16
คูมือการจัดสอบ NT ป.3 (สําหรับสถานศึกษา) ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๗ ๑. เหตุผลและความสําคัญ โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๗ เปนการประเมินภาพรวมของการจัดการศึกษาของประเทศไทยและเปน ภาพสะทอนคุณภาพของเด็กไทย เพื่อพัฒนาการปรับปรุงการเรียนการสอนของครู ซึ่งถือเปน กระบวนการตรวจสอบการขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาและการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษา สรางความมั่นใจวาสถานศึกษา และหนวยงานตนสังกัดจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน ตามที่กําหนด นักเรียนมีความรูความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนด และยังเปนองคประกอบ/ตัวชี้วัด ที่สําคัญตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งความสําคัญของการประกันคุณภาพจะเห็น ไดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๔๗ กําหนดใหมีระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับ และ มาตรา ๔๘ ใหหนวยงานตนสังกัด และสถานศึกษา จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงาน ตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก หลักการสําคัญประการหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษาก็คือ การแสดงถึง ภาระรับผิดชอบ (Accountability) ซึ่งตรวจสอบได ที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดรวมกันกําหนดคํารับรอง ในการปฏิบัติราชการของสวนราชการประจําปงบประมาณ โดยกําหนดเปาหมาย และจุดเนน ที่ตองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมทั้งความสามารถในการคิดของผูเรียนใหสูงขึ้น โดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกําหนดเกณฑสําหรับการจบ การศึกษาวา นอกจากผูเรียนไดเรียนรายวิชาพื้นฐาน รายวิชากิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสรางเวลา เรียน และผานเกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษากําหนดแลว ผูเรียนตองมีผลการประเมิน การอาน คิดวิเคราะห เขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการประเมินทีสถานศึกษากําหนด ประกอบกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดจัดทําประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๗ ลงนามโดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) โดยเฉพาะขอ ๗ ใหเพิ่มขอสอบแบบเขียนตอบทั้งการเขียนตอบแบบสั้นและแบบยาว ในการวัด และประเมินผลเมื่อจบหนวยการเรียนในการสอบระหวางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน

คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบ NT ป.3 (สําหรับสถานศึกษา)ประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

เพ่ือการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๗

๑. เหตุผลและความสําคัญ

โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียนปการศึกษา ๒๕๕๗ เปนการประเมินภาพรวมของการจัดการศึกษาของประเทศไทยและเปนภาพสะทอนคุณภาพของเด็กไทย เพื่อพัฒนาการปรับปรุงการเรียนการสอนของครู ซึ่งถือเปนกระบวนการตรวจสอบการขับเคล่ือนนโยบายการศึกษาและการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาสรางความมั่นใจวาสถานศึกษา และหนวยงานตนสังกัดจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐานตามท่ีกําหนด นักเรียนมีความรูความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนด และยังเปนองคประกอบ/ตัวชี้วัดท่ีสําคัญตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งความสําคญัของการประกันคุณภาพจะเห็นไดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๔๗ กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับ และมาตรา ๔๘ ใหหนวยงานตนสังกัด และสถานศึกษา จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานท่ีเกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

หลักการสําคัญประการหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษาก็คือ การแสดงถึงภาระรับผิดชอบ (Accountability) ซึ่งตรวจสอบได ท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ไดรวมกันกําหนดคํารับรองในการปฏิบัติราชการของสวนราชการประจําปงบประมาณ โดยกําหนดเปาหมาย และจุดเนนที่ตองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมท้ังความสามารถในการคิดของผูเรียนใหสูงขึ้นโดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกําหนดเกณฑสําหรับการจบการศึกษาวา นอกจากผูเรียนไดเรียนรายวิชาพื้นฐาน รายวิชากิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสรางเวลาเรียน และผานเกณฑการประเมินตามท่ีสถานศึกษากําหนดแลว ผูเรียนตองมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห เขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการประเมินท่ีสถานศึกษากําหนด ประกอบกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดจัดทําประกาศเร่ือง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘เมษายน ๒๕๕๗ ลงนามโดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นายอภิชาติ จีระวุฒิ)โดยเฉพาะขอ ๗ ใหเพิ่มขอสอบแบบเขียนตอบท้ังการเขียนตอบแบบส้ันและแบบยาว ในการวัดและประเมินผลเมื่อจบหนวยการเรียนในการสอบระหวางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน

Page 2: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 2

อยางนอยรอยละ ๓๐ ของการสอบแตละคร้ัง จากนโยบาย ยุทธศาสตร กลยุทธ และประกาศของสพฐ. ดังกลาว สํานักทดสอบทางการศึกษา ไดดําเนินการจัดทําแบบทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานสําคัญ ๓ ดาน คือ ดานภาษา (Literacy) ดานคํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล(Reasoning Abilities) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ซึ่งเปนความสามารถท่ีตกผลึก (Crystallization)จากการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปนความสามารถพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูของนักเรียนในระดับสูงขึ้นตอไป

การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในปการศึกษา ๒๕๕๗ นี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานดําเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ โดยวัดความสามารถพื้นฐานสําคัญ ๓ ดาน คือ ดานภาษา (Literacy)ดานคํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล (Reasoning Abilities) ซึ่งถือเปนความสามารถพื้นฐานเบ้ืองตนสําคัญท่ีใชในการเรียนรู ในระดับท่ีสูงขึ้นและยังสะทอนไปสูการยกระดับผลการประเมินระดับชาติ (O-NET) และนานาชาติ (PISA) ผลการประเมินท่ีไดจะเปนขอมูลสําคัญท่ีสะทอนคุณภาพการดําเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปนตองมีขอมูลผลการเรียนรู ไปเตรียมความพรอมของผูเรียน และเปนตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย กําหนดยุทธศาสตร แผนการศึกษาของชาติ ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ระดับสถานศึกษา มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเปนไทย ใหนักเรียนไดรับการพัฒนาศักยภาพสูงสุดในตนมีความรูและทักษะท่ีแข็งแกรงและเหมาะสม เปนพื้นฐานสําคัญในการเรียนรูระดับสูงขึ้นไปและการดํารงชีวิตในอนาคต โดยเฉพาะขอ ๒ เรงพัฒนาความแข็งแกรงทางการศึกษาใหผูเรียนทุกระดับ ทุกประเภท รวมถึงเด็กพิการ และดอยโอกาส ใหมีความรูและทักษะแหงโลกยุคใหมควบคูกันไป โดยเฉพาะทักษะการอาน เขียน และการคิด เพื่อใหมีความพรอมเขาสูการศึกษาระดับสูง และโลกของการทํางาน โดยไดกําหนดเปนยุทธศาสตร พัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกระดับทุกประเภท เพื่อใหนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามชวงวัยและมีคุณภาพเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพและมาตรฐานใกลเคียงกัน อีกท้ังเปนการสงเสริมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหมีความเขมแข็งเพื่อรองรับการประเมินภายนอกซึ่งไดกําหนดเปนกลยุทธในการดําเนินงาน เชน สงเสริมสนับสนุนการนําผลการทดสอบ O-NETประเมินผล PISA และเพื่อเปนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเพื่อเตรียมการใหผูเรียนมีความพรอมสําหรับรองรับการประเมินภายนอกของสถานศึกษา ท้ังการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุงประเมินใหทัดเทียมกับนานาชาติ เชน การประเมินระดับนานาชาติ(PISA, TIMSS, …) ท่ีมีรูปแบบการประเมินท่ีหลากหลาย มุงเนนคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพื้นฐานท่ีสําคัญจําเปน ผลการประเมินของโรงเรียนและเขตพื้นท่ีการศึกษา จะเปนตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม และใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย วางแผน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ี

Page 3: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 3

การศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนผลการประเมินนักเรียนทุกคนจะเปนขอมูลสําคัญในการปรับปรุงเพื่อการพัฒนา๒. วัตถุประสงค

เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานท่ีสําคัญจําเปนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ในดานภาษา (Literacy) ดานคํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล (Reasoning Abilities)๓. กลุมเปาหมาย

นักเรียนท่ีศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ปการศึกษา ๒๕๕๗ ทุกคนทุกโรงเรียน ซึ่งอยูในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และตํารวจตระเวนชายแดน๔. เคร่ืองมือที่ใชในการประเมิน

เคร่ืองมือท่ีใชในการประเมิน ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ แสดงรายละเอียด ดังตาราง

แบบทดสอบความสามารถ จํานวนขอ คะแนนเต็ม เวลา (นาที)ดานภาษา (Literacy) ๓๐ ๓๕ ๖๐ดานคํานวณ (Numeracy) ๓๐ ๓๕ ๙๐ดานเหตุผล (Reasoning Abilities) ๓๐ ๓๕ ๖๐

โครงสรางขอสอบ๑. ความสามารถดานภาษาช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมิน ดังนี้

ตัวช้ีวัด เลือกตอบ เขียนตอบ๑. บอกความหมายของคําและประโยคจากเร่ืองท่ี ฟง ดู และอาน ๔๒. บอกความหมายของเคร่ืองหมายสัญลักษณ ๓๓. ตอบคําถามจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน ๔ ๒๔. บอก เลาเร่ืองราวท่ีไดจากการฟง ดู และอานอยางงายๆ ๕๕. คาดคะเนเหตุการณท่ีจะเกิดขึ้นจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน ๖๖. ส่ือสารความรู ความเขาใจขอคิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน

อยางเหมาะสม๕ ๑

รวมท้ังหมด ๒๗ ๓

Page 4: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 4

๒. ความสามารถดานคํานวณช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมิน ดังนี้

ตัวช้ีวัด เลือกตอบ เติมคําตอบ แสดงวิธีทํา๑. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะ

การคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง จํานวนและการดําเนินการตามขอบขายส่ิงเรา

๙ ๑

๒. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง การวัด ตามขอบขายส่ิงเรา

๗ ๑

๓. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง เรขาคณิต ตามขอบขายส่ิงเรา

๔. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง พีชคณิต ตามขอบขายส่ิงเรา

