. ความสามารถดานภาษาช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมิน ดังนี้

ตัวช้ีวัด เลือกตอบ เขียนตอบ๑. บอกความหมายของคําและประโยคจากเร่ืองท่ี ฟง ดู และอาน ๔๒. บอกความหมายของเคร่ืองหมายสัญลักษณ ๓๓. ตอบคําถามจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน ๔ ๒๔. บอก เลาเร่ืองราวท่ีไดจากการฟง ดู และอานอยางงายๆ ๕๕. คาดคะเนเหตุการณท่ีจะเกิดขึ้นจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน ๖๖. ส่ือสารความรู ความเขาใจขอคิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน

อยางเหมาะสม๕ ๑

รวมท้ังหมด ๒๗ ๓

คูมือการจัดสอบฯ หนา 4

๒. ความสามารถดานคํานวณช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมิน ดังนี้

ตัวช้ีวัด เลือกตอบ เติมคําตอบ แสดงวิธีทํา๑. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะ

การคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง จํานวนและการดําเนินการตามขอบขายส่ิงเรา

๙ ๑

๒. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง การวัด ตามขอบขายส่ิงเรา

๗ ๑

๓. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง เรขาคณิต ตามขอบขายส่ิงเรา

๔. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง พีชคณิต ตามขอบขายส่ิงเรา

๕. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนตามขอบขายส่ิงเรา

๓ ๑

รวมท้ังหมด ๒๗ ๒ ๑

คูมือการจัดสอบฯ หนา 5

๓. ความสามารถดานเหตุผลช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมิน ดังนี้

ตัวช้ีวัด เลือกตอบ เขียนตอบ๑. มีความเขาใจในขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศทางดาน

วิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตร และดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

๓ ๑

๒. วิเคราะหขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศ โดยใชองคความรูดานวิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตรและดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

๗ ๑

๓. สามารถสรางขอสรุปใหม ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของขอมูลสถานการณ หรือสารสนเทศท่ีผานการวิเคราะห โดยใชองคความรูดานวิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตรและดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

๔. สามารถตัดสินใจและแกปญหาอยางมีหลักการและเหตุผล หรือใหขอสนับสนุนขอโตแยงท่ีสมเหตุสมผล โดยคํานึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม คานิยม ความเชื่อ ในกรณีท่ีมีสถานการณท่ีตองการตัดสินใจหรือมีปญหา

๙ ๑

รวมท้ังหมด ๒๗ ๓

ตารางสอบการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ปการศึกษา

๒๕๕๗ กําหนดสอบวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ รายละเอียดกําหนดสอบ ตามตารางสอบ ดังนี้

เวลาวันสอบ ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ น.

พัก๑๐.๐๐-๑๑.๓๐ น.

พัก๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น.

๒๖ ก.พ. ๒๕๕๘ ความสามารถดานภาษา

ความสามารถดานคํานวณ

ความสามารถดานเหตุผล

คูมือการจัดสอบฯ หนา 6

การตรวจกระดาษคําตอบเขียนตอบในปการศึกษา ๒๕๕๗ แบบทดสอบความสามารถดานภาษา คํานวณ และเหตุผล

จะมีขอสอบแบบเลือกตอบ และเขียนตอบ โดยขอสอบเลือกตอบจะอยูท่ีขอ ๑ – ๒๗ ทุกฉบับสําหรับขอท่ี ๒๘ – ๓๐ ทุกฉบับจะเปนขอสอบแบบเขียนตอบ

การทําขอสอบ ขอ ๑ – ๒๗ ใหนักเรียนทําลงบนกระดาษคําตอบ สําหรับขอสอบขอ ๒๘ – ๓๐ ใหนักเรียนทําลงในแบบทดสอบโดยกรรมการกํากับการสอบดูแลใหนักเรียนเขียนช่ือ นามสกุล โรงเรียน หองที่ เลขที่ ลงในแบบทดสอบตอนที่ ๒ ใหครบกอนลงมือทํา และใหนักเรียนทําขอสอบแบบเขียนตอบ เมื่อนักเรียนทําแตในละวิชาเสร็จแลวใหกรรมการกํากับการสอบฉีกขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) ตามรอยปรุ เก็บกระดาษคําตอบพรอมกับขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) เรียงตามลําดับตามเลขท่ีนักเรียนและบรรจุสงกรรมกลาง เพื่อสงตอกรรมการชุดตรวจใหคะแนนตอไป

ในการดําเนินการตรวจขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) เขตพื้นท่ีการศึกษาควรแตงตั้งคณะกรรมการตรวจใหคะแนนท่ีมีความเชื่อถือได ซึ่งอาจเปนคณะกรรมการอีกคณะหนึ่ง หรือใหคณะกรรมการกํากับการสอบเปนกรรมการตรวจใหคะแนนเขียนตอบดวย ท้ังนี้ใหอยูในดุลยพินิจของเขตพื้นท่ีการศึกษาและเพื่อความสะดวกในการดําเนินใหแลวเสร็จภายในวันท่ี๒๖ - ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๘

หลังจากกรรมการตรวจขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) เสร็จเรียบรอยแลวใหกรรมการระบายคะแนนท่ีไดจากการตรวจลงในกระดาษคําตอบนักเรียนในสวนของกรรมการตรวจใหคะแนนดานลาง ดังภาพ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 7

๑. สํารวจจํานวนนักเรียนชั้น ป.๓ ทุกคน และนักเรียนท่ีมีปญหาดานการมองเห็นคือ ตาบอดเฉพาะท่ีอานอักษรเบรลลได และสายตาเลือนราง สงขอมูลจํานวนนักเรียนดังกลาวใหเขตพื้นท่ีการศึกษา

๒. กรอกขอมูลโรงเรียน และขอมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาป ท่ี ๓ ทุกคนทา ง เ ว็ บ ไ ซ ต http://juno.tks.co.th/OBECWebRegis/ เ พื่ อ นํ า ข อ มู ล นั ก เ รี ยน พิ มพ ล งกระดาษคําตอบ

๓. วางแผนเตรียมความพรอมในการประเมิน ในดานบุคลากรท่ีจะรวมเปนคณะกรรมการตางๆ ของเขตพื้นท่ีการศึกษา และการเตรียมความพรอมนักเรียน ฯลฯ

๔. สงรายชื่อครู และบุคลากรภายในโรงเรียนใหเขตแตงตั้งเปนคณะกรรมการตางๆเชน

๑) คณะกรรมการกลางสนามสอบ ประกอบดวย ผูอํานวยการโรงเรียนเปนประธานสนามสอบ ครู/อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เปนกรรมการกลาง

๒) คณะกรรมการรับ – สงขอสอบ กระดาษคําตอบ ระหวางศูนยประสานการสอบกับโรงเรียน

๓) คณะกรรมการกํากับการสอบ๔) คณะกรรมการตรวจใหคะแนนขอสอบเขียนตอบ๕) คณะกรรมการอื่นๆ ตามความจําเปน

๕. เขารวมประชุมกับเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อรับทราบนโยบายการประเมินรูปแบบ แนวทางการดําเนินการประเมิน

๖. รับคูมือการจัดสอบ เพื่อเตรียมความพรอมของครู และบุคลากรภายในโรงเรียนในการดําเนินสอบ

๗. รับบัญชีรายชื่อนักเรียนในการจัดหองสอบแตละหองจากเขตพื้นท่ีการศึกษาจัดเตรียมหองสอบชวงเย็นวันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ โดยจัดท่ีนั่งสอบ ๓๕ คน/๑ หองสอบบัญชีรายชื่อนักเรียนติดท่ีหนาหองสอบทุกหอง จัดเตรียมดินสอ ๒B และยางลบใหนักเรียน หรือกําชับนักเรียนใหเตรียมติดตัวมาในวันสอบ

