การเข้าใช้งาน ระบบ E

Preview:

Citation preview

1. การเข้าใช้งาน ระบบ E-Learning ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

สามารถเข้าระบบ E-Learning ของมหาวิทยาลัยโดย URL : http://lmsonline.nrru.ac.th/ โดย

ระบบจะตั้งค่าเป็นภาษาไทย สามารถเลือกใช้งานเป็นภาษาอังกฤษได้ ในด้านซ้ายของจอ สามารถเข้าได้ 2 วิธี

วิธีที่ 1 สามารถเข้าสู่ระบบ โดยกรอกข้อมูลผู้ใช้ ทางด้านซ้ายของหน้าจอ

วิธีที่ 2 คลิกท่ีปุ่มมุมบนขวาของจอ เพ่ือเข้าสู่ระบบ

1.1 การสมัครสมาชกิ

อาจารย์ทกุทา่นสามารถใช้งาน lmsonline ในการเข้าสูร่ะบบ โดยกรอกข้อมลู Username และ Password

ทาง Blocks ซ้ายมือ เมื่อเข้าสูร่ะบบแล้ว จะปรากฏหน้าจอดงันี ้

ผู้ใช้สามารถซอ่นเมนตูา่งๆ ไว้ทางด้านซ้ายมือ โดยคลกิที่ ปุ่ มดงัภาพ และสามารถคลกิเพื่อน าเมนู

กลบัมายงัหน้าจอเดมิได้เช่นกนั

1.2 การแกไขข้อมูลส่วนตัว

ผู้ใช้สามารถแก้ไขข้อมลูได้โดย คลกิที่ช่ือผู้ใช้ด้านมมุขวาของหน้าจอ > แก้ไขข้อมลูสว่นตวั

เมื่อคลกิเข้าสู ่แก้ไขข้อมลู จะได้หน้าจอดงันี ้

1.3 สิทธิในการใช้งานระบบ

การเข้าสูร่ะบบในครัง้แรก อาจารย์ยงัไมส่ามารถสร้างรายวชิาได้ โดยต้องแจ้งมายงัผู้ดแูลระบบ เพื่อท าการเปิด

สทิธิให้สามารถสร้างรายวิชาในระบบได้ โดยช่องทางดงันี ้

- งานพฒันานวตักรรมการเรียนการสอน ส านกัคอมพวิเตอร์ อาคารบรูณวิทยาการ (อาคาร 27 ชัน้ 2)

- โทรศพัท์ : 044-009-009 ตอ่ 2723

หลงัจากได้รับสทิธิ Course Creator จะปรากฏเมน ู Administration > Site administration เพิ่มขึน้มา

ดงัภาพ

2. การจัดการรายวิชา

2.1 การสร้างรายวิชาใหม ่

ขัน้ตอนการเพิ่มประเภทและเพิม่ รายวิชา ไปท่ีบลอ็ค การจดัการระบบ > การจดัการระบบ > รายวชิาทัง้หมด >

เพิ่ม แก้ไขรายวิชา>

ดงัแสดงในภาพ จากนัน้เลอืกหมวดรายวชิาที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายวชิาที่มีอยูด้่านขวามือ การสร้าง

รายวชิาใหม ่ท าได้โดยการคลกิลงิค์ “Create new course” จากนัน้ท าการกรอกข้อมลูรายวิชา

ส าหรับค่า “Course format” นั้น เป็นก าหนดรูปแบบของเนื้อหาในรายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละ่ครั้งเบื้องต้นก าหนดเป็น

“แบบหัวข้อ” ซึ่งส่วนใหญ่มักจะก าหนดภายใต้3 รูปแบบดังนี ้

1. แบบรายสัปดาห์ (Weekly format) เหมาะส าหรับการก าหนดหัวข้อสอนรายสัปดาห์เมื่อขึ้นสัปดาห์ใหม่ผู้เรียนจึงจะ

สามารถเรียนสัปดาห์ถัดไปได ้

2. แบบหัวข้อ (Topics format) จะใช้กรณีต้องการเปดิสอนแยกเป็นหัวข้อ เหมาะส าหรับสอนแบบแยกเนื้อหาเป็นราย

บทไป

3. แบบกลุ่มสนทนา (Social format) จะใช้ในกรณีต้องการอภิปรายเป็นกลุม่ๆ

หลังจากกดปุ่ม “Save and display” หากไม่ขึ้นผิดพลาดใดๆ ระบบจะแสดงหน้าหลักของรายวิชาดังภาพ

2.2 การอนุญาตให้นักเรียนเข้าเรียนรายวิชา

หลังจากเข้าสู่รายวิชาแล้ว ให้คลิกที่ เมนู Administration> Course administrator> Users> Enrolment

methods จากนั้นจะปรากฏ method ทางด้านขวามือ ให้เลือก “Self enrolment (Student)” คลิกท่ีลูกศรชี้ข้ึน เรื่อย

จนกว่า Self enrolment จะขึ้นไปบนสุด จากน้ันให้คลิกภาพดวงตา ให้เครื่องหมาย / หายไปจากดวงตา หลังจากนั้น

นักศึกษาคลิกสมัครเข้าเรยีนวิชาได้เอง

2.3 การจัดการเนื้อหารายวิชา Content

โครงสร้างของรายวิชา ประกอบไปด้วย บทคัดย่อ ถัดไปจะเป็น บลอ็กของเนื้อหาและกิจกรรมเป็นรายสัปดาห์หรือ

