การท าอาหารปลาอย่างง่าย เพื่อ...

Preview:

Citation preview

การท าอาหารปลาอย่างง่ายเพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์น้ า

เรียบเรียงโดยประมุข ฤๅแก้วมา

นักวิชาการประมงช านาญการศูนย์วิจยัและพัฒนาประมงน้ าจืดสกลนคร

ต้นทุนมากกวา่ร้อยละ 80 ของการเลี้ยงปลาอยู่กับอาหารปลา ยกตัวอย่างเชน่จากการเล้ียงในบ่อซีเมนตก์ลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร

ปล่อยปลา 100 ตัวโดยให้อาหารปลาดุกแบบเม็ดลอยน้้ามีผลการเลี้ยงพอพอสรุปได้ดังนี้

ต้นทุน ค่าพนัธุ์ปลาดกุ 100 ตัวๆละ 0.2 บาทรวม 20 บาท ค่าอาหารปลาดุก 15 กก.ๆละ 22.50 บาทรวม 337.50 บาท รวมต้นทุน 357.50 บาท รายได้ ปลาดุก 10 กก.ๆละ 45 บาท รวม 450 บาท ก้าไร(9.25 ต่อกิโลกรัม) 92.5 บาท

ต้องท าจากวัตถุดิบคุณภาพดี ไม่ปนเปื้อนสารเคมี, ยาฆ่าแมลง, สารพิษจากเชื้อรา และสารต้องห้ามอื่นๆ เกินค่าที่ก าหนด

ใหม่ สด กลิ่นหอม มีสารอาหารครบถ้วนเพียงพอ มีความคงทนในน้ าได้ดี การเก็บรักษาถูกวิธี

เพียงพอและเหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ควรให้อาหารสดในปริมาณมาก มีการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลการให้อาหาร การให้ยาเสริมเมื่อจ าเป็น มีระยะหยุดยา

1.เลือกอาหารให้ถูกต้องกับชนิดของสัตว์น้้าที่เลี้ยง2.เลือกขนาดและรูปแบบของอาหารให้เหมาะสมกับขนาดของสัตว์น้้า

3.พิจารณาวัตถุดิบที่ใช้เป็นองค์ประกอบของอาหารสัตว์น้้า

4.กลิ่น :- หอม ไม่เหม็นหืน

5.สี :- สม่้าเสมอ

6.ความสดของอาหาร และอายุของอาหาร7.สิ่งเจือปน 8.ฝุ่น(อาหารที่ดีควรมีฝุ่นไม่เกิน 2 %)9.ความคงทนของอาหารในน้้า

10.เลือกซื้ออาหารสัตว์น้้าที่มีทะเบียนทะเบียนอาหารสัตว์น้า้ที่ขึ้นทะเบียนอาหารกบักรมประมง ทะเบียนอาหารสัตว์เลขที่ ป.01 01 44 0116

ทะเบียนอาหารสัตว์น้า้ที่ขึ้นทะเบียนอาหารกบักรมปศุสัตว์ ทะเบียนอาหารสัตว์เลขที่ 01 01 45 0099

**เลขทะเบียนอาหารสัตว ์ ป. 12 34 56 7890

เลขล าดับที่ 3 - 4 หมายถึง ประเภทของชนิดอาหารสัตว์

01 = อาหารสัตว์ผสมส าเร็จรูป 02 = หัวอาหารสัตว์

03 = สารผสมล่วงหน้า 04 = อาหารเสริมส าหรับสัตว์

ป. = เป็นเลขทะเบียนอาหารสัตว์ที่ออกโดยกรมประมง

เลขล าดับที่ 1 - 2 หมายถึง ประเภทใบอนุญาตของผู้ที่ขอขึ้นทะเบีย

01 = อาหารสัตว์น้ าที่ผลิตในประเทศไทย

02 = อาหารสัตว์น้ าที่น าเข้าจากตา่งประเทศ

เลขทะเบียนอาหารสัตว ์ ป. 12 34 56 7890

เลขล าดับที่ 5 - 6 หมายถึง ปพี.ศ.ที่ออกเลขทะเบียน

เลขล้าดับที่ 7 - 0 หมายถึง ลา้ดับของเลขทะเบียนในปีนั้น

ป. = เป็นอาหารสัตว์น้ าที่ได้รับทะเบียนอาหารสัตว์จากกปม.