๘. รับขอสอบกระดาษคําตอบจากศูนยประสานการสอบ เชาวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ๒๕๕๘ และกรรมการสนามสอบ ประกอบดวยผูอํานวยการโรงเรียน เปนประธานสนามสอบครู/อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ในจํานวนท่ีเหมาะสม เปนกรรมการกลาง โดยกรรมการกลางทําหนาท่ีรับ – สงขอสอบ และเอกสารประกอบ จากศูนยประสานการสอบ ตรวจสอบความถูกตองของจํานวนเคร่ืองมือท่ีไดรับ ความเรียบรอยการปดผนึกซองขอสอบตองไมมีรองรอยการเปดสงตอใหกับกรรมการกํากับการสอบ

๙. ปฏิบัติการจัดสอบพรอมกันวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ โดยดําเนินการตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้

บทบาท หนาที่ของโรงเรียน/สนามสอบ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 8

๑) ใหกรรมการกํากับการสอบ ตรวจสอบความเรียบรอยการปดผนึกซองขอสอบตองไมมีรองรอยการเปด (หากพบความผิดปกติใหรีบแจง และบันทึกเหตุการณตอประธานสนามสอบเพื่อแจงศูนยประสานการสอบ) หากเรียบรอยใหกรรมการกํากับการสอบดําเนินการสอบตามเวลาในตารางสอบท่ีกําหนด กอนเวลาเร่ิมการสอบไมเกิน ๑๕ นาที ใหเปดซองบรรจุแบบประเมินความสามารถแตละดาน และกระดาษคําตอบ กอนเปดใหตรวจสอบความเรียบรอยของซองบรรจุ แจกกระดาษคําตอบและแบบทดสอบ โดยควํ่าหนาแบบทดสอบไวบนโตะท่ีนั่งสอบของนักเรียนจนครบ

๒) ขอสอบในแตละความสามารถจะแบงเปน ๒ ตอนคือ ตอนท่ี ๑ ระบายคําตอบขอ ๑ – ๒๗ ตอนท่ี ๒ เขียนตอบ ขอ ๒๘ – ๓๐ (ยกเวนดานคํานวณ ตอนท่ี ๒ เติมคําตอบ ตอนท่ี ๓ แสดงวิธีทํา)

ขอสอบแบบเลือกตอบ ขอ ๑ – ๒๗ ใหนักเรียนระบายคําตอบลงในกระดาษคําตอบใหถูกตอง โดยใหนักเรียนฉีกกระดาษคําตอบออกจากปกแบบทดสอบความสามารถดานภาษาตามรอยปรุดวยความระมัดระวังอยาใหกระดาษคําตอบฉีกขาดหรือเสียหาย สําหรับโรงเรียนซึ่งกรอกขอมูลนักเรียนผานทางเว็บไซต http://juno. tks.co.th/OBECWebRegis/ ซึ่งสวนกลางไดพิมพขอมูลนักเรียนลงบนกระดาษคําตอบใหเรียบรอยแลว(กรณีท่ีโรงเรียนไดกรอกขอมูลในเว็บไซตขางตน) แตสําหรับโรงเรียนซึ่งไมไดกรอกขอมูลนักเรียนกระดาษคําตอบจะไดกระดาษวางเปลา ใหกรรมการกํากับการสอบ อธิบายวิธีการการกรอกรหัสรายการตางๆ ท่ีดานหนากระดาษคําตอบ และชี้แจงวิธี การเขียนหรือระบายรหัสลงในชองตรงกับตัวเลขรหัสที่กรอกไวใหถูกตอง (สําหรับในกระดาษคําตอบขอที่ ๒๘ – ๓๐ หามนักเรียนระบายหรือทําเคร่ืองหมายใดๆ ใหเวนวางไวสําหรับกรรมการตรวจขอสอบเขียนตอบเปนผูระบายคะแนนจากการตรวจ)

ข อสอบแบบ เข ียนตอบหร ือแสดงว ิธ ีทํ า ให น ัก เ ร ียน ทําลง ในแบบทดสอบ โดยใหเขียนชื่อ นามสกุล โรงเรียน หองสอบ เลขที่ ลงในแบบทดสอบกอนเร่ิมลงมือทําตอนท่ี ๒ ซึ่งจะอยูหนาท่ี ๑๒ ของแบบทดสอบแตละฉบับ

