77 จังหวัด

Preview:

Citation preview

77 จงัหวดั ในประเทศไทยวชิาสงัคมศึกษาฯ (ส21102) ชัน้ ม.1

ภาคเรยีนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559

โดยครูพณิทิพย ์ วริยิธรรมเจรญิ

โรงเรยีนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรนีครนิทร ์กาญจนบุรี

รายชื่อจงัหวดัของประเทศไทยเรยีงตามอักษร ก - ฮ 1. กรุงเทพมหานคร 2. กระบี ่3. กาญจนบุร ี4. กาฬสนิธุ ์5. กำาแพงเพชร 6. ขอนแก่น 7. จนัทบุร ี8. ฉะเชงิเทรา 9. ชลบุร ี10. ชยันาท11. ชยัภมู ิ12. ชุมพร  

13. เชยีงราย 14. เชยีงใหม ่15. ตรงั 16. ตราด 17. ตาก 18. นครนายก 19. นครปฐม 20. นครพนม 21. นครราชสมีา 22. นครศรธีรรมราช 23. นครสวรรค์ 24. นนทบุร ี25. นราธวิาส 26. น่าน 

27. บงึกาฬ 28. บุรรีมัย ์29. ปทมุธานี 30. ประจวบคีรขีนัธ ์31. ปราจนีบุร ี32. ปัตตานี 33. พระนครศรอียุธยา 34. พงังา 35. พทัลงุ 36. พจิติร 37. พษิณุโลก 38. เพชรบุร ี39. เพชรบูรณ์ 40. แพร ่41. พะเยา 

42. ภเูก็ต 43. มหาสารคาม 44. มุกดาหาร 45. แมฮ่่องสอน 46. ยะลา 47. ยโสธร 48. รอ้ยเอ็ด 49. ระนอง 50. ระยอง 51. ราชบุร ี52. ลพบุร ี53. ลำาปาง 54. ลำาพูน 55. เลย 56. ศรสีะเกษ 

57. สกลนคร 58. สงขลา 59. สตลู 60. สมุทรปราการ 61. สมุทรสงคราม 62. สมุทรสาคร 63. สระแก้ว 64. สระบุร ี65. สงิห์บุร ี66. สโุขทัย 67. สพุรรณบุร ี68. สรุาษฎรธ์านี 69. สรุนิทร ์70. หนองคาย 

71. หนองบวัลำาภ ู72. อ่างทอง 73. อุดรธานี 74. อุทัยธานี 75. อุตรดิตถ์ 76. อุบลราชธานี 77. อำานาจเจรญิ

ภาคเหนือ / 9 จงัหวดั 

1.จงัหวดัเชยีงราย  6.จงัหวดัแมฮ่่องสอน2.จงัหวดัเชยีงใหม ่ 7.จงัหวดัลำาปาง3.จงัหวดัน่าน  8.จงัหวดัลำาพูน4.จงัหวดัพะเยา 9.จงัหวดัอุตรดิตถ์5.จงัหวดัแพร ่    

2. ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ / 20 จงัหวดั  1.จงัหวดักาฬสนิธุ ์ 11.จงัหวดัรอ้ยเอ็ด 2.จงัหวดัขอนแก่น  12.จงัหวดัเลย  3.จงัหวดัชยัภมู ิ 13.จงัหวดัสกลนคร  4.จงัหวดันครพนม  14.จงัหวดัสรุนิทร ์ 5.จงัหวดันครราชสมีา  15.จงัหวดัศรสีะเกษ  6.จงัหวดับงึกาฬ  16.จงัหวดัหนองคาย 7.จงัหวดับุรรีมัย ์ 17.จงัหวดัหนองบวัลำาภ ู 8.จงัหวดัมหาสารคาม  18.จงัหวดัอุดรธานี  9.จงัหวดัมุกดาหาร  19.จงัหวดัอุบลราชธานี  10.จงัหวดัยโสธร  20.จงัหวดัอำานาจเจรญิ  

3.ภาคกลาง ม ี21 จงัหวดั   (กรุงเทพมหานครถือเป็นเขตการปกครองพเิศษ ไมใ่ช่จงัหวดั) 1.จงัหวดักำาแพงเพชร  11.จงัหวดัเพชรบูรณ์  2.จงัหวดัชยันาท  12.จงัหวดัลพบุร ี 3.จงัหวดันครนายก  13.จงัหวดัสมุทรปราการ  4.จงัหวดันครปฐม  14.จงัหวดัสมุทรสงคราม  5.จงัหวดันครสวรรค์  15.จงัหวดัสมุทรสาคร  6.จงัหวดันนทบุร ี 16.จงัหวดัสงิห์บุร ี 7.จงัหวดัปทมุธานี  17.จงัหวดัสโุขทัย  8.จงัหวดัพระนครศรอียุธยา  18.จงัหวดัสพุรรณบุร ี 9.จงัหวดัพจิติร  19.จงัหวดัสระบุร ี 10.จงัหวดัพษิณุโลก  20.จงัหวดัอ่างทอง  21.จงัหวดัอุทัยธานี 

