Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp

Preview:

Citation preview

ขั้นตอนการใชโปรแกรม SketchUp และ LayOut ในการสรางโมเดล ถอดปรมิาณวัสดุ และการเขยีน Shopdrawing

นําเสนอโดย

บริษัท บานสเกตชอพั จํากัด

ติดตอสอบถามขอมูลงานอบรมในวันที่ 18 และ 19 ธันวาคม 2557ไดที่เบอร 086-8063998731

Email : joy_oc@hotmail.comหรือที่เพจ บาน Sketchup

We make the difference

1) สราง Component ของเหล็กกลองขึ้นมาดังรูป

2) กําหนดชื่อ "เหล็กกลองขนาด 100x50x3.2 มม.โดยกําหนดคา Attribute ที่ตองการทํา Report ออกมาคือ " ความยางเหล็ก และพื้นที่ผิวสําหรับการทาสี "b_Length = ความยาวc_Area = พื้นที่ผิวสําหรับทาสี

3) สราง Component ของแผนเหล็กขึ้นมา

4) ตั้งชื่อวา "แผนเหลก็ขนาด 200x200x40 มม.โดยในที่นี้เราสนใจแตขนาดพื้นที่ของแผนเหล็กเทานั้น

5) นําชิ้นสวนทั้งสองที่สรางขึ้นมาประกอบกันเปนโมเดลสามมิตขิองงานที่เราตองการ

6) เลือกโมเดลทั้งหมดแลวคลิ๊กที่ Current selection attributes เพื่อเลือก Componentของวัสดุที่เราตองการทํา Report

7) คลิ๊กที่ Generate HTML File

7) เปด File HTML และ Copy ทั้งหมดไปวางใน Excel

8) วางขอมูลทั้งหมดลงใน Excel และจัดการเรียงขอมูลใหม

9) ไดแลวครบัปริมาณแผนเหล็กหนา 4 มม. คือ 0.4 ตร.ม.

10) ความยาวของเหล็กกลองทั้งหมดคอื 33.1 เมตรและมีพื้นที่ทาสีทั้งหมด 9.93 ตร.ม.

11) ใชโปรแกรม HyperSnap ตัดภาพใน Excel เพื่อทําเปนภาพ (JPG) ของตาราง Bill of Materials

12) BOM ของแผนเหล็ก

13) BOM ของเหลก็กลอง

14) สราง Scene ของภาพสองมิติแบบ Parallel Project ของดานตางๆ แลว Save ไวดังภาพ

15) ใชคําสั่ง Views เพื่อปรับมุมมองในที่นี้คอืภาพ ISO, ภาพดานบน (Top)ภาพดานขาง (SIDE) และภาพดานหนา Front

16) ใชคําสั่ง Styles เพื่อปรับภาพของโมเดลใหคลายกับ 2D CAD แบบมาตรฐาน(ไมมีสีครบั วากันวาถามีสีเหมือนจริงมากไป จะไมเปนมาตรฐาน)

17) คลิ๊กที่ File และไปที่คําสั่ง Send to LayOut เพื่อสง Model ไปสรางแบบสองมิติ

16) เมื่อเขาโปรแกรม LayOut ใหเลือกขนาดกระดาษ ในที่นี้เลือกกระดาษ A3การเลือกขนาดกระดาษมีความสําคัญเพราะจะเปนตัวกําหนดขนาดและ Scaleของแบบสองมิติที่จะสราง (เปลี่ยนขนาดภายหลังจะยุงยากมากๆ)

17) เมื่อเลอืกเสร็จแลวใหกด Open

18) วาง View port ตางๆ ลงบนหนากระดาษ A3 โดยเลือกตาม Scene ที่สรางไวในโมเดล SketchUp