๓) ใหนักเรียนเร่ิมทําแบบทดสอบพรอมกัน๔) ในการทําขอสอบแบบเลือกตอบขอท่ี ๑ – ๒๗ ใหนักเรียนทําลงใน

กระดาษคําตอบ สําหรับขอสอบแบบเขียนตอบ ขอท่ี ๒๘ – ๓๐ ใหนักเรียนทําลงในแบบทดสอบในตอนท่ี ๒ ของแบบทดสอบความสามารถท้ัง ๓ ดาน

๕) ใหกรรมการกํากับการสอบยํ้าเร่ืองเวลาท่ีใชในการสอบ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 9

๖) ใหกรรมการกํากับการสอบนําบัญชีรายชื่อนักเรียนไปใหนักเรียนแตละคนลงลายมือ เพื่อเปนหลักฐานการเขาสอบของนักเรียน

๗) ในขณะที่นักเรียนกําลังทําขอสอบ ใหกรรมการกํากับการสอบตรวจความเรียบรอย และปองกันการทุจริต โดยยืนท่ีมุมใดมุมหนึ่งภายในหอง ในกรณีท่ีมีผูสงสัยใหยกมือขึ้นเพื่อท่ีกรรมการกํากับการสอบจะไดอธิบายขอสงสัยเปนรายบุคคลดวยเสียงเบา ๆ หรือถาขอสงสัยนั้นเปนส่ิงท่ีจะตองแจงใหนักเรียนทราบท้ังหอง ใหเขียนบนกระดาน

(หมายเหตุ กรรมการกํากับการสอบจะตอบขอสงสัยไดเฉพาะกรณีที่ขอสอบพิมพไมชัดเจน หรือมีขอบกพรองอื่นๆ เชน ขอความหายไปเนื่องจากการพิมพบกพรอง)

๘) การเตือนเวลาการสอบในแตละฉบับ ใหดําเนินการ ๒ คร้ัง คือ คร้ังท่ี ๑เมื่อนักเรียนสอบไดคร่ึงเวลาท่ีกําหนดให คร้ังท่ี ๒ เมื่อเหลือเวลาอีก ๕ นาที

๙) ในกรณีท่ีมีนักเรียนทําเสร็จกอนเวลาในแตละฉบับ (ไมนอยกวา ๓๐นาที) ใหวางแบบทดสอบและกระดาษคําตอบไวบนโตะท่ีนั่งสอบ โดยปดแบบทดสอบและสอดกระดาษคําตอบไว โดยใหหัวกระดาษย่ืนออกมาพอประมาณเพื่อความสะดวกในการเก็บรวบรวม แลวใหวางแบบทดสอบพรอมกระดาษคําตอบไวท่ีโตะนั่งสอบของนักเรียนแตละคนกอนนักเรียนออกจากหองสอบ ใหกรรมการคุมสอบเตือนนักเรียนไมใหนําแบบทดสอบหรือกระดาษคําตอบออกนอกหองสอบโดยเด็ดขาด และใหออกจากหองสอบได เพื่อเตรียมสอบในฉบับตอไป

๑๐) ระหวางพักกลางวันใหกรรมการกํากับการสอบเก็บแบบทดสอบ และกระดาษคําตอบจากโตะที่นั่งสอบของนักเรียนทุกคน นําแบบทดสอบความสามารถดานภาษาและความสามารถดานคํานวณมาฉีกตามรอยปรุในสวนของขอสอบเขียนตอบ เรียงขอสอบแบบเขียนตอบตามลําดับเลขท่ี บรรจุใสซองสงกองกลางเพื่อตรวจใหคะแนนตอไป