ภาคตะวนัออก / 7 จงัหวดั  1.จงัหวดัจนัทบุร ี

2.จงัหวดัฉะเชงิเทรา 3.จงัหวดัชลบุร ี4.จงัหวดัตราด 5.จงัหวดัปราจนีบุร ี6.จงัหวดัระยอง 7.จงัหวดัสระแก้ว 

ภาคตะวนัตก / 5 จงัหวดั 

1. จงัหวดักาญจนบุร ี2. จงัหวดัตาก 3. จงัหวดัประจวบคีรขีนัธ ์4. จงัหวดัเพชรบุร ี5. จงัหวดัราชบุร ี

ภาคใต้ / 14 จงัหวดั  1.จงัหวดักระบี ่ 8. จงัหวดัพทัลงุ 

2.จงัหวดัชุมพร  9. จงัหวดัภเูก็ต  3.จงัหวดัตรงั  10. จงัหวดั

ระนอง  4.จงัหวดันครศรธีรรมราช  11. จงัหวดั

สตลู  5.จงัหวดันราธวิาส  12. จงัหวดั

สงขลา  6.จงัหวดัปัตตานี  13. จงัหวดั

สรุาษฎรธ์านี  7.จงัหวดัพงังา  14. จงัหวดั

ยะลา 

บงึกาฬ"จงัหวดัท่ี 76 ของไทยจงัหวดัล่าสดุของประเทศไทยคือจงัหวดับงึกาฬ จดัตัง้ขึ้นเมื่อ วนัท่ี 23 มนีาคม พ.ศ. 2554

• การแบง่ภมูภิาคแบบ 6 ภมูภิาค ใชเ้พื่อวตัถปุระสงค์ทาง ภมูศิาสตร์ และวทิยาศาสตร์ ซึ่งใชม้าตัง้แต่ปี พ.ศ.

2478[และจดัใหเ้ป็นการแบง่ภมูภิาคอยา่งเป็นทางการใน ปี พ.ศ. 2520 ตามการแบง่ของคณะกรรมการภมูศิาสตร์

แหง่ชาติซึ่งได้รบัการแต่งตัง้โดยสภาวจิยัแหง่ชาติ การ แบง่แบบนี้ประกอบไปด้วย 6 ภมูภิาค ได้แก่

• ภาคเหนือ• ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ• ภาคตะวนัตก• ภาคกลาง• ภาคตะวนัออก• ภาคใต้

ภาคเหนือ

ภาคเหนือ เป็นภมูภิาคท่ีอยูด้่านบนสดุของไทย มีลักษณะภมูปิระเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขา

สลับซบัซอ้น ท่ีต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพมา่ และประเทศลาว ภาคเหนือมีภมูอิากาศแบบทุ่งหญ้าสะวนันาเหมอืนกับพื้นที่

สว่นใหญ่ของประเทศ การที่มรีะดับน้ำ้าทะเลสงูและมเีสน้ละติจูดอยูต่อนบนท้ำาใหส้ภาพอากาศของ

ภาคเหนือเปล่ียนแปลงตามฤดกูาลอยา่งเหน็ได้ชดั เชน่ มฤีดหูนาวท่ีหนาวเยน็กวา่ภมูภิาคอ่ืน ๆ ทาง

ด้านประวติัศาสตรข์องภาคเหนือมคีวามสมัพนัธ์ทางวฒันธรรมกับอาณาจกัรล้านนา

ภาคอีสาน (มาจากภาษาบาลี หรอืภาษาสนัสกฤต ऐशान aiśāna  แปลวา่ "ตะวนัออกเฉียงเหนือ")

• ภาคอีสาน (มาจากภาษาบาลีหรอืภาษาสนัสกฤต ऐशान aiśāna แปลวา่ "ตะวนัออกเฉียงเหนือ")[1]

