ไทยกับอาเซียน แผนงานการจัด...

Preview:

Citation preview

ไทยกับอาเซียน

แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint)

ประโยชน์และผลกระทบจาก AEC

การรองรับผลกระทบจาก AEC

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015)

ตารางด าเนินการ Strategic Schedule

„ พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint)

ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)

ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC)

4

ฟฟผฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟหหห ห

3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค

ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่

สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs

1. เป็นตลาดและฐานการผลิตรว่ม

สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี

ท าธุรกิจบริการได้อย่างเสรี

ลงทุนได้อย่างเสร ี

แรงงานมีฝีมือไปท างานได้อย่างเสรี

เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น

2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน

e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์)

นโยบายภาษ ี

นโยบายการแข่งขัน

สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา

การคุ้มครองผ้บูริโภค

พัฒนาโครงสร้างพื่นฐาน

4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกจิโลก

ท า FTAs กับประเทศนอกอาเซยีน

ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ

AFTA - CEPT

AFAS

AIA

ความตกลงเปิดเสรีของอาเซียน -- โฉมหน้าปัจจุบัน

สินค้า

บริการ

ลงทุน

ATIGA

AFAS

ACIA

6

Mode 1:การให้บริการข้ามพรมแดน

Mode 2:การบริโภคในต่างประเทศ

Mode 3:การจัดตั้งธุรกิจ

Mode 4:การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา

การจ าแนกประเภทบุคลากรในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ Mode 4 •ผู้เข้ามาติดต่อธุรกิจ (Business Visitors หรือ BV) •ผู้โอนย้ายภายในบริษัทข้ามชาติ (Intra-Corporate Transferees หรือ ICT) •ผู้เข้ามาให้บริการตามสัญญาจ้าง (Contractual Service Suppliers หรือ CSS) •ผู้ให้บริการวิชาชีพอิสระ (Independent Professional หรือ IP) •บุคลากรประเภทอื่น ๆ (Other Categories) เช่น “Installers”

15

การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี

16

เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint

อ านวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตท างาน

ท าข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs)

การจ าแนกประเภทบุคลากรในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ Mode 4 •ผู้เข้ามาติดต่อธุรกิจ (Business Visitors หรือ BV) •ผู้โอนย้ายภายในบริษัทข้ามชาติ (Intra-Corporate Transferees หรือ ICT) •ผู้เข้ามาให้บริการตามสัญญาจ้าง (Contractual Service Suppliers หรือ CSS) •ผู้ให้บริการวิชาชีพอิสระ (Independent Professional หรือ IP) •บุคลากรประเภทอื่น ๆ (Other Categories) เช่น “Installers”

ประเภทของบุคลากรที่มีการเปิดเสรี Mode 4

การท าความตกลงยอมรับร่วมด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก ของอาเซียน (MRA: Mutual Recognition Agreement)

เป็นการยอมรับร่วมเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขในการได้รบัอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ

ผู้มีวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพ่ือประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ ทั้งนี้ จะต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของ

ประเทศนั้นๆในการอนุญาตการประกอบวิชาชีพสาขานั้น ๆ ด้วย

เป็นการอ านวยความสะดวกในการขออนุญาตประกอบวิชาชีพในอาเซียนอื่น

นักวิชาชีพที่ประสงค์ไปท างานในอาเซียนอื่น จะต้องผ่านการประเมินจากคณะกรรมการก ากับดูแล (Monitoring Committee) และขึ้นทะเบียนกับหน่วยงาน

ที่ประเทศน้ัน ๆ ก าหนดให้เป็นหน่วยงานพิจารณาขึ้นทะเบียนวิชาชีพที่เกี่ยวข้องนั้น ซึ่งจะออกใบรับรองคุณสมบัติสมรรถนะให้