สําหรับกระดาษคําตอบแบบเลือกตอบนํามาเรียงตามเลขท่ีนั่งสอบบรรจุซองสงกองกลางไวกอน (เนื่องจากกระดาษคําตอบ ๑ แผน ใชสอบ ๓ วิชา ในชวงพักกลางวันนักเรียนจะสอบเสร็จความสามารถดานภาษา และความสามารถดานคํานวณ) และเมื่อสอบวิชาความสามารถดานเหตุผล จึงใหเบิกกระดาษคําตอบ (เดิม) และแบบทดสอบความสามารถดานเหตุผลจากกองกลางแจกใหนักเรียนสอบตอไป

๑๑. หลังจากนักเรียนสอบความสามารถดานเหตุผลเสร็จเรียบรอยใหกรรมการกํากับการสอบเก็บกระดาษคําตอบโดยจัดเรียงตามเลขท่ีนั่งสอบ (กรณีนักเรียนขาดสอบไมตองแทรกกระดาษคําตอบ/กระดาษเปลา) ใหกรรมการกํากับการสอบตรวจสอบความถูกตองของการระบายรหัสตางๆ ของนักเรียนใหถูกตอง

๑๒. ใหคณะกรรมการตรวจใหคะแนน ศึกษาเกณฑการใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบ และดําเนินการตรวจใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบในแตละความสามารถของนักเรียนแตละคน พรอมกับระบายคะแนนท่ีไดลงในกระดาษคําตอบแบบเลือกตอบใหถูกตอง

คูมือการจัดสอบฯ หนา 10

๑๓. บรรจุกระดาษคําตอบลงซองพรอมบัญชีรายชื่อนักเรียน นําสงคณะกรรมการกลางเพื่อตรวจสอบจํานวนใหถูกตอง ปดผนึกพรอมลงชื่อกํากับใหเรียบรอย เพื่อเขตพื้นท่ีการศึกษา รวบรวมนําสงศูนยรับ - สงกระดาษคําตอบตอไป

ขอควรระวังในการเก็บกระดาษคําตอบ๑) แยกกระดาษคําตอบผูขาดสอบออกจากผูท่ีเขาสอบจริงเพื่อสะดวกและ

รวดเร็วตอการตรวจ เนื่องจากกระบวนการตรวจจะไมทําการสแกนกระดาษคําตอบของคนท่ีไมเขาสอบเขาไปดวย

๒) เรียงลําดับกระดาษคําตอบตามเลขท่ีเขาสอบ / เลขท่ีหองสอบ เพื่อสะดวกและรวดเร็วตอการตรวจ และสามารถคนหาไดงายหากพบวาเปนกระดาษคําตอบรายการท่ีมีปญหา

๓) ไมควรขีดเขียนขอความใดๆ ทับกรอบส่ีเหล่ียมดานนอกของกระดาษคําตอบเนื่องจากโปรแกรมการตรวจจะอานจากการจับมุมท้ัง ๔ ดานของกระดาษคําตอบนั้น หากมีการเขียนขอความทับเสนเสนกรอบนั้นจะทําใหโปรแกรมจับมุมผิดได ซึ่งมีผลตอการประมวลผลกระดาษคําตอบได

คูมือการจัดสอบฯ หนา 11

ตัวอยางกระดาษคําตอบ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 12

สํ า ห รั บ โ ร ง เ รี ย น ท่ี ก ร อ ก ข อ มู ล นั ก เ รี ย น ทุ ก ค น ผ า น ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ตhttp://juno.tks.co.th/OBECWebRegis/ เรียบรอยแลว สวนกลางจะพิมพขอมูลนักเรียนลงกระดาษคําตอบ ดังนี้

คูมือการจัดสอบฯ หนา 13

การกรอก/ระบายรหัสลงบนกระดาษคําตอบสํ าห รับ โ ร ง เ รี ยน ท่ี ไม ไ ด ก รอกข อมู ลนั ก เ รี ยน ทุกคนผ านทา ง เ ว็ บ ไ ซต

http://juno.tks.co.th/OBECWebRegis/ สวนกลางจะสงกระดาษคําตอบเปลามาให ผูสอบจําเปนตองกรอกรายละเอียดตางๆ ในกระดาษคําตอบ ใหครบและถูกตอง ตามคอลัมนท่ีกําหนด ดังนี้

