การตรวจสภาพจิต และการแปล ... · 2009. 11. 17. ·...

Preview:

Citation preview

i

การตรวจสภาพจิต และการแปลความหมาย

(Mental State Examination and Interpretation)

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร) บรรณาธิการ

หนังสือเลมน้ีไดรับการสนับสนุนจาก

โครงการตำรา คณะแพทยศาสตร

พ.ศ. 2552

ii

การตรวจสภาพจิตและการแปลความหมาย

ISBN 978-974-672-466-1

พิมพครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2552

จำนวน 1,000 เลม

ราคาเลมละ 190.- บาท

สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537

ขอมูลทางบรรณานุกรม

พิมพที่ : หจก.เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลปจำกัด

195-197 ถ.พระปกเกลา อ.เมือง จ.เชียงใหม

สนใจติดตอ: หนวยจิตเวชผูสูงอายุ ภาควิชาจิตเวชศาสตร

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

110 ถ.อินทวโรรส อ.เมือง จ.เชียงใหม

โทร. 053-945422

E-mail:mse_cmu@yahoo.com

www.pakaranhome.com

iii

ความดีใด ๆ หากพึงมีขออุทิศแด

บิดา มารดาของเรา

v

คำนำ

การตรวจผูปวยจิตเวชเปนงานที่แพทยหรือบุคลากรทางการแพทยบางรายกังวล เนื่องจาก

เปนทักษะท่ีตองอาศัยการฝกฝน และตองอาศัยความคิดสรางสรรครวมไปจนถึงความ

ตั้งใจ ความใสใจและความชางสังเกต นอกเหนือจากการมีความรูทางทฤษฎีแตเพียงอยาง

เดียว หลายคนอาจคิดเพียงวาแค “การสนทนา” กับผูปวยไมยากอะไร จิตแพทยที่ไดรับ

การฝกฝนจนชำนาญในการตรวจผูปวยก็ใช “การสนทนา” เปนเครื่องมือสื่อสารกับผูปวย

เชนกัน นั่นถูกเพียงสวนหนึ่ง แตประสบการณจากการเลาเรียนเมื่อครั้งยังเปนแพทย

ประจำบาน ประสบการณในการดูแลผูปวยเมื่อมาทำงานเปนจิตแพทย และเมื่อไดสอนให

นักศึกษาแพทยตรวจผูปวย ทั้งท่ีแผนกผูปวยนอก ผูปวยตางแผนกที่รับปรึกษาและท่ีหอ

ผูปวยใน รวมถึงการมีปฏิสัมพันธกับญาติและคนที่แวดลอมผูปวยทำใหผูนิพนธเรียนรูวา

การตรวจผูปวยอยางดีนั้นไมงาย

แมจิตเวชศาสตรในปจจุบันจะกาวหนาไปมาก เราสามารถแบงกลุมโรคตามเกณฑ

วินิจฉัยที่ประยุกตใชไดกับผูปวยทั่วโลก แตผูปวยสวนใหญไมไดมาพบจิตแพทยแลวบอก

ใหทราบวาเขารูสึกอยางไรหรือเปนโรคอะไร ผูปวยจิตเวชลวนแตมีปญหาในการหยั่งรูการ

เจ็บปวยของตัวเองไมมากก็นอย ผูตรวจตองใชการสังเกต ใชคลังความรูที่ไดสะสมมาจาก

การเลาเรียน รวมไปจนถึงใชประสบการณที่ไดจากการตรวจผูปวยมากอนมาชวยทำความ

เขาใจอาการของผูปวยที่กำลังตรวจอยู ที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ ตองใชความพยายามที่