 หรอื ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ เป็นภมูภิาคหนึ่งในประเทศไทย ตัง้อยูบ่นแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแมน่้ำ้าโขงกัน้ประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวนัออกของภาค ทางทิศใต้มเีทือกเขาพนมดงรกักัน้ประเทศกัมพูชาและภาคตะวนัออกของประเทศไทย และมีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเยน็เป็นแนวกัน้ทางตะวนัตกแยกจากภาคกลางภาคอีสานยงัมเีนื้อที่มากที่สดุของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรอืมเีนื้อที่รอ้ยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทัง้หมดของประเทศไทยได้จดัวา่เป็นพื้นท่ีที่ใหญ่ที่สดุในประเทศไทย เทือกเขาที่สงูที่สดุในภาคอีสานคือ ยอดภลูมโล ภหูลวง และภกูระดึง ซึ่งเป็นต้นก้ำาเนิดของแมน่้ำ้าสายส้ำาคัญของชาวอีสานในหลายจงัหวดัด้วยกัน เชน่ แมน่้ำ้าหว้ยหลวง แมน่้ำ้าช ีล้ำาตะคอง แมน่้ำ้าพองแมน่้ำ้าเลย แมน่้ำ้าพรม แมน่้ำ้ามูล แมน่้ำ้าสงคราม

ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสานซึง่เป็นภาษาลาวสำาเนียงหน่ึง สว่นภาษาไทยกลางนิยมใชกั้นแพร่หลายโดยเฉพาะในเมอืงใหญ่ ขณะเดียวกันยงัมีภาษาเขมรท่ีใชกั้นมากในบรเิวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มภีาษาถ่ินอ่ืน ๆ อีกมาก เชน่ ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ภาษาไทยโคราช ภาษากวย สว่ย( ) เป็นต้น ภาคอีสานยงัมเีอกลักษณ์ทางวฒันธรรมท่ีโดดเด่น เชน่ อาหาร ภาษา ดนตรหีมอลำา ดนตรกัีนตรมึ ดนตรเีจรยีง และศิลปะการฟอ้นรำาท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น

ภาคตะวนัตก

• ภาคตะวนัตก เป็นภมูภิาคหน่ึงของประเทศไทย ในระบบการแบง่แบบ 6 ภมูภิาคตามคณะ

กรรมการภมูศิาสตรแ์ห่งชาติ และเป็นภมูภิาคยอ่ยของภาคกลาง ของระบบการแบง่แบบ 4

ภมูภิาค ( ซึง่รวมภาคตะวนัออก และภาคตะวนัตก) ภาคตะวนัตกมอีาณาเขตติดต่อกับประเทศพมา่ ทางทิศตะวนัตก ติดต่อกับภาคเหนือ ทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทาง

ทิศตะวนัออก และติดต่อกับภาคใต้ ทางทิศใต้ ภาคตะวนัตกประกอบไปด้วยจงัหวดัเพยีง 5

จงัหวดั แมว้า่จะจดัรวมอยูใ่นภาคตะวนัตก แต่ ในภมูภิาคน้ียงัมคีวามหลากหลาย ตามลักษณะ

ทางภมูศิาสตรซ์ึง่แตกต่างกันค่อนขา้งมาก

ภาคกลาง 

• ภาคกลาง เป็นภมูภิาคตอนกลางของประเทศไทย มพีื้นท่ีครอบคลมุท่ีราบลุ่มแมน่ำ้าเจา้พระยา ติดต่อกับภาคอีสานทางทิศตะวนัออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กัน้ ติดต่อกับภาคตะวนัตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันนำ้า พื้นน้ีเคยเป็นดินแดนท่ีสำาคัญของอาณาจกัรอยุธยา และยงัเป็นพื้นท่ีท่ีสำาคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบนั ภาคกลางเป็นภมูภิาคท่ีมกีรุงเทพมหานคร เมอืงหลวงของประเทศไทยตั้งอยู ่และมปีระชากรในภมูภิาคมากท่ีสดุในประเทศ

ภาคตะวนัออก

ภาคตะวนัออก เป็นภมูภิาคยอ่ยทางตะวนัออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นสว่นหน่ึงของภาคกลาง อยูติ่ดชายฝ่ังอ่าวไทยด้านตะวนัออก นับเป็นอีกภมูภิาคหนึ่งท่ีมคีวามสำาคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม ้และอัญมณีของประเทศ

ภาคใต้ 

ภาคใต้ เป็นภมูภิาคหน่ึงของไทย ต้ังอยูบ่นคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่ งตะวนัออก และทะเลอันดามนัทางฝั่ งตะวนัตก มีเน้ือท่ีรวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทกุจงัหวดัของภาคมพีื้นท่ีติดชายฝั่ งทะเล ยกเวน้จงัหวดัยะลาและจงัหวดัพทัลงุ

Recommended