รหัสโรงเรียน จํานวน ๑๐ หลัก คอลัมนท่ี ๑- ๑๐ชั้น จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๑-๑๒หองสอบ จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๓-๑๔เลขท่ี จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๕-๑๖เลขท่ีบัตรประชาชน จํานวน ๑๓ หลัก คอลัมนท่ี ๑๗-๒๙เพศ จํานวน ๑ หลัก คอลัมนท่ี ๓๐เด็กพิเศษ จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๓๑-๓๒

คําอธิบายรหัสตางๆ ดังนี้รหัสโรงเรียน มีจํานวน ๑๐ หลัก ใหใสรหัสโรงเรียนท่ีกําหนด ในระบบ EPCC

เทานั้น สําหรับโรงเรียนท่ีไมมีรหัสในระบบ EPCC ติดตอขอรหัสโรงเรียนผานระบบ EPCC เทานั้น(ผานทางขอความสวนตัว) หรือโทรศัพทหมายเลข ๐-๒๒๘๘-๕๗๘๗

ช้ัน มีจํานวน ๒ หลัก ซึ่งชั้น ป.๓ ใชรหัส ๑๓ (กระดาษคําตอบจะกรอกและระบายไวแลว)

หองสอบ มีจํานวน ๒ หลัก ใหใสเลขท่ีของหองเรียนปกติ (๐๑, ๐๒, ๐๓, ...)เลขที่ มีจํานวน ๒ หลัก ใหใสเลขท่ีตามบัญชีเรียกชื่อของนักเรียน (๐๑, ๐๒, ๐๓, ...)

ในกรณีจํานวนผูเขาสอบเกิน ๓๕ คน และนักเรียนบางสวนตองไปสอบท่ีหองสอบอื่น ยังคงใหนักเรียนใชเลขที่หองสอบตามหองเรียนของนักเรียน และเลขที่นั่งสอบตามบัญชีเรียกช่ือเหมือนเดิม แมวาจะไปนั่งสอบท่ีหองสอบอื่นก็ตาม ดังตัวอยางตอไปนี้

โรงเรียน ก มีนักเรียน ป.๓/๑ จํานวน ๔๕ คน และ ป.๓/๒ จํานวน ๔๔ คนควรจัดหองสอบ และรหัสหองสอบดังนี้

หองสอบท่ี ๑ นักเรียนชั้น ป.๓/๑ เลขท่ีตามบัญชีเรียกชื่อเลขท่ี ๑ – ๓๕รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

นักเรียนคนท่ี ๑ ๐๑๐๑นักเรียนคนท่ี ๒ ๐๑๐๒

" ….. "นักเรียนคนท่ี ๓๕ ๐๑๓๕

หองสอบท่ี ๒ นักเรียนชั้น ป.๓/๒ เลขท่ีตามบัญชีเรียกชื่อเลขท่ี ๑ – ๓๕รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

นักเรียนคนท่ี ๑ ๐๒๐๑นักเรียนคนท่ี ๒ ๐๒๐๒

" "

คูมือการจัดสอบฯ หนา 14

นักเรียนคนท่ี ๓๕ ๐๒๓๕หองสอบท่ี ๓ ซึ่งมีนักเรียนเกินมาจากหอง ป.๓/๑ จํานวน ๑๐ คน ใช

รหัสหองสอบ ๐๑ ตามดวยเลขท่ีสอบตามบัญชีเรียกชื่อ (หองเรียน/เลขท่ีเดิม) และหอง ป.๓/๒จํานวน ๙ คน ใชรหัสหองสอบ ๐๒ ตามดวยเลขท่ีสอบตามบัญชีเรียกชื่อ (หองเรียน/เลขท่ีเดิม)การลงรหัสหองสอบ และเลขท่ีสอบเปนดังนี้