02 = เป็นอาหารสัตว์น้ าน าเข้าจากตา่งประเทศ

01 = เป็นอาหารสัตว์ผสมส าเร็จรูป

45 0073 = เป็นอาหารสัตว์น้ าที่ได้รับทะเบียนอาหารสัตว์ในปีพ.ศ.2545

ล าดับที่ 73

ตัวอย่าง ป.02 01 45 0073

11.ต้องซื้ออาหารที่ยังไม่หมดอายุ

ดูที่ฉลากอาหารสัตว์น้้า

มีข้อความภาษาไทย แสดงไว้ดังนี้1.ชื่ออาหารสัตว์ทางการค้า2.เลขทะเบียนอาหารสัตว์3.ชื่อผู้ผลิตและสถานที่ผลิต และชื่อผู้น้าเข้าและสถานที่น้าเข้า (กรณีอาหารน้าเข้าจากต่างประเทศ)

4.น้้าหนักสุทธิของอาหารสัตว์ (กรัม, กิโลกรัม)5.ชือ่วัตถุดิบส้าคัญซึ่งใช้เป็นส่วนผสม6.คุณภาพทางเคมีของอาหารสัตว์7.วัน เดือน ปี ที่ผลิตอาหารสัตว์ และวนั เดือน ปี

ที่อาหารสัตว์หมดอายุ8.วธิีใช้

สถานที่เก็บอาหารสัตว์น้ าควรมีลักษณะดังนี้1.เป็นโรงเรือนโปร่ง อากาศถ่ายเทไดด้ี

2.ปราศจากหนูและแมลง3.มีหลังคาคลุม

4.ไม่ควรวางอาหารบนพื้นโดยตรง

-เกษตรกรควรปิดถุงหรือภาชนะบรรจุอาหารสัตว์น้ าให้สนิทหลังการเปิดใช้แล้ว-สารผสมล่วงหน้าเมื่อเปิดใช้แล้วให้เก็บไว้ในภาชนะหรือที่มิดชิด หรือไม่ให้ถูกแสงโดยตรง ซึ่งจะท าให้วิตามินถูกท าลาย

ปัจจัย ท่ีส่งผลต่อการเจริญเติบโตของปลา นอกจากเรื่องคุณภาพน้้าพันธุ์ปลา และการจัดการฟาร์มแล้ว อาหารปลาถือว่าเป็นปัจจัยที่ส้าคญัเพราะอาหารท่ีปลากินเข้าไปจะเปลี่ยนเป็นเนื้อปลา หรือ น้้าหนักปลานั่นเองงานศึกษาและพัฒนาด้านประมงเห็นว่าต้นทุนส่วนใหญ่ของการเล้ียงสัตว์น้้ามากกว่าร้อยละ 80 มาจากอาหารสัตว์น้้าหากลดต้นทุนสว่นนี้ได้ก็น่าจะท้าให้เกษตรกรมผีลก้าไรจากการเลี้ยงสัตว์น้้ามากขึ้น

โดยการผลิตอาหารสัตว์น้้าใช้เองแบบง่ายๆนี้ ใช้วตัถุดิบที่หาได้ง่ายในพื้นท่ี เช่น ร้าอ่อน ปลายข้าวบด ข้าวโพดบด ใบกระถิน และปลาป่น เป็นต้น

การท้าอาหารปลาอย่างง่าย

ความต้องการโปรตีนของปลาแต่ละชนิด ซึ่งจะสัมพันธ์กบัระบบการย่อยอาหารของปลาแต่ละชนิด