รายหัวข้อ ตาม Course Format ตามที่ได้เลือกไว้ตอนสร้างรายวิชา ในบล็อกแต่ล่ะสัปดาห์จะมี Add an activity or

resource อยู่เพื่อเพิ่มแหล่งข้อมูลหรือกิจกรรมการเรียนการสอน การเพิ่มเนื้อหารายวิชา ส าหรับการเพิ่มเนื้อหารายวิชาใน

ขณะที่ก าลังอยู่ในหน้าของรายวิชามีขั้นตอนดังนี้ ให้คลิกที่เมนู“Administration> Course Administrator > Turn editing

on”เพื่อเขา้สู่โหมดการแก้ไขข้อมลู ในหน้ารายวิชา

จากนั้นหน้าเว็บจะเปลีย่นแปลงเพือ่ให้เราสามารถแก้ไขในส่วนต่างๆ ก็ให้เราท าการแกไ้ขในส่วนต่างๆ ของเนื้อหา

ข้อความ รูปภาพ ไฟล์สื่อการสอน และ VDO ต่างๆ รวมทั้งตกแต่งหน้าเว็บรายวิชาได ้

2.4 การแก้ไขบทคัดย่อ

เมื่อคลิกที่รูปฟันเฟือง เพื่อแก้ไขจะปรากฏหน้าต่างส าหรับแกไ้ขข้ึนมา

จะปรากฏรูปท่ีเราเลือก ให้ใส่ Image description หากต้องการปรบัขนาดภาพ ให้คลิกแทป “Appearance”

*** ในส่วนของบทคัดย่อน้ีอาจารย์สามารถจัดท าเป็นภาพแบนเนอร์รายวิชา หรือภาพแบนเนอร์ข่าวประชาสมัพันธ์

มาใส่ไวเ้พื่อท าให้รายวิชามีความสวยงามน่าสนใจมากขึ้น

2.4.2 การเพิ่มข้อความ

นอกจากใสรู่ปภาพแล้ว เรายงัสามารถพิมข้อความตา่งๆลงไปได้อกี เช่น การอธิบายรายวิชา วตัถปุระสงค์ หรือ

อื่นๆ และสามารถก าหนดลกัษณะ

ตวัอีกษร สสีนั และยงัเพิ่มตารางได้ด้วย โดยน าเคอเซอร์วางหลงัภาพแล้ว Enter ลงไปแล้วคอ่ยๆ พิมพ์ข้อความ จะได้

ผลลพัธ์ดงัภาพ เสร็จแล้วคลกิที่ "Save"

2.5 การเพิ่มค าอธิบายแตล่ะสปัดาห์/หวัข้อ

กรณีที่ต้องการแสดงค าอธิบายให้ผู้ใช้งานเห็นได้ทนัทีในหน้าโครงสร้างเนือ้หารายวชิา โดยที่ไมต้่องคลกิเข้าไปดู

ค าอธิบายในลกัษณะของเมนนูัน้

สามารถเพิ่มค าอธิบายรายละเอยีดโดยการคลกิที่รูป ฟันเฟืองดงัภาพ

2.6 การเพ่ิมเนื้อหารายวิชา

อาจารยผ์ู้สอนต้องเพิ่ม เนื้อหารายวิชาเข้าไปในรายวิชาท่ีจะสอน ซึ่งเนื้อหารายวิชาจะมีการเพิม่ ข้อมูล 2 ส่วนคือ

1. Activities กิจกรรมต่างๆ ในการเรียนการสอน และ 2. Resource แหล่งข้อมูลดังนี ้

ตารางแสดงกิจกรรมที่สามารถเพิ่มเข้าไปในเนื้อหารายวิชาแต่ละบทได้

ตารางแสดงแหล่งข้อมูลที่สามารถเพิ่มเข้าไปในเนื้อหารายวิชาแต่ละบทเรียนได้

การเพิ่มเนื้อหาแบบป้ายข้อมลู Label

จากนั้นจะเข้าสู่หน้าตา่งการจัดการ Label จะขอยกตัวอย่างการสรา้ง Label เชื่อโยงไปยังเว็บ โดยพมิพ์ข้อความลง

ไปและคลมุด าข้อความทีต่้องการให้เกิดการเชื่อโยง จากนั้นคลิกท่ีปุม่เช่ือมโยงเว็บไซต์ ดังภาพ

2.6.2 การเพ่ิมเนื้อหาแบบแหล่งข้อมูลหรือไฟล์ข้อมูล

คือการน าเอาไฟล์เอกสารมาแสดงให้ผู้เรียนสามารถใช้งานในรูปแบบการเปิดอ่าน ดาวน์โหลด โดยมสีญัญาลักษณ์

ของโปรแกรมนั้นๆแสดง เช่น Word , PDF , Power point เป็นต้น

2.6.3 การเพ่ิม VDO และ VDO จาก Youtube

วิธีน าเอา VDO จาก Youtube เข้า

ในส่วนข้องเนื้อหา

ในหน้าวีดีโอของ Youtube ที่เราจะน ามาใช้เพ่ือเป็นการเรียนการสอนของบทเรียน

น าโค้ดที่ได้มาแก้ไข วางใน HTML<> แล้ว อัพเดต

แสดงหน้าจอที่ได้

Recommended