รหัสหองสอบและเลขที่สอบหอง ป.๓/๑ นักเรียนคนท่ี ๓๖ ๐๑๓๖

" "นักเรียนคนท่ี ๔๕ ๐๑๔๕

หอง ป.๓/๒ นักเรียนคนท่ี ๓๖ ๐๒๓๖" "

นักเรียนคนท่ี ๔๔ ๐๒๔๔เลขประจําตัวประชาชน มีจํานวน ๑๓ หลัก ใหใสตามท่ีกําหนดอยูในบัตร

ประจําตัวประชาชน หรือทะเบียนบานของนักเรียนเอง การลงรหัสเลขท่ีบัตรประชาชนของนักเรียนจะเปนขอมูลท่ีสําคัญอยางย่ิงสามารถสืบคนขอมูลยอนกลับมาดูภายหลังได สําหรับนักเรียนที่ไมมีเลขประจําตัวประชาชน ใหใชรหัสโรงเรียน ๑๐ หลักแรกตามดวยลําดับนักเรียนท่ีไมมีเลขประจําตัวประชาชน ๓ หลัก เร่ิมท่ี ๐๐๑, ๐๐๒, … รวมเปน ๑๓ หลัก

เพศ มีจํานวน ๑ หลัก กรอกตามเพศของผูเขาสอบ โดย เพศชาย = ๑เพศหญิง = ๒

เด็กพิเศษ นักเรียนท่ีเปนเด็กพิเศษท่ีมีความบกพรอง (ท่ีไมรุนแรง) ใหกรอกรหัสตามประเภทของความบกพรอง (เด็กปกติ เวนวางไว) ท่ีระบุหมายเลขรหัสไว คือ

สายตา (บอด) = ๐๑ การเรียนรู (เขียน) = ๐๗สายตา (เลือนราง) = ๐๒ การเรียนรู (คิดคํานวณ) = ๐๘การไดยิน = ๐๓ การพูด = ๐๙สติปญญา = ๐๔ พฤติกรรม = ๑๐รางกาย = ๐๕ ออทิสติก = ๑๑การเรียนรู (อาน) = ๐๖ ซอน = ๑๒

คูมือการจัดสอบฯ หนา 15

การนําผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลถึงตัวผูเรียน และปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และการกํากับดูแลแนวทางการจัดการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ใหเปนไปตามนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตรท่ี ๑ พัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกระดับ ทุกประเภทเปาหมายที่ ๑ นักเรียนระดับกอนประถมศึกษามีพัฒนาการที่เหมาะสมตามชวงวัยและไดสมดุลและนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามชวงวัยและมีคุณภาพทุกสวนในระบบการศึกษาตั้งแตสวนกลาง สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา โรงเรียน จําเปนตองนําผลจากการประเมินมาวิเคราะหและจัดทําเปนแผนการยกระดับคุณภาพการศึกษา ในทุกระดับอยางเปนรูปธรรม ตั้งแตแผนการพัฒนาตัวผูเรียนรายบุคคล การพัฒนาสภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน สภาพปญหาและความตองการ บริบทในการบริหารจัดการ การกํากับดูแลการจัดการเรียนการสอนของเขตพื้นท่ีการศึกษา ดังนี้

๑. การนําผลการประเมินไปยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตองดําเนินการท้ังระบบ โดยกําหนดบทบาทของสวนกลางวาแตละสํานักมีกิจกรรมอะไรบางจะสามารถสงเสริมและสนับสนุนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิของเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยศึกษานิเทศกรวมกับศูนยเครือขายเปนผูนําในการขับเคล่ือนการยกระดับ และโรงเรียน ครูผูสอนตองมีความรูความสามารถดานการวัดผล โดยท้ังหมดนี้จะตองมีโครงการ กิจกรรม และงบประมาณในการดําเนินงาน

๒. คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๗ รวมกันวางแผนการพัฒนา โดยกําหนดใหผูรับผิดชอบในแตละสํานักท่ีเกี่ยวของกับการยกระดับคุณภาพการศึกษา เขียนเปนแผนยกระดับท่ีเปนรูปธรรม

๓. มีระบบการติดตามและประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับจุดเนนในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