จะเขาใจผูปวยอยางจริงใจ

ผูนิพนธเห็นวาเปนความแตกตางในเชงิไดเปรียบ เมื่อเทียบการสัมภาษณผูปวย

จิตเวชกับการตรวจผูปวยโรคฝายกาย เนื่องจากตั้งแตเริ่มบทสนทนา อาการของโรคทาง

จิตเวชมักแสดงออกมาใหผูสัมภาษณไดรับรู ผูรักษาหรือผูสัมภาษณที่มีความรูและ

ประสบการณยิ่งมากจะยิ่งสามารถเก็บรายละเอียดของสภาพจิตของผูปวยเพื่อนำไป

ประมวลผลไดอยางแมนยำรวมไปกับการวิเคราะหประวัติของผูปวย สภาพจิตหรืออาการ

บางอยางท่ีไมแสดงออกมาเองก็สามารถใชเทคนิคการสนทนาเกาะเกี่ยวออกมาได ซ่ึงตาง

จากผูมีประสบการณนอยที่อาจไมทันรูตัววากำลังไดขอมูลเหลานั้นหรือไดมาแลวก็ยังไม

ทราบวาจะแปลผลอยางไร

vi

เปนขอจำกัดที่หนังสืออาจเปนรูปแบบท่ีใหความไมสะดวกนักในการใชฝกฝนใหผู

เรียนเกิดความชำนาญในการประเมินสภาพจิตของผูปวย แตวัตถุประสงคของหนังสือเลม

นี้อยางหนึ่งก็เพื่อเปนการขยายความสำคัญเฉพาะสวนของการตรวจสภาพจิตออกมาจาก

การสัมภาษณประวัติ เมื่อทานศึกษาเนื้อหาและตัวอยางผูปวยจากหนังสือเลมนี้แลว คณะ

ผูนิพนธหวังวาทานจะมั่นใจมากขึ้นในการตรวจผูปวยจิตเวช

หนงัสอืเลมนีค้ณะผูนพินธไดคนควาจากแหลงเรียนรูทีเ่ปนมาตรฐาน อกีทัง้ยงับรรจุ

ตวัอยางประสบการณในการตรวจผูปวยหลายสบิรายไวดวย หนงัสือเลมนีเ้กดิจากความ

ตัง้ใจ การทุมเทแรงกายและการถายทอดการวเิคราะหผูปวยแตละรายโดยผานการวพิากษ

วจิารณในกลุมผูนพินธอยางรอบคอบ หวังวาผูอานจะไดประโยชนอยางท่ีมุงหวัง ผูฝกฝนที่

ทุมเทและจริงจังยอมประสบความสำเรจ็ในการตรวจผูปวยจติเวช

พญ.ณหทัย วงศปการันย

ภาควิชาจิตเวชศาสตร

ตุลาคม 2552

nkuntawo@med.cmu.ac.th

vii

รายนามผูนิพนธ

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ผูชวยศาสตราจารย เชี่ยวชาญจิตเวชศาสตรทั่วไปและจิตเวชศาสตรผูสูงอายุ

ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

(บรรณาธิการ email: nkuntawo@med.cmu.ac.th)

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

รองศาสตราจารย เชี่ยวชาญจิตเวชศาสตรทั่วไปและจิตบำบัด

ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

อาจารย เชี่ยวชาญจิตเวชศาสตรทั่วไปและวิจัยทางจิตเวชศาสตร

ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ผูชวยศาสตราจารย เชี่ยวชาญจิตเวชศาสตรทั่วไปและจิตเวชศาสตรยาเสพติด

ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ix

สารบัญ

คำนำ v

รายนามผูนิพนธ vii

บทนำ

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ความสำคัญของการตรวจสภาพจิต 1

ประโยชนของการตรวจสภาพจิต 3

ขอบงช้ีในการตรวจสภาพจิต 4

ประเภทของขอมูลที่ไดจากการตรวจสภาพจิต 6

การตรวจสภาพจิตโดยการสังเกต 6

เทคนิคในการตรวจสภาพจิตใหประสบผลสำเร็จ 8

การนำการสนทนาเขาสูการตรวจสภาพจิต 9

การบันทึกขณะตรวจสภาพจิต 11

เอกสารอางองิ 12

บทท่ี 1 เน้ือหาของการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 1

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ลักษณะท่ัวไปของผูปวย 13

การพูด 14

อารมณ 15

เอกสารอางอิง 17

x

บทท่ี 2 เน้ือหาของการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 2

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ความคิดและการคิด 19

การรับรู 25

ขอมูลทั่วไปหรือความรูทั่วไป 27

เอกสารอางอิง 29

บทท่ี 3 เน้ือหาของการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 3

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ประชาน 31

การรับรูเวลา สถานที่ บุคคล 32

ความตั้งใจและสมาธิ 33

ความจำ 35

ความคิดเชิงนามธรรม 36

การพิจารณาตัดสินใจ 38

การหยั่งรูสภาพความเจ็บปวย 41

เอกสารอางอิง 43

บทท่ี 4 วินิจฉัยแยกโรคจากผลการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 1