17) เลือก View port ใดๆ 1 อนั

18 คลิ๊กที่ SketchUp Model เพื่อปรับ Scale

19) เลอืก Scale ที่ตองการ

20) ปรับ Scale และจัด View port มุมมองดานตางๆ ตามความเหมาะสม

21) คลิ๊กที่ Dimensions

22) คลิ๊กที่ Auto Scale เพื่อปรับScale แบบ Auto ตาม Viewportที่สรางไวแลว

23) ปรับหนวยที่ตองการ

24) ปรับทศนิยม

25) เลือกําหนด Dimension ตามตองการ ผูใชโปรแกรมสามารถเปลี่ยนขนาดและชนิดของ Dimension ไดเองโดยไปแกไขที่ " Shape Style"

26) คลิ๊กที่ลูกศรแสดงคําอธิบาย (Text tool)

27) ชี้ไปจุดที่ตองการ

28) คลิ๊กตรงนี้เพื่อเลือกคาที่จะแสดง (Attribute)สําหรับโปรแกรม LayOut 2015 ผูใชสามารถเลือกแสดงขอมูลใดๆ ก็ไดตามคา Attribute ที่สรางแบบ Dynamic Component

29) เลือก Name เพื่อแสดงชื่อ

30) กดหนดคําอธิบายในสวนที่เหลือทั้งหมด

31) คลิ๊กที่ Scrapbooks

32) เลอืกคําอธิบายที่ตองการ

33) คลิ๊กแลวลากไปวางในกระดาษไดเลย

34) วางไวตรงจุดที่ตองการจากนั้นพิมพคําอธิบายและระบุ Scale

35) ทํากับทุก View port จนครบ

36) คลิ๊กไปที่ Customize Auto-Text เพื่อทําการแกไข AutoText ไดแก ชื่อเรือ่ง ชื่อแบบ หมายเลขหนาวันที่ ที่อยู หรือชื่อลูกคา เมื่อกําหนดคา Auto ไวแลว ทุกครั้งที่เราเพิ่มแผนกระดาษของแบบเขาไปขอมูลเหลานี้จะแกไขแบบ Auto ทั้งหมด

37) ทําการแกไขขอมูลแบบที่ตองการเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบ Auto

38) เมื่อทําเสรจ็ขอมูลที่หัวกระดาษจะ Update แบบ Auto เชน หมาลเลขหนาเปนตน

39) คลิ๊กบวกเพื่อเพิม่แผนใหม

40) นํา Viewport ใหมเขามาวางพรอมคาํอธิบาย

41) ไปที่ File และ Insert

42) Insert ภาพของ BOM ที่เตรียมไวแลวเขามา

43) จัดแตงหนาใหเรียบรอยก็เปนอันแลวเสร็จขั้นตอนการเขียนแบบ

44) กด " Ctrl+P" เพื่อทําการ Print แบบเปน File PDF ดวย PDF PRINTER ที่เรามีอยูเลือกกระดาษ A3 แลวกด Print

45) เสร็จขั้นตอนการเขีนยแบบกอสรางสองมิติ

ตัวอยางผลงานจริงของวทิยากร

วรัญู สงกรานต

วศบ. สิ่งแวดลอม อดีต ผูจัดการแผนก VIRTUAL DESIGN & CONSTRUCTIONบรษิัท พรเีมียรเอ็นเนอรยี่ จํากัด มีประสบการณออกแบบและปรึกษาโครงการกอสราง

ระบบบําบัดน้ําเสียขนาดใหญมากกวา 10 โครงการมลูคามากกวา 450 ลานบาท

ปจจุบันดํารงตําแหนง CEO บรษิัท บานสเกตชอัพ จํากัด และเปน Admin ของกลุม "วศิวกรไทยใช Sketchup"ที่มีสมาชิกมากกวา 8,000 คน และยงัเปนเจาของ Page " บาน SketchUp" ที่เผยแพรความรูการใช

โปรแกรม SketchUp ในงานวิศวกรรมและบริหารงานกอสราง"

"DO NOT WORK HARD, WORK SMART"วรัญู สงกรานต

Recommended