ปลาเฉาฮือ้ปลาเล่งฮื้อปลาแรด

ปลาเฉาฮ้ือ

ปลาเล่งฮื้อ

มีอัตราส่วนประมาณ 2.16 %

ปลาเฉาฮ้ือ

ปลาตะเพียนขาว

ปลานิล

ปลายี่สกเทศ

ปลาไน

ปลากาด้า

ปลาสวาย

มีอัตราส่วนประมาณ 2.04 %

ปลาไน

ปลากินพืช เช่น ปลาจีน เฉาฮื้อ ลิ้นฮื้อ ต้องการอาหารที่มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนร้อยละ 25

ปลากินรวม เช่น ปลานิล ปลาสวาย ปลาไน ปลายี่สกเทศ ปลานวลจนัทร์เทศ ต้องการอาหารที่มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนร้อยละ 30

ปลากินเนื้อ เช่น ปลาดุก ปลาช่อน ปลากดเหลอืง ปลาหมอไทย ต้องการอาหารที่มีเปอรเ์ซ็นต์โปรตีนร้อยละ 35

โปรตีน หน้าที่แซ่มแซมส่วนที่สึกหรอสร้างเซลล์เก่าแทนเซลล์ใหม่ ช่วยในการเจริญเติบโตของร่างกาย

ไขมัน หน้าที่เป็นโครงสร้างของเนื้อเยื่อและเป็นแหล่งพลังงาน

คาร์โบไฮเดรต หน้าที่เป็นแหล่งพลังงาน วิตามิน ใช้ในการเจริญเติบโต(ใช้น้อยแต่จ าเป็น) แร่ธาตุ

โปรตีน ปลาป่น ปลาสด เลือดป่น กุ้งป่น เศษไก่ป่น ไส้ไก่ ผลิตภัณฑ์จากนม(หางนม) เปลือกกุ้ง และผลิตภัณฑ์จากพืช เช่น ข้าวโพด ข้าวสาลี กากถั่วเหลือง กากเมล็ดฝ้าย กากถั่วลิสง ใบกระถินบด ส่าเหล้า เป็นต้น

ปลายข้าว ร า ข้าวโพด ข้าวฟ่าง มันสัมปะหลัง

น้้าตาลทราย กากน้้าตาล กากผงชูรส และไขมันชนิดต่างๆ(ไม่ควรเกิน 5%)ในสูตรอาหาร

สารเหนียว ช่วยให้อาหารเกาะตัวไม่ละลายน้ าง่าย อัลฟ่าสตาซท์ จ าเป็นในอาหารกุ้ง อาหารกบ

สารแต่งกลิ่น ช่วยดึงดูดการกินอาหารของปลา เช่น กลิ่นจากปลา ปู กุ้ง หอย หมึก ตับวัวป่น

สารกันหืนและกันรา

นายปาน ไชยทักษณิ เกษตรกรบ้านดอนแก้ว อ้าเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี

เป็นเกษตรกรตัวอยา่งที่ท้าอาหารปลาใช้เองในฟาร์มโดยใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายในพื้นที่ ประกอบด้วย ร้าอ่อนปลายข้าวบด ข้าวโพดบด และปลาป่น

1. เตรียมวัตถุดิบที่ใช้ท้าอาหารโดยการชั่งดังนี้ ร้าอ่อน 5 กก. ปลายข้าวบด 2 กก. ข้าวโพดบด 2 กก. และปลาป่น 1 กก.2. ผสมวัตถุดิบคลุกเคล้าให้เข้ากันใน

ภาชนะ

3. เติมน้้าประมาณ 2 ลิตร

4.น้าส่วนผสมวัตถุดิบเข้าเครื่องอัดเม็ด

ร้าอ่อน ราคา 12-15 บาท/กก.

ปลายข้าว ราคา 12-15 บาท/กก.

ปลาป่น ราคา 30 บาท/กก.

ข้าวโพดบด ราคา 10 บาท/กก.