๕. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ในชี วิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรเร่ือง การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนตามขอบขายส่ิงเรา

๓ ๑

รวมท้ังหมด ๒๗ ๒ ๑

Page 5: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 5

๓. ความสามารถดานเหตุผลช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมิน ดังนี้

ตัวช้ีวัด เลือกตอบ เขียนตอบ๑. มีความเขาใจในขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศทางดาน

วิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตร และดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

๓ ๑

๒. วิเคราะหขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศ โดยใชองคความรูดานวิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตรและดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

๗ ๑

๓. สามารถสรางขอสรุปใหม ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของขอมูลสถานการณ หรือสารสนเทศท่ีผานการวิเคราะห โดยใชองคความรูดานวิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตรและดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

๔. สามารถตัดสินใจและแกปญหาอยางมีหลักการและเหตุผล หรือใหขอสนับสนุนขอโตแยงท่ีสมเหตุสมผล โดยคํานึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม คานิยม ความเชื่อ ในกรณีท่ีมีสถานการณท่ีตองการตัดสินใจหรือมีปญหา

๙ ๑

รวมท้ังหมด ๒๗ ๓

ตารางสอบการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ปการศึกษา

๒๕๕๗ กําหนดสอบวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ รายละเอียดกําหนดสอบ ตามตารางสอบ ดังนี้

เวลาวันสอบ ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ น.

พัก๑๐.๐๐-๑๑.๓๐ น.

พัก๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น.

๒๖ ก.พ. ๒๕๕๘ ความสามารถดานภาษา

ความสามารถดานคํานวณ

ความสามารถดานเหตุผล

Page 6: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 6

การตรวจกระดาษคําตอบเขียนตอบในปการศึกษา ๒๕๕๗ แบบทดสอบความสามารถดานภาษา คํานวณ และเหตุผล

จะมีขอสอบแบบเลือกตอบ และเขียนตอบ โดยขอสอบเลือกตอบจะอยูท่ีขอ ๑ – ๒๗ ทุกฉบับสําหรับขอท่ี ๒๘ – ๓๐ ทุกฉบับจะเปนขอสอบแบบเขียนตอบ

การทําขอสอบ ขอ ๑ – ๒๗ ใหนักเรียนทําลงบนกระดาษคําตอบ สําหรับขอสอบขอ ๒๘ – ๓๐ ใหนักเรียนทําลงในแบบทดสอบโดยกรรมการกํากับการสอบดูแลใหนักเรียนเขียนช่ือ นามสกุล โรงเรียน หองที่ เลขที่ ลงในแบบทดสอบตอนที่ ๒ ใหครบกอนลงมือทํา และใหนักเรียนทําขอสอบแบบเขียนตอบ เมื่อนักเรียนทําแตในละวิชาเสร็จแลวใหกรรมการกํากับการสอบฉีกขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) ตามรอยปรุ เก็บกระดาษคําตอบพรอมกับขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) เรียงตามลําดับตามเลขท่ีนักเรียนและบรรจุสงกรรมกลาง เพื่อสงตอกรรมการชุดตรวจใหคะแนนตอไป

ในการดําเนินการตรวจขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) เขตพื้นท่ีการศึกษาควรแตงตั้งคณะกรรมการตรวจใหคะแนนท่ีมีความเชื่อถือได ซึ่งอาจเปนคณะกรรมการอีกคณะหนึ่ง หรือใหคณะกรรมการกํากับการสอบเปนกรรมการตรวจใหคะแนนเขียนตอบดวย ท้ังนี้ใหอยูในดุลยพินิจของเขตพื้นท่ีการศึกษาและเพื่อความสะดวกในการดําเนินใหแลวเสร็จภายในวันท่ี๒๖ - ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๘

หลังจากกรรมการตรวจขอสอบในตอนท่ี ๒ (สวนเขียนตอบ) เสร็จเรียบรอยแลวใหกรรมการระบายคะแนนท่ีไดจากการตรวจลงในกระดาษคําตอบนักเรียนในสวนของกรรมการตรวจใหคะแนนดานลาง ดังภาพ

Page 7: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 7

๑. สํารวจจํานวนนักเรียนชั้น ป.๓ ทุกคน และนักเรียนท่ีมีปญหาดานการมองเห็นคือ ตาบอดเฉพาะท่ีอานอักษรเบรลลได และสายตาเลือนราง สงขอมูลจํานวนนักเรียนดังกลาวใหเขตพื้นท่ีการศึกษา

๒. กรอกขอมูลโรงเรียน และขอมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาป ท่ี ๓ ทุกคนทา ง เ ว็ บ ไ ซ ต http://juno.tks.co.th/OBECWebRegis/ เ พื่ อ นํ า ข อ มู ล นั ก เ รี ยน พิ มพ ล งกระดาษคําตอบ

๓. วางแผนเตรียมความพรอมในการประเมิน ในดานบุคลากรท่ีจะรวมเปนคณะกรรมการตางๆ ของเขตพื้นท่ีการศึกษา และการเตรียมความพรอมนักเรียน ฯลฯ