การจัดท าข้อตกลงยอมรับรว่ม หรือ MRA ที่ใช้กับการค้าบริการ จะเน้นเรื่อง การยอมรับร่วมเรื่องคุณสมบัติของผู้ให้บริการ โดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็นนักวิชาชีพ เช่น แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี เป็นต้น คุณสมบัติที่มี การเจรจาเพื่อยอมรับกันก็คือ การศึกษา ประสบการณ์การท างาน และอาจรวมไปถึงใบอนุญาตในการท างาน ซึ่งล้วนเป็นคุณสมบัติที่เป็นเงื่อนไขในการได้รับอนญุาตใหป้ระกอบวิชาชีพในประเทศหนึ่ง ๆ

ข้อตกลงยอมรับร่วม 7 ฉบับ ข้อตกลงยอมรับร่วม

1. นักส ารวจ 2. นักบัญชี 3. ทันตแพทย์ 4. พยาบาล 5. แพทย ์6. วิศวกรรม 7. สถาปัตยกรรม

19

MRA

สาขาวิศวกรรม

สาขาสถาปัตยกรรม

สาขาแพทย์

สาขาทันตแพทย ์

สาขาพยาบาล

หน่วยงานไทยผู้พิจารณา รับขึ้นทะเบียน

สภาวิศวกร

สภาสถาปนิก

แพทยสภา

ทันตแพทยสภา

สภาวิชาชีพพยาบาล

ลงนามปี 2548 มีผล 2552 ใช้กับเฉพาะประเทศสมาชิกท่ีย่ืนหนังสือเข้าร่วม

ลงนามปี 2550 มีผลทันที ใช้กับเฉพาะประเทศสมาชิกท่ีย่ืนหนังสือเข้าร่วม

ลงนามปี 2552 มีผล 6 เดือนหลังลงนาม ใช้กับทุกประเทศสมาชิก

ลงนามปี 2552 มีผล 6 เดือนหลังลงนาม ใช้กับทุกประเทศสมาชิก

ลงนามปี 2549 มีผลทันที ใช้กับทุกประเทศสมาชิก

MRA Framework - กรอบก าหนดแนวทางเพ่ือเป็นพี้นฐานการเจรจาท า MRA ในอนาคต

สาขานักส ารวจ

สาขาสถาปัตยกรรม

ลงนามปี 2550 ต้องเจรจาในรายละเอียดกันต่อ

ลงนามปี 2552 ต้องเจรจาในรายละเอียดกันต่อ

• การก าหนดสมรรถนะร่วมส าหรับวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Competency Standards for Tourism Professionals) เป็นมาตรฐานสมรรถนะขั้นต่ า สาขาการโรงแรมและสาขาธุรกิจน าเที่ยว (32 ต าแหน่ง)

• คณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพการท่องเท่ียว (Tourism Professional Certification Board หรือ TPCB) แต่ละประเทศต้องมี TPCB ท าหน้าที่ประเมินคุณสมบัติ/สมรรถนะ และออกวุฒิบัตร (Certificates)ให้บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่มีคุณสมบัต/ิสมรรถนะตามมาตรฐานที่ก าหนด

• บุคลากรวิชาชีพการท่องเท่ียวอาจมีสิทธิประกอบวิชาชีพการท่องเที่ยวในประเทศผู้รับ หากมีวุฒิบัตรที่ออกโดย TPCB อย่างไรก็ดี จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขกฎหมายและข้อบังคับของประเทศผู้รับ

21

Travel Services

9 ต าแหน่งใน 2 สาขา

Hotel Services

23 ต าแหน่งใน 4 แผนก

22

1. Front Office 1.1 Front Office Manager 1.2 Front Office Supervisor 1.3 Receptionist 1.4 Telephone Operator 1.5 Bell Boy

3. Food Production 3.1 Executive Chef 3.2 Demi Chef 3.3 Commis Chef 3.4 Chef de Partie 3.5 Commis Pastry 3.6 Baker 3.7 Butcher

2. House Keeping 2.1 Executive Housekeeper 2.2 Laundry Manager 2.3 Floor Supervisor 2.4 Laundry Attendant 2.5 Room Attendant 2.6 Public Area Cleaner