ดังนั้นต้นทุนในการท าอาหารปลาอัดเม็ดแบบจม

โดยไม่คิดค่าแรงประมาณ 9 บาท ต่อ กิโลกรัม

ปลาป่น 20 ส่วนกากมะพร้าว 20 ส่วนกากถั่วเหลือง 10 ส่วนร้า 30 ส่วนกากผงชูรส 20 ส่วน

ปลาป่น 5 ส่วนกากมะพร้าว 30 ส่วนกากถั่วเหลือง 45 ส่วนร้า 18 ส่วนสารเหนียว 2 ส่วน

ปลาเป็ด 30 ส่วนร้า 70 ส่วน

ปลาเป็ด 60 ส่วนร้า 40 ส่วน

ปลาป่น 12 ส่วนปลายข้าว 20 ส่วนกากถั่วเหลือง 23 ส่วนร้า 40 ส่วนใบกระถิน 4 ส่วน

ปลาป่น 15.8 ส่วน(1.58 kg)ปลายข้าว 13 ส่วน(1.3 kg)กากถั่วเหลือง 35 ส่วน(3.5 kg)ร้า 33 ส่วน(3.3 kg)วิตามินรวม 0.2 ส่วน(0.02 kg)น้้ามันตับปลา 3 ส่วน(0.3 kg)

อาหารผสมอัดเม็ด อาหารผสมแบบอัดเม็ดเป็นอาหารที่สะดวกในการใช้ การเก็บรักษา มีปริมาณและคุณค่าอาหารที่แน่นอน

การเตรียมอาหารผสม จะเตรียมจากวัตถุดิบชนิดต่าง ๆ น ามาผสม กันตามสูตร อาหารผสมนี้ลูกกบจะไม่ค่อยคุ้นเคยต้องหัดให้กินโดยในระยะแรกอาจจะผสมปลาเป็ดให้ มากไว้ก่อนแล้วค่อยๆ ลดปลาเป็ดลงจนเหลือแต่อาหารผสมล้วน ๆ

สูตรอาหารกบสูตร 1 โปรตีนประมาณ 40%(ให้ลกูกบหางเริ่มหดถึง1-1.5เดือน)

วัตถุดิบปลาป่น(โปรตีน 58-60%) 43%กากถั่วเหลือง 27%สารเหนียว (อัลฟาสตาซท)์ 5%ปลายข้าว (บดละเอียด) 20%วิตามินและแร่ธาตุรวม 0.5-1%วิตามินซี 0.1%น้้ามันหมู น้้ามันพืชหรือน้้ามันปลา4%

สูตรอาหารกบสูตร 2 โปรตีนประมาณ 34%(ลูกกบ1.5-3.5-4เดือน)

วัตถุดิบปลาป่น(โปรตีน 58-60%) 33%กากถั่วเหลือง 30%ร้าละเอียด 4%สารเหนียว (อัลฟาสตาซท์) 5%ปลายข้าว (บดละเอียด) 24%วิตามินและแร่ธาตุรวม 0.5-1%วิตามินซี 0.1%น้้ามันหมู น้้ามันพืชหรือน้้ามันปลา3%

สูตรอาหารกบสูตร 3 โปรตีนประมาณ 30%(กบก่อนจับขาย 2 สัปดาห)์

วัตถุดิบปลาป่น(โปรตนี 58-60%) 27%กากถั่วเหลือง 35%ร้าละเอียด 6%สารเหนียว (อัลฟาสตาซท)์ 5%ปลายข้าว (บดละเอียด) 24%วิตามินและแรธ่าตุรวม 0.5-1%วิตามินซี 0.1%น้้ามันหมู น้้ามันพชืหรือน้้ามันปลา2%

สูตรส้าหรับผลิตอาหาร 100.00 กิโลกรัม 1. ปลาป่น 56 กิโลกรัม 2. ร้าละเอียด 12 กิโลกรมั 3. กากถั่วเหลือง 12 กิโลกรัม 4. แป้งเหนียว 14 กิโลกรัม 5. น้้ามันปลา 4 กิโลกรัม 6. วิตามิน + แร่ธาตุ 1.6 กิโลกรัม 7. สารเหนียว 0.4 กิโลกรมั