๔. เขตพื้นท่ีการศึกษา อาจวิเคราะหผลภาพรวมของแตละโรงเรียน และภาพรวมของเขตพื้นท่ีการศึกษา รวมท้ังวิเคราะหปจจัย กระบวนการ แนวทางในการสงเสริม ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา กําหนดเปนโครงการ/กิจกรรมในการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนในเขตพื้นท่ีการศึกษา

๕. โรงเรียนวิเคราะหผลภาพรวม เปรียบเทียบผลการประเมินกับผลภาพรวมระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และเปรียบเทียบผลระหวางปการศึกษา ๒๕๕๖ และปการศึกษา ๒๕๕๗ เพื่อดูพัฒนาการของโรงเรียน และทราบถึงจุดท่ีตองเรงดําเนินการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนของตน จัดทําเปนแผนยกระดับ โครงการ/กิจกรรม และกําหนดเปาหมายในการพัฒนา

๖. โรงเรียนวิเคราะหผลรายบุคคลของนักเรียน ท่ีสะทอนถึงความสามารถของผูเรียนในแตละดาน สงตอขอมูลใหครูผูสอนในระดับประถมศึกษาปท่ี ๔ เพื่อใหทราบถึงจุดเดนจุดดอยท่ีตองเรงพัฒนา และปรับปรุงเปนรายบุคคล เพื่อใหครูผูสอนสามารถปรับปรุงและพัฒนาผูเรียนไดอยางถูกตอง

การนําผลการประเมินไปใช

คูมือการจัดสอบฯ หนา 16

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘

------------------------------------------โดยท่ีเห็นสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการปฏิบัติของผูกํากับหองสอบให

เหมาะสมยิ่งข้ึน และใหสอดคลองกับกฎหมายระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการและกฎหมายการศึกษาแหงชาติ

อาศัย อํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไวดังนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบยีบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘”ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับ การสอบ พ.ศ. ๒๕๐๖ระเบียบนี้ใหใชบังคับแกผูมีหนาท่ีกํากับการสอบสําหรับการสอบทุกประเภทในสวนราชการและ

สถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และใหหมายความรวมถึงผูมีหนาท่ีกํากับการสอบในสถานศึกษาท่ีอยูในกํากับดูแล หรือสถานศึกษาท่ีอยูในความควบคุม ของกระทรวงศึกษาธิการดวย ยกเวนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ขอ ๔ ผูกํากับการสอบตองปฏิบัติดังนี้๔.๑ ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนเก่ียวกับการสอบไปถึงสถานท่ีสอบกอนเวลาเริ่มสอบตามสมควร

หากไมสามารถปฏิบัติไดดวยเหตุผลใด ๆ ใหรีบรายงานผูบังคับบัญชาทราบโดยดวน๔.๒ กํากับการสอบใหดําเนนิไปดวยความเรียบรอย ไมอธิบายคําถามใด ๆ ในขอสอบแกผูเขาสอบ๔.๓ ไมกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวนแกผูเขาสอบ รวมท้ังไมกระทําการใด ๆ อันเปนการทํา

ใหการปฏิบัติหนาท่ีของผูกํากับหองสอบไมสมบูรณ๔.๔ แตงกายใหสุภาพเรียบรอยตามแบบท่ีสวนราชการหรือสถานศึกษากําหนด หากผูกํากับการ

สอบไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ใหผูบังคับบัญชาพิจารณาความผิดและลงโทษตามควรแกกรณีขอ ๕ ผูกํากับการสอบมีความประมาทเลินเลอ หรือจงใจ ละเวน หรือรูเห็นแลวไมปฏิบัติตามหนาท่ี

หรือไมรายงานตอหัวหนาจนเปนเหตุใหมีการทุจริตในการสอบเกิดข้ึน ถือวาเปนการประพฤติผิดวินัยรายแรงขอ ๖ ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘

ลงชื่อ จาตุรนต ฉายแสง(นายจาตุรนต ฉายแสง)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

Recommended