4. Food and Beverage Service 4.1 F&B Director 4.2 F&B Outlet Manager 4.3 Head Waiter 4.4 Bartender 4.5 Waiter

23

24

การเดินทาง (Travel Services) : 9 ต าแหน่งงานใน 2 สาขา

1. Travel Agencies 1.1 General Manager 1.2 Assistant General Manager 1.3 Senior Travel Consultant 1.4 Travel Consultant 2. Tour operation 2.1 Product Manager 2.2 Sales and Marketing Manager 2.3 Credit Manager 2.4 Ticketing Manager 2.5 Tour Manager

กระทรวงแรงงานเป็นเจ้าภาพในการจัดตั้ง ASEAN Unit คณะท างานประกอบด้วย กรมการจัดหางาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และส านักงานประกันสังคม เพื่อจัดท าแผนงานของหน่วยงานต่าง ๆ และน ามาบูรณาการในภาพรวมของกระทรวง ซึ่งแต่ละกรมต้องจัดตั้ง ASEAN Unit ในหน่วยงานตนเองเพื่อสนับสนุนการด าเนินงาน ASEAN Unit ในระดับกระทรวง

มีการจัดท า Road Map ในการท างานร่วมกัน เพื่อรองรับการท างานการเป็น AEC ในปี พ.ศ.2558

เตรียมความพร้อมส าหรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีในภูมิภาคอาเซียน ◦ ศึกษา วิจัย เกี่ยวกับความพร้อมส าหรับการเคลือ่นยา้ยแรงงานฝีมือเสรีในภูมิภาคอาเซียน ◦ เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรในการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ◦ สร้างกลไกสนับสนุนการเคลื่อนยา้ยแรงงานฝีมือทั้ง 7 วิชาชีพ 32 ต าแหน่งงาน กลุ่มท่องเที่ยว ◦ ท าการศึกษาข้อมูลในกลุ่มประเทศอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายแรงงาน

ทบทวนกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ◦ พระราชบัญญัติการท างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ◦ ร่าง พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ◦ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ◦ พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.2543

เตรียมการเพ่ือลดผลกระทบท่ีจะเกิดจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เช่น ◦ สร้างช่องทางให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการก าหนดทิศทางของการเคลื่อนย้ายแรงงาน ◦ การเตรียมความพร้อมด้านคุณภาพและแรงจูงใจของตลาดแรงงานไทยส าหรับสาขาอาชีพต่างๆ ◦ เตรียมมาตรการสนับสนุนส าหรับผู้ประกอบการ

1. ตั้งหน่วยงานอาเซียนของกรมพัฒนาฝมีือแรงงาน 2. เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาฝีมือแรงงาน 3. ฝึกยกระดับให้แรงงานมีทักษะหลายดา้น (Muti-Skills) 4. พัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อน าไปสูก่ารเพิ่มผลติภาพแรงงาน 5. ฝึกอบรมด้าน ICT 6. ฝึกอบรมภาษาตา่งประเทศ 7. จัดท ามาตรฐานฝีมอืแรงงานตามสมรรถนะเพื่อพัฒนาสูม่าตรฐานฝมีือแรงงานอาเซียน 8. จัดท ามาตรฐานฝีมอืแรงงาน เพื่อน าไปสู่การรบัรองความสามารถของแรงงานฝีมอืของกลุ่ม

ประเทศอาเซียน 9. อบรมเตรียมความพร้อมการบรหิารจัดการดา้นโลจิสตกิส์ 10. ตั้งคณะอนุกรรมการภายใตค้ณะกรรมการ กพร.ปช.เพื่อท าหน้าที่ศึกษา/จัดท าแผนงาน

เตรียมการรองรับ AEC เพื่อเสนอเข้าคณะกรรมการ กพร.ปช เพื่อผลักดันในการด าเนินงานการพัฒนาก าลังแรงงานในภาพรวมของประเทศ

Recommended