๔. สงรายชื่อครู และบุคลากรภายในโรงเรียนใหเขตแตงตั้งเปนคณะกรรมการตางๆเชน

๑) คณะกรรมการกลางสนามสอบ ประกอบดวย ผูอํานวยการโรงเรียนเปนประธานสนามสอบ ครู/อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เปนกรรมการกลาง

๒) คณะกรรมการรับ – สงขอสอบ กระดาษคําตอบ ระหวางศูนยประสานการสอบกับโรงเรียน

๓) คณะกรรมการกํากับการสอบ๔) คณะกรรมการตรวจใหคะแนนขอสอบเขียนตอบ๕) คณะกรรมการอื่นๆ ตามความจําเปน

๕. เขารวมประชุมกับเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อรับทราบนโยบายการประเมินรูปแบบ แนวทางการดําเนินการประเมิน

๖. รับคูมือการจัดสอบ เพื่อเตรียมความพรอมของครู และบุคลากรภายในโรงเรียนในการดําเนินสอบ

๗. รับบัญชีรายชื่อนักเรียนในการจัดหองสอบแตละหองจากเขตพื้นท่ีการศึกษาจัดเตรียมหองสอบชวงเย็นวันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ โดยจัดท่ีนั่งสอบ ๓๕ คน/๑ หองสอบบัญชีรายชื่อนักเรียนติดท่ีหนาหองสอบทุกหอง จัดเตรียมดินสอ ๒B และยางลบใหนักเรียน หรือกําชับนักเรียนใหเตรียมติดตัวมาในวันสอบ

๘. รับขอสอบกระดาษคําตอบจากศูนยประสานการสอบ เชาวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ๒๕๕๘ และกรรมการสนามสอบ ประกอบดวยผูอํานวยการโรงเรียน เปนประธานสนามสอบครู/อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ในจํานวนท่ีเหมาะสม เปนกรรมการกลาง โดยกรรมการกลางทําหนาท่ีรับ – สงขอสอบ และเอกสารประกอบ จากศูนยประสานการสอบ ตรวจสอบความถูกตองของจํานวนเคร่ืองมือท่ีไดรับ ความเรียบรอยการปดผนึกซองขอสอบตองไมมีรองรอยการเปดสงตอใหกับกรรมการกํากับการสอบ

๙. ปฏิบัติการจัดสอบพรอมกันวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ โดยดําเนินการตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้

บทบาท หนาที่ของโรงเรียน/สนามสอบ

Page 8: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 8

๑) ใหกรรมการกํากับการสอบ ตรวจสอบความเรียบรอยการปดผนึกซองขอสอบตองไมมีรองรอยการเปด (หากพบความผิดปกติใหรีบแจง และบันทึกเหตุการณตอประธานสนามสอบเพื่อแจงศูนยประสานการสอบ) หากเรียบรอยใหกรรมการกํากับการสอบดําเนินการสอบตามเวลาในตารางสอบท่ีกําหนด กอนเวลาเร่ิมการสอบไมเกิน ๑๕ นาที ใหเปดซองบรรจุแบบประเมินความสามารถแตละดาน และกระดาษคําตอบ กอนเปดใหตรวจสอบความเรียบรอยของซองบรรจุ แจกกระดาษคําตอบและแบบทดสอบ โดยควํ่าหนาแบบทดสอบไวบนโตะท่ีนั่งสอบของนักเรียนจนครบ

๒) ขอสอบในแตละความสามารถจะแบงเปน ๒ ตอนคือ ตอนท่ี ๑ ระบายคําตอบขอ ๑ – ๒๗ ตอนท่ี ๒ เขียนตอบ ขอ ๒๘ – ๓๐ (ยกเวนดานคํานวณ ตอนท่ี ๒ เติมคําตอบ ตอนท่ี ๓ แสดงวิธีทํา)

ขอสอบแบบเลือกตอบ ขอ ๑ – ๒๗ ใหนักเรียนระบายคําตอบลงในกระดาษคําตอบใหถูกตอง โดยใหนักเรียนฉีกกระดาษคําตอบออกจากปกแบบทดสอบความสามารถดานภาษาตามรอยปรุดวยความระมัดระวังอยาใหกระดาษคําตอบฉีกขาดหรือเสียหาย สําหรับโรงเรียนซึ่งกรอกขอมูลนักเรียนผานทางเว็บไซต http://juno. tks.co.th/OBECWebRegis/ ซึ่งสวนกลางไดพิมพขอมูลนักเรียนลงบนกระดาษคําตอบใหเรียบรอยแลว(กรณีท่ีโรงเรียนไดกรอกขอมูลในเว็บไซตขางตน) แตสําหรับโรงเรียนซึ่งไมไดกรอกขอมูลนักเรียนกระดาษคําตอบจะไดกระดาษวางเปลา ใหกรรมการกํากับการสอบ อธิบายวิธีการการกรอกรหัสรายการตางๆ ท่ีดานหนากระดาษคําตอบ และชี้แจงวิธี การเขียนหรือระบายรหัสลงในชองตรงกับตัวเลขรหัสที่กรอกไวใหถูกตอง (สําหรับในกระดาษคําตอบขอที่ ๒๘ – ๓๐ หามนักเรียนระบายหรือทําเคร่ืองหมายใดๆ ใหเวนวางไวสําหรับกรรมการตรวจขอสอบเขียนตอบเปนผูระบายคะแนนจากการตรวจ)