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ลักษณะท่ัวไปของผูปวย 46

ความรวมมือของผูปวย 57

เอกสารอางอิง 60

xi

บทท่ี 5 วินิจฉัยแยกโรคจากผลการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 2

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

การพูด 61

อารมณ 68

เอกสารอางอิง 78

บทท่ี 6 วินิจฉัยแยกโรคจากผลการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 3

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ความคิด 79

การรับรู 87

เอกสารอางอิง 89

บทท่ี 7 วินิจฉัยแยกโรคจากผลการตรวจสภาพจิต ตอนท่ี 4

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ประชาน 91

การพิจารณาตัดสินใจ 97

การหยั่งรูสภาพความเจ็บปวย 98

เอกสารอางอิง 103

xii

บทท่ี 8 ศึกษาตัวอยางผูปวย กลุมโรคท่ี 1

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ผูปวยรายที่ 1 110

ผูปวยรายที่ 2 113

ผูปวยรายที่ 3 116

ผูปวยรายที่ 4 118

ผูปวยรายที่ 5 121

บทท่ี 9 ศึกษาตัวอยางผูปวย กลุมโรคท่ี 2

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ผูปวยรายที่ 6 125

ผูปวยรายที่ 7 128

ผูปวยรายที่ 8 130

ผูปวยรายที่ 9 133

ผูปวยรายที่ 10 135

บทท่ี 10 ศึกษาตัวอยางผูปวย กลุมโรคท่ี 3

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ผูปวยรายที่ 11 139

ผูปวยรายที่ 12 142

ผูปวยรายที่ 13 144

ผูปวยรายที่ 14 147

ผูปวยรายที่ 15 149

ผูปวยรายที่ 16 152

ผูปวยรายที่ 17 154

xiii

ผูปวยรายที่ 18 156

ผูปวยรายที่ 19 159

ผูปวยรายที่ 20 162

ผูปวยรายที่ 21 164

บทท่ี 11 ศึกษาตัวอยางผูปวย กลุมโรคท่ี 4

ทินกร วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ศิริจิต สุทธจิตต, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

ผูปวยรายที่ 22 167

ผูปวยรายที่ 23 170

ผูปวยรายที่ 24 172

ผูปวยรายที่ 25 175

ผูปวยรายที่ 26 178

ผูปวยรายที่ 27 180

ผูปวยรายที่ 28 182

ผูปวยรายที่ 29 185

ดรรชนี 189

บทนำ

บทนำ 1

ปญหาท่ีพบบอยครั้งของผูสัมภาษณหลังตรวจสภาพจิตของผูปวยแลวก็คือไมสามารถจะ

แปลความหมายของขอมูลที่ไดมาหรือไมสามารถนำมาใชใหเกิดประโยชนกับการ

สัมภาษณได ผูที่ฝกสัมภาษณผูปวยใหมๆ เชน นักศึกษาบางรายสัมภาษณผูปวยแบบ

“เปนไปตามรูปแบบ” บางสวนที่ควรใสใจใหมากถูกละเวนไป และบางสวนที่ไมควรใชเวลา

มากก็ถามโดยที่ไมไดวางแผนหรือไมทราบวาถามไปเพื่ออะไร สวนหนึ่งอาจเกิดจากเวลา

ในการสัมภาษณมีจำกัด แตบางสวนก็พบวาผูสัมภาษณไมทราบเปาหมายที่แทจริงในการ

ตรวจสภาพจิตหรือไมทราบการแปลความหมายของขอมูลที่ไดมา

ความสำคัญของการตรวจสภาพจิต

การตรวจสภาพจิต (Mental State Examination; MSE) เปนวิธีการตรวจอยางหนึ่ง

เทียบเคียงกับการตรวจรางกายในการคนหาความผิดปกติทางกายนั่นเอง กระทำไดโดย

วิธีสังเกตและการสัมภาษณ การตรวจสภาพจิตเปนการประเมินผูปวยในดานตางๆ เหลานี ้

ไดแก การสงัเกตลกัษณะท่ัวไปของผูปวย (general appearance) อารมณ (emotion)