การค้านวณสูตรอาหารโดยวิธีใช้รูปสี่เหลี่ยม

วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้มากเหมือนกับวิธีลองผิดลองถูก โดยจะมีหลักการที่ส้าคัญดังน้ี คือ ต้องแบ่ง วัตถุดิบอาหารสัตว์ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ วัตถุดิบที่มีโปรตีนสูง และวัตถุดิบที่มีโปรตีนต่้า แล้วเขียนค่าเปอร์เซ็นต์ไว้มุมซ้ายของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยเขียนเปอร์เซ็นต์โปรตีนของวัตถุดิบที่มีโปรตีนสูงไว้ มุมซ้ายล่าง และเปอร์เซ็นต์โปรตีนของวัตถุดิบที่มีโปรตีนต่้าไว้มุมซ้ายบน จากนั้นจึงน้าค่าเหล่านี้มาหักลบกับเปอร์เซ็นต์โปรตีนที่ต้องการให้มีในสูตรอาหาร ซึ่งเขียนไว้ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้วจึงน้าค่าที่หักลบแล้วมาค้านวณสูตรอาหาร วิธีเขียนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสอาจแบ่งย่อยได้ 2 กรณี คือ

ตัวอย่างที่ จงค้านวณสูตรอาหารปลาดุกซึ่งต้องการผลิตให้มีโปรตีน 35% จ้านวน 100 กิโลกรัม โดยใช้ปลาเป็ดและกากถั่วเหลอืงเป็นสว่นผสม ก้าหนดให้ปลาเป็ด และกากถั่วเหลอืงมีโปรตีน 20 และ 45 % ตามล้าดับ

ขั้นตอนที่ 1 : เขียนรูปสี่เหลี่ยม และใส่เปอร์เซ็นต์โปรตีนที่ต้องการให้มีลงตรงกลาง ขั้นตอนที่ 2 : ใส่เปอร์เซ็นต์โปรตีนของกากถั่วเหลืองซึ่งมีโปรตีนสูงไว้มุมซ้ายล่าง และ

เปอร์เซ็นต์โปรตีน ของปลาเป็ดซึ่งมีโปรตีนต่้าไว้มุมซ้ายบนแล้วหักลบค่าเหล่านั้นกับเปอร์เซ็นต์โปรตีนที่ต้องการให้มีไว้ที่มุมตรงข้ามของวัตถุดิบอาหารสัตว์

ดังนั้น สัดส่วนของปลาเป็ดและกากถั่วเหลืองในอาหารผสมมีค่ารวม 10 + 15 = 25 ส่วน

ปลาเป็ด

กากถั่วเหลือง

3520

45

10

15

= 25

ค้านวณปริมาณปลาเป็ด และกากถั่วเหลืองในสูตร อาหาร 100 กิโลกรัม ไดด้ังนี้ อาหารผสม 25 กิโลกรมั ต้องมีปลาเป็ด 10 กโิลกรมั อาหารผสม 100 กิโลกรมั ต้องมปีลาเป็ด (10/25) x 100 = 40 กิโลกรมั อาหารผสม 25 กิโลกรมั ต้องมีกากถั่วเหลอืง 15 กิโลกรมั อาหารผสม 100 กิโลกรมั ตอ้งมีกากกถั่วเหลือง (15/25) x 100 = 60

กิโลกรมั

ตรวจสอบเปอร์เซ็นต์โปรตีนในสูตรอาหาร ชนิดของวัตถุดิบจ้านวน(กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม)

ปลาเป็ด:กากถั่วเหลือง 40 :60

40 x (20/100) = 860 x (45/100) = 27

8+27=35

จงค้านวณสูตรอาหารปลาดุกซึ่งต้องการผลิตให้มีโปรตีน 35 % จ้านวน 100 กิโลกรัม โดยใช้ปลาป่น กากถั่วเหลือง เมล็ดข้าวโพดบด ร้า และมันเส้นเป็นส่วนผสม ก้าหนดให้ปริมาณโปรตีนของปลาป่น กากถั่วเหลือง เมล็ดข้าวโพด ร้า และมันเส้นมีค่าเป็น 60 , 45, 7, 12 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดบั

ข้าวโพดบด+ร้า+มันเส้น

ปลาป่น+กากถั่วเหลือง

35

60+45=105105/2=52.5

17.5

28

= 45.5

7+12+2=2121/3=7

แบ่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ออกเป็นกลุ่มที่มีโปรตีนสูงและโปรตีนต่้า โดยใช้เกณฑ์แบ่งที่ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วหาค่าเฉลี่ยได้ ดังนี้อาหารกลุ่มที่มีโปรตีนสูง (ปลาป่น + กากถั่วเหลือง) มีโปรตีนเฉลี่ย

(60 + 45) / 2 = 52.5 เปอร์เซ็นต์ อาหารกลุ่มท่ีมีโปรตีนต่้า (เมล็ดข้าวโพด + ร้า + มันเส้น) มีโปรตีนเฉลี่ย (7 + 12 + 2) / 3 = 7 เปอร์เซ็นต์ จากนั้นใส่เปอร์เซ็นต์โปรตีนของอาหารกลุ่มที่มีโปรตีนสูงไว้มุมซ้ายล่างและ

เปอร์เซ็นต์โปรตีนของอาหาร ที่มีโปรตีนต่้าไว้มุมซ้ายบน แล้วหักลบค่าเหล่านั้นกับเปอร์เซ็นต์โปรตีนที่ต้องการให้มีไว้ที่มุมตรงข้ามของวัตถุดิบ อาหารสัตว์

ดังนั้น สัดส่วนของวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีโปรตีนสูงและโปรตีนต่้ามีค่ารวม 17.5+28 = 45.5 ส่วน

ค้านวณสัดสว่นวัตถุดิบอาหารสัตว์ทีม่ีโปรตีนสูงและโปรตีนต้่าในสูตรอาหาร 100 กิโลกรัม ได้ดังนี้ อาหารผสม 45.5 กิโลกรัม ตอ้งมีปลาป่นและกากถั่วเหลอืงรวม 28 กิโลกรมั เมล็ดขา้วโพดบด ร้าและมันเส้นรวม 17.5 กก.

ดังนั้นอาหารผสม 100 กิโลกรัมจะหาปริมาณทั้งหมดได้จาก

อาหารผสม 45.5 กิโลกรัม ตอ้งมีเมล็ดขา้วโพดบด ร้าและมันเส้นรวม 17.5 กก.อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้งมีเมล็ดขา้วโพดบด ร้าและมันเส้นรวม (17.5/45.5) x 100 = 38.46 กก. ฉะนั้นจึงมีเมล็ดขา้วโพดบด รา้ และมันเส้นอย่างละเท่า ๆ กัน คอื38.46/3 = 12.82 กก.

อาหารผสม 45.5 กิโลกรัม ตอ้งมีปลาป่นและกากถั่วเหลืองรวม 28 กก.อาหารผสม 100 กิโลกรัม ตอ้งมีปลาป่นและกากถั่วเหลืองรวม (28/45.5) x 100 =61.54 กก. ฉะนั้นจึงมีปลาป่นและกากถัว่เหลืองอยา่งละเทา่ ๆ กัน คอื 61.54/2 = 30.77 กก.

ชนิดของวัตถุดิบจ้านวน(กิโลกรัม) ปริมาณโปรตีน (กิโลกรัม) ปลาป่น กากถั่วเหลือง เมล็ดข้าวโพดบด ร้า มันเส้น

รวม30.77+30.77+12.82+12.82+12.82=100 30.77 x (60/100) = 18.4630.77 x (45/100) = 13.8512.82 x (7/100) = 0.9012.82 x (12/100) = 1.5412.82 x (2/100) = 0.25

รวม 35

อาหาร สิ่งแวดล้อม

ปลา

ก้าไร

อาหารและการผลิตสัตว์น้ า กรมประมง อาหารปลา. วีรพงศ ์ วุฒิพันธุ์ชยั. มหาวิทยาลัยบูรพา.

Recommended