ข อสอบแบบ เข ียนตอบหร ือแสดงว ิธ ีทํ า ให น ัก เ ร ียน ทําลง ในแบบทดสอบ โดยใหเขียนชื่อ นามสกุล โรงเรียน หองสอบ เลขที่ ลงในแบบทดสอบกอนเร่ิมลงมือทําตอนท่ี ๒ ซึ่งจะอยูหนาท่ี ๑๒ ของแบบทดสอบแตละฉบับ

๓) ใหนักเรียนเร่ิมทําแบบทดสอบพรอมกัน๔) ในการทําขอสอบแบบเลือกตอบขอท่ี ๑ – ๒๗ ใหนักเรียนทําลงใน

กระดาษคําตอบ สําหรับขอสอบแบบเขียนตอบ ขอท่ี ๒๘ – ๓๐ ใหนักเรียนทําลงในแบบทดสอบในตอนท่ี ๒ ของแบบทดสอบความสามารถท้ัง ๓ ดาน

๕) ใหกรรมการกํากับการสอบยํ้าเร่ืองเวลาท่ีใชในการสอบ

Page 9: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 9

๖) ใหกรรมการกํากับการสอบนําบัญชีรายชื่อนักเรียนไปใหนักเรียนแตละคนลงลายมือ เพื่อเปนหลักฐานการเขาสอบของนักเรียน

๗) ในขณะที่นักเรียนกําลังทําขอสอบ ใหกรรมการกํากับการสอบตรวจความเรียบรอย และปองกันการทุจริต โดยยืนท่ีมุมใดมุมหนึ่งภายในหอง ในกรณีท่ีมีผูสงสัยใหยกมือขึ้นเพื่อท่ีกรรมการกํากับการสอบจะไดอธิบายขอสงสัยเปนรายบุคคลดวยเสียงเบา ๆ หรือถาขอสงสัยนั้นเปนส่ิงท่ีจะตองแจงใหนักเรียนทราบท้ังหอง ใหเขียนบนกระดาน

(หมายเหตุ กรรมการกํากับการสอบจะตอบขอสงสัยไดเฉพาะกรณีที่ขอสอบพิมพไมชัดเจน หรือมีขอบกพรองอื่นๆ เชน ขอความหายไปเนื่องจากการพิมพบกพรอง)

๘) การเตือนเวลาการสอบในแตละฉบับ ใหดําเนินการ ๒ คร้ัง คือ คร้ังท่ี ๑เมื่อนักเรียนสอบไดคร่ึงเวลาท่ีกําหนดให คร้ังท่ี ๒ เมื่อเหลือเวลาอีก ๕ นาที

๙) ในกรณีท่ีมีนักเรียนทําเสร็จกอนเวลาในแตละฉบับ (ไมนอยกวา ๓๐นาที) ใหวางแบบทดสอบและกระดาษคําตอบไวบนโตะท่ีนั่งสอบ โดยปดแบบทดสอบและสอดกระดาษคําตอบไว โดยใหหัวกระดาษย่ืนออกมาพอประมาณเพื่อความสะดวกในการเก็บรวบรวม แลวใหวางแบบทดสอบพรอมกระดาษคําตอบไวท่ีโตะนั่งสอบของนักเรียนแตละคนกอนนักเรียนออกจากหองสอบ ใหกรรมการคุมสอบเตือนนักเรียนไมใหนําแบบทดสอบหรือกระดาษคําตอบออกนอกหองสอบโดยเด็ดขาด และใหออกจากหองสอบได เพื่อเตรียมสอบในฉบับตอไป

๑๐) ระหวางพักกลางวันใหกรรมการกํากับการสอบเก็บแบบทดสอบ และกระดาษคําตอบจากโตะที่นั่งสอบของนักเรียนทุกคน นําแบบทดสอบความสามารถดานภาษาและความสามารถดานคํานวณมาฉีกตามรอยปรุในสวนของขอสอบเขียนตอบ เรียงขอสอบแบบเขียนตอบตามลําดับเลขท่ี บรรจุใสซองสงกองกลางเพื่อตรวจใหคะแนนตอไป

สําหรับกระดาษคําตอบแบบเลือกตอบนํามาเรียงตามเลขท่ีนั่งสอบบรรจุซองสงกองกลางไวกอน (เนื่องจากกระดาษคําตอบ ๑ แผน ใชสอบ ๓ วิชา ในชวงพักกลางวันนักเรียนจะสอบเสร็จความสามารถดานภาษา และความสามารถดานคํานวณ) และเมื่อสอบวิชาความสามารถดานเหตุผล จึงใหเบิกกระดาษคําตอบ (เดิม) และแบบทดสอบความสามารถดานเหตุผลจากกองกลางแจกใหนักเรียนสอบตอไป