การพูด (speech) ความคิด (thought) การพิจารณาตัดสินใจ (judgment) การรับรู

(perception) และประชาน (sensorium and cognition) เปนตน ผูปวยจะตอบสนอง

ผูสัมภาษณดวยวาจา ความนึกคิด อารมณและพฤติกรรม ซ่ึงผูตรวจจะนำมาวิเคราะห

และตัดสินวาการตอบสนองทั้งหมดนั้น แสดงถึงการปรับตัวอยูในเกณฑปกติของสังคม

บทนำ

ณหทัย วงศปการันย, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, พ.บ., ว.ว. (จิตเวชศาสตร)

การตรวจสภาพจิตและการแปลความหมาย2

และวัฒนธรรมของเขาหรือไม นอกจากนี้การตรวจสภาพจิตยังถือเปนสวนหนึ่งของการ

ตรวจทางระบบประสาท (nervous system) อีกดวย

ผูปวยหรือญาติมักเขาใจวา ผูสัมภาษณหรือผูตรวจไมไดตรวจอะไร ดูเหมือนเปน

การ “คุย” กัน แทจริงความคิดและจิตใจน้ันเปนสิ่งท่ีจับตองและมองเห็นไมได ผูตรวจจะ

ใชการสังเกตพฤติกรรมและการสนทนาเพื่อใหทราบความรูสึกนึกคิดและอารมณของ

ผูปวย

การตรวจสภาพจิตเปนการตรวจการทำงานของสมองระดับสูง (higher brain

function) เปนการตรวจท่ีมคีวามสมบูรณและมีประสิทธิภาพพอสมควรหากตรวจอยาง

ละเอียดถี่ถวน จึงเปนสิ่งท่ีมีความจำเปนที่จะชวยใหทราบวินิจฉัยและชวยในการคนหา

พยาธิสภาพหรือหาสาเหตุของโรคได

ในการตรวจผูปวยนั้นควรคำนึงวาจะเปนการประเมินความสัมพันธสามมิติ ทั้งราง

กายของผูปวย สัมพันธภาพระหวางบุคคล และสัมพันธภาพภายในจิตใจของผูปวยเอง

พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของผูปวยก็มีสวนในการชวยประเมินความสัมพันธ

ทั้งหมดนี้

ในการประเมินขอมูลที่ไดจากผูปวยไมเพียงแตองคความรูทางคลินิกเทานั้น ยัง

ตองอาศยัความสามารถในการวเิคราะหของผูสมัภาษณเองดวย เพราะจะทำใหสามารถรูจัก

ผูปวยในบริบทของเขาวาอยูในสังคมนี้อยางไร แตในบางกรณีก็เปนการยากที่จะประเมิน

สภาพทีแ่ทจริงของผูปวยตามขอมลูจากการสมัภาษณ หรืออาจพบความขดัแยงกันของ

ขอมูลจากผูปวย ในกรณีเชนนี้ การตรวจสภาพจิตจะชวยได เพราะสามารถใชตรวจพบ

(detect) อาการเล็กๆ นอยๆ ที่ผิดปกติของผูปวยได

สิ่งท่ีพึงระวังประการหน่ึงคือ ไมควรประเมินผูปวยโดยอาศัยขอมูลที่ไดรับมาอีก

ทอดหนึ่งเปนสำคัญ ไดแก ขอมูลจากบันทึกของผูอื่นซึ่งไดผานการวิเคราะหมาแลว เชน

บันทึกเกี่ยวกับความคิดของผูปวยเขียนไววา

“ผูปวยมีภาวะหลงผิดแบบหวาดระแวง”

ขอความนี้ถือเปนการวิเคราะหของผูบันทึก แตหากเขาบันทึกไววา

“ผูปวยปกใจเชื่อวาคนขางบานมาแอบดูตามรอยแตกของไมที่ฝาผนังบอยๆ เพื่อที่

จะหาโอกาสมาขโมยทรัพยสินภายในบาน และหากเปนไปไดเขาอาจจะฆาผูปวยเสียเพื่อจะ

ไดเอาทรัพยสินตางๆ ไปไดงายดายขึ้น (เมื่อตรวจสอบกับญาติที่อาศัยในบานเดียวกันพบ

Recommended