๑๑. หลังจากนักเรียนสอบความสามารถดานเหตุผลเสร็จเรียบรอยใหกรรมการกํากับการสอบเก็บกระดาษคําตอบโดยจัดเรียงตามเลขท่ีนั่งสอบ (กรณีนักเรียนขาดสอบไมตองแทรกกระดาษคําตอบ/กระดาษเปลา) ใหกรรมการกํากับการสอบตรวจสอบความถูกตองของการระบายรหัสตางๆ ของนักเรียนใหถูกตอง

๑๒. ใหคณะกรรมการตรวจใหคะแนน ศึกษาเกณฑการใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบ และดําเนินการตรวจใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบในแตละความสามารถของนักเรียนแตละคน พรอมกับระบายคะแนนท่ีไดลงในกระดาษคําตอบแบบเลือกตอบใหถูกตอง

Page 10: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 10

๑๓. บรรจุกระดาษคําตอบลงซองพรอมบัญชีรายชื่อนักเรียน นําสงคณะกรรมการกลางเพื่อตรวจสอบจํานวนใหถูกตอง ปดผนึกพรอมลงชื่อกํากับใหเรียบรอย เพื่อเขตพื้นท่ีการศึกษา รวบรวมนําสงศูนยรับ - สงกระดาษคําตอบตอไป

ขอควรระวังในการเก็บกระดาษคําตอบ๑) แยกกระดาษคําตอบผูขาดสอบออกจากผูท่ีเขาสอบจริงเพื่อสะดวกและ

รวดเร็วตอการตรวจ เนื่องจากกระบวนการตรวจจะไมทําการสแกนกระดาษคําตอบของคนท่ีไมเขาสอบเขาไปดวย

๒) เรียงลําดับกระดาษคําตอบตามเลขท่ีเขาสอบ / เลขท่ีหองสอบ เพื่อสะดวกและรวดเร็วตอการตรวจ และสามารถคนหาไดงายหากพบวาเปนกระดาษคําตอบรายการท่ีมีปญหา

๓) ไมควรขีดเขียนขอความใดๆ ทับกรอบส่ีเหล่ียมดานนอกของกระดาษคําตอบเนื่องจากโปรแกรมการตรวจจะอานจากการจับมุมท้ัง ๔ ดานของกระดาษคําตอบนั้น หากมีการเขียนขอความทับเสนเสนกรอบนั้นจะทําใหโปรแกรมจับมุมผิดได ซึ่งมีผลตอการประมวลผลกระดาษคําตอบได

Page 11: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 11

ตัวอยางกระดาษคําตอบ

Page 12: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 12

สํ า ห รั บ โ ร ง เ รี ย น ท่ี ก ร อ ก ข อ มู ล นั ก เ รี ย น ทุ ก ค น ผ า น ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ตhttp://juno.tks.co.th/OBECWebRegis/ เรียบรอยแลว สวนกลางจะพิมพขอมูลนักเรียนลงกระดาษคําตอบ ดังนี้

Page 13: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 13

การกรอก/ระบายรหัสลงบนกระดาษคําตอบสํ าห รับ โ ร ง เ รี ยน ท่ี ไม ไ ด ก รอกข อมู ลนั ก เ รี ยน ทุกคนผ านทา ง เ ว็ บ ไ ซต

http://juno.tks.co.th/OBECWebRegis/ สวนกลางจะสงกระดาษคําตอบเปลามาให ผูสอบจําเปนตองกรอกรายละเอียดตางๆ ในกระดาษคําตอบ ใหครบและถูกตอง ตามคอลัมนท่ีกําหนด ดังนี้

รหัสโรงเรียน จํานวน ๑๐ หลัก คอลัมนท่ี ๑- ๑๐ชั้น จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๑-๑๒หองสอบ จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๓-๑๔เลขท่ี จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๕-๑๖เลขท่ีบัตรประชาชน จํานวน ๑๓ หลัก คอลัมนท่ี ๑๗-๒๙เพศ จํานวน ๑ หลัก คอลัมนท่ี ๓๐เด็กพิเศษ จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๓๑-๓๒

คําอธิบายรหัสตางๆ ดังนี้รหัสโรงเรียน มีจํานวน ๑๐ หลัก ใหใสรหัสโรงเรียนท่ีกําหนด ในระบบ EPCC

เทานั้น สําหรับโรงเรียนท่ีไมมีรหัสในระบบ EPCC ติดตอขอรหัสโรงเรียนผานระบบ EPCC เทานั้น(ผานทางขอความสวนตัว) หรือโทรศัพทหมายเลข ๐-๒๒๘๘-๕๗๘๗

ช้ัน มีจํานวน ๒ หลัก ซึ่งชั้น ป.๓ ใชรหัส ๑๓ (กระดาษคําตอบจะกรอกและระบายไวแลว)

หองสอบ มีจํานวน ๒ หลัก ใหใสเลขท่ีของหองเรียนปกติ (๐๑, ๐๒, ๐๓, ...)เลขที่ มีจํานวน ๒ หลัก ใหใสเลขท่ีตามบัญชีเรียกชื่อของนักเรียน (๐๑, ๐๒, ๐๓, ...)

ในกรณีจํานวนผูเขาสอบเกิน ๓๕ คน และนักเรียนบางสวนตองไปสอบท่ีหองสอบอื่น ยังคงใหนักเรียนใชเลขที่หองสอบตามหองเรียนของนักเรียน และเลขที่นั่งสอบตามบัญชีเรียกช่ือเหมือนเดิม แมวาจะไปนั่งสอบท่ีหองสอบอื่นก็ตาม ดังตัวอยางตอไปนี้

โรงเรียน ก มีนักเรียน ป.๓/๑ จํานวน ๔๕ คน และ ป.๓/๒ จํานวน ๔๔ คนควรจัดหองสอบ และรหัสหองสอบดังนี้

หองสอบท่ี ๑ นักเรียนชั้น ป.๓/๑ เลขท่ีตามบัญชีเรียกชื่อเลขท่ี ๑ – ๓๕รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

นักเรียนคนท่ี ๑ ๐๑๐๑นักเรียนคนท่ี ๒ ๐๑๐๒

" ….. "นักเรียนคนท่ี ๓๕ ๐๑๓๕

หองสอบท่ี ๒ นักเรียนชั้น ป.๓/๒ เลขท่ีตามบัญชีเรียกชื่อเลขท่ี ๑ – ๓๕รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

นักเรียนคนท่ี ๑ ๐๒๐๑นักเรียนคนท่ี ๒ ๐๒๐๒

" "

Page 14: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 14

นักเรียนคนท่ี ๓๕ ๐๒๓๕หองสอบท่ี ๓ ซึ่งมีนักเรียนเกินมาจากหอง ป.๓/๑ จํานวน ๑๐ คน ใช

รหัสหองสอบ ๐๑ ตามดวยเลขท่ีสอบตามบัญชีเรียกชื่อ (หองเรียน/เลขท่ีเดิม) และหอง ป.๓/๒จํานวน ๙ คน ใชรหัสหองสอบ ๐๒ ตามดวยเลขท่ีสอบตามบัญชีเรียกชื่อ (หองเรียน/เลขท่ีเดิม)การลงรหัสหองสอบ และเลขท่ีสอบเปนดังนี้

รหัสหองสอบและเลขที่สอบหอง ป.๓/๑ นักเรียนคนท่ี ๓๖ ๐๑๓๖

" "นักเรียนคนท่ี ๔๕ ๐๑๔๕

หอง ป.๓/๒ นักเรียนคนท่ี ๓๖ ๐๒๓๖" "

นักเรียนคนท่ี ๔๔ ๐๒๔๔เลขประจําตัวประชาชน มีจํานวน ๑๓ หลัก ใหใสตามท่ีกําหนดอยูในบัตร

ประจําตัวประชาชน หรือทะเบียนบานของนักเรียนเอง การลงรหัสเลขท่ีบัตรประชาชนของนักเรียนจะเปนขอมูลท่ีสําคัญอยางย่ิงสามารถสืบคนขอมูลยอนกลับมาดูภายหลังได สําหรับนักเรียนที่ไมมีเลขประจําตัวประชาชน ใหใชรหัสโรงเรียน ๑๐ หลักแรกตามดวยลําดับนักเรียนท่ีไมมีเลขประจําตัวประชาชน ๓ หลัก เร่ิมท่ี ๐๐๑, ๐๐๒, … รวมเปน ๑๓ หลัก

เพศ มีจํานวน ๑ หลัก กรอกตามเพศของผูเขาสอบ โดย เพศชาย = ๑เพศหญิง = ๒

เด็กพิเศษ นักเรียนท่ีเปนเด็กพิเศษท่ีมีความบกพรอง (ท่ีไมรุนแรง) ใหกรอกรหัสตามประเภทของความบกพรอง (เด็กปกติ เวนวางไว) ท่ีระบุหมายเลขรหัสไว คือ

สายตา (บอด) = ๐๑ การเรียนรู (เขียน) = ๐๗สายตา (เลือนราง) = ๐๒ การเรียนรู (คิดคํานวณ) = ๐๘การไดยิน = ๐๓ การพูด = ๐๙สติปญญา = ๐๔ พฤติกรรม = ๑๐รางกาย = ๐๕ ออทิสติก = ๑๑การเรียนรู (อาน) = ๐๖ ซอน = ๑๒

Page 15: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 15

การนําผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลถึงตัวผูเรียน และปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และการกํากับดูแลแนวทางการจัดการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ใหเปนไปตามนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตรท่ี ๑ พัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกระดับ ทุกประเภทเปาหมายที่ ๑ นักเรียนระดับกอนประถมศึกษามีพัฒนาการที่เหมาะสมตามชวงวัยและไดสมดุลและนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามชวงวัยและมีคุณภาพทุกสวนในระบบการศึกษาตั้งแตสวนกลาง สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา โรงเรียน จําเปนตองนําผลจากการประเมินมาวิเคราะหและจัดทําเปนแผนการยกระดับคุณภาพการศึกษา ในทุกระดับอยางเปนรูปธรรม ตั้งแตแผนการพัฒนาตัวผูเรียนรายบุคคล การพัฒนาสภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน สภาพปญหาและความตองการ บริบทในการบริหารจัดการ การกํากับดูแลการจัดการเรียนการสอนของเขตพื้นท่ีการศึกษา ดังนี้

๑. การนําผลการประเมินไปยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตองดําเนินการท้ังระบบ โดยกําหนดบทบาทของสวนกลางวาแตละสํานักมีกิจกรรมอะไรบางจะสามารถสงเสริมและสนับสนุนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิของเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยศึกษานิเทศกรวมกับศูนยเครือขายเปนผูนําในการขับเคล่ือนการยกระดับ และโรงเรียน ครูผูสอนตองมีความรูความสามารถดานการวัดผล โดยท้ังหมดนี้จะตองมีโครงการ กิจกรรม และงบประมาณในการดําเนินงาน

๒. คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๗ รวมกันวางแผนการพัฒนา โดยกําหนดใหผูรับผิดชอบในแตละสํานักท่ีเกี่ยวของกับการยกระดับคุณภาพการศึกษา เขียนเปนแผนยกระดับท่ีเปนรูปธรรม

๓. มีระบบการติดตามและประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับจุดเนนในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

๔. เขตพื้นท่ีการศึกษา อาจวิเคราะหผลภาพรวมของแตละโรงเรียน และภาพรวมของเขตพื้นท่ีการศึกษา รวมท้ังวิเคราะหปจจัย กระบวนการ แนวทางในการสงเสริม ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา กําหนดเปนโครงการ/กิจกรรมในการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนในเขตพื้นท่ีการศึกษา

๕. โรงเรียนวิเคราะหผลภาพรวม เปรียบเทียบผลการประเมินกับผลภาพรวมระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และเปรียบเทียบผลระหวางปการศึกษา ๒๕๕๖ และปการศึกษา ๒๕๕๗ เพื่อดูพัฒนาการของโรงเรียน และทราบถึงจุดท่ีตองเรงดําเนินการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนของตน จัดทําเปนแผนยกระดับ โครงการ/กิจกรรม และกําหนดเปาหมายในการพัฒนา

๖. โรงเรียนวิเคราะหผลรายบุคคลของนักเรียน ท่ีสะทอนถึงความสามารถของผูเรียนในแตละดาน สงตอขอมูลใหครูผูสอนในระดับประถมศึกษาปท่ี ๔ เพื่อใหทราบถึงจุดเดนจุดดอยท่ีตองเรงพัฒนา และปรับปรุงเปนรายบุคคล เพื่อใหครูผูสอนสามารถปรับปรุงและพัฒนาผูเรียนไดอยางถูกตอง

การนําผลการประเมินไปใช

Page 16: คู มือการจัดสอบNT ป.3 (สําหรับสถาน ... school.pdfค ม อการจ ดสอบNT ป.3 (ส าหร บสถานศ

คูมือการจัดสอบฯ หนา 16

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘

------------------------------------------โดยท่ีเห็นสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการปฏิบัติของผูกํากับหองสอบให

เหมาะสมยิ่งข้ึน และใหสอดคลองกับกฎหมายระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการและกฎหมายการศึกษาแหงชาติ

อาศัย อํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไวดังนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบยีบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘”ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับ การสอบ พ.ศ. ๒๕๐๖ระเบียบนี้ใหใชบังคับแกผูมีหนาท่ีกํากับการสอบสําหรับการสอบทุกประเภทในสวนราชการและ

สถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และใหหมายความรวมถึงผูมีหนาท่ีกํากับการสอบในสถานศึกษาท่ีอยูในกํากับดูแล หรือสถานศึกษาท่ีอยูในความควบคุม ของกระทรวงศึกษาธิการดวย ยกเวนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ขอ ๔ ผูกํากับการสอบตองปฏิบัติดังนี้๔.๑ ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนเก่ียวกับการสอบไปถึงสถานท่ีสอบกอนเวลาเริ่มสอบตามสมควร

หากไมสามารถปฏิบัติไดดวยเหตุผลใด ๆ ใหรีบรายงานผูบังคับบัญชาทราบโดยดวน๔.๒ กํากับการสอบใหดําเนนิไปดวยความเรียบรอย ไมอธิบายคําถามใด ๆ ในขอสอบแกผูเขาสอบ๔.๓ ไมกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวนแกผูเขาสอบ รวมท้ังไมกระทําการใด ๆ อันเปนการทํา

ใหการปฏิบัติหนาท่ีของผูกํากับหองสอบไมสมบูรณ๔.๔ แตงกายใหสุภาพเรียบรอยตามแบบท่ีสวนราชการหรือสถานศึกษากําหนด หากผูกํากับการ

สอบไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ใหผูบังคับบัญชาพิจารณาความผิดและลงโทษตามควรแกกรณีขอ ๕ ผูกํากับการสอบมีความประมาทเลินเลอ หรือจงใจ ละเวน หรือรูเห็นแลวไมปฏิบัติตามหนาท่ี

หรือไมรายงานตอหัวหนาจนเปนเหตุใหมีการทุจริตในการสอบเกิดข้ึน ถือวาเปนการประพฤติผิดวินัยรายแรงขอ ๖ ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘

ลงชื่อ จาตุรนต ฉายแสง(นายจาตุรนต ฉายแสง)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