77
การประยุกตใชระบบ E-StoreFront กับธุรกิจรานอาหาร Restaurant Business of E-StoreFront System นาย ณัฐพล อานามวัฒน Nattapon Arnamwat สารนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนลยีมหานคร ปการศึกษา 2553

การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

การประยุกตใชระบบ E-StoreFront กับธุรกิจรานอาหาร Restaurant Business of E-StoreFront System นาย ณัฐพล อานามวัฒน Nattapon Arnamwat สารนิพนธฉบับน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษา ตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนลยีมหานคร ปการศึกษา 2553

Page 2: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

I

หัวขอโครงงาน การประยุกตใชระบบ E-StoreFront กับธุรกิจรานอาหาร นักศึกษา นาย ณัฐพล อานามวัฒน รหัสนักศึกษา 5217670017 ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2553 อาจารยผูควบคุมโครงงาน ผศ.ดร.พนม เพชรจตุพร อาจารยที่ปรึกษารวม อาจารย สืบทัศน ลิ่มสายหั้ว บทคัดยอ โครงงานนี้เปนการนํารูปแบบ E-Store front มาประยุกตใชกับธุรกิจรานอาหารตําเทวดา ซึ่งเปนการดําเนินงานสวนของการจัดทําเว็บไซตรานอาหารตําเทวดาเพ่ือเปนการ เผยแพรขอมูลตางๆของทางราน รวมทั้งเปนชองทางในการติดตอสื่อสารกันระหวางลูกคาหรือผูที่สนใจกับทางราน และเปนการโฆษณาประชาสัมพันธรานใหเปนที่รูจักของคนทั่วไปมากย่ิงข้ึน โดยการดําเนินการจัดทําในสวนของ เว็บไซตรานอาหารตําเทวดานั้น จะใชระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System ) มาใชในการพัฒนาและดําเนินการจัดทําเว็บไซต ซึ่งจะใชโปรแกรมบริหารจัดการเว็บไซต joomla ในการดําเนินการ

Page 3: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

II

กิตติกรรมประกาศ โครงงาน การประยุกตใชระบบ E-StoreFront กับธุรกิจรานอาหาร สามารถสําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก ผ.ศ.ดร. พนม เพชรจตุพร ที่ใหการสนับสนุน และแนะนําในสวนของแนวทางในการดําเนินการ รวมทั้งความรูตางๆที่สามารถนํามาประยุกตใชกับโครงงานได รวมทั้งคณาจารย ประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ไดถายทอดวิชาความรูตางๆใหแกผูดําเนินการโครงงาน ตลอดระยะเวลาที่เขามาศึกษา ทั้งนี้ขอขอบพระคุณ นาย นภาพล อานามวัฒน เจาของรานและหุนสวนของทางรานทุกทาน ที่ใหความอนุเคราะห ขอมูลตางๆของทางราน และอนุญาติใหนําระบบเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา มาใชงานกับทางราน จนสําเร็จลุลวงดวยดี ณัฐพล อานามวัฒน

Page 4: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

III

สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา 1.1 กลาวนํา 1 1.2 กรณีศึกษา 1 1.3 ปญหาและแรงจูงใจ 1 1.4 แนวทางการแกปญหา 2 1.5 วัตถุประสงค 3 1.6 ขอบเขตของโครงงาน 4 1.7 ประโยชนของโครงงาน 4 1.8 ข้ันตอนในการดําเนินงานโครงงาน 4 บทที่ 2 ทฤษฎี 2.1 กลาวนํา 7 2.2 การทบทวนบทความ 7 2.3 ทฤษฎีที่เก่ียวของ 8 บทที่ 3 การออกแบบ 3.1 กลาวนํา 17 3.2 การเก็บขอมลู 17 3.3 การวิเคราะหขอมูล 17 3.4 ความสัมพันธของตัวแปร 17 3.5 แผนภาพกระแสขอมูลของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา 18 3.6 การเลือกใชซอรฟแวรสําเร็จรูป 30 3.7 การวิเคราะหขอดี – ขอเสีย ของ CMS 35 บทที่ 4 การดําเนินงาน 4.1 กลาวนํา 37 4.2 ข้ันตอนการดําเนินงานโครงงาน 37 4.3 การสํารวจเบ้ืองตน 38 4.4 การจัดหาระบบ 39 4.5 การทดสอบระบบ 39 4.6 แผนการโปรโมตและประชาสัมพันธเว็บไซต 40 4.7 การดูแลระบบ 41 4.8 แผนการบํารุงรักษาระบบ 41

Page 5: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

IV

สารบัญ(ตอ) หนา บทที่ 5 ผลการทดลอง 5.1 ผลการดําเนินการ 42 5.2 การประเมินผลเว็บไซต 50 5.3 ผลการประเมิน 51 บทที่ 6 สรุปผลและขอเสนอแนะ 6.1 กลาวนํา 55

6.2 สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ 55 6.3 วิจารณโครงงาน 57 6.4 ขอเสนอแนะ 57 เอกสารอางอิง 59 ภาคผนวก ก แบบสํารวจประเมินผลเว็บไซต 60ภาคผนวก ข การติดตั้งจูมลาบนเว็บเซิรฟเวอร 63

Page 6: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

V

สารบัญรูป รูปที่ หนา รูปที่ 1.1 ข้ันตอนการจัดทําเว็บไซตโฆษณาและประชาสัมพันธ 2 รูปที่ 1.2 Block Diagram ของ เว็บไซตหนาราน E-StoreFront 3 รูปที่ 3.1 แผนภาพกระแสขอมูลของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา 18 รูปที่ 3.2 ผังการไหลของขอมูลระดับ 1 19 รูปที่ 3.3 แสดงการไหลของขอมูลระดับ 2 ของการจัดการเว็บบอรด 20 รูปที่ 3.4 แสดงการไหลของขอมูลระดับ 2 การจัดการอาหารและโปรโมชัน 21 รูปที่ 3.5 การไหลของขอมูลระดับ 2 ของระบบจัดการสมาชิก 23 รูปที่ 3.6 แสดงการไหลของขอมูลระดับ 2 การจัดการการจอง 24 รูปที่ 3.7 การออกแบบEntity Relationship Diagram 26 รูปที่ 3.8 ผังการเขียนเว็บไซต โดยใชโปรแกรม Joomla 33 รูปที่ 4.1 ข้ันตอนการดําเนินงานเว็บไซต ตําเทวดา 37 รูปที่ 5.1 หนาจอการทํางานหลัก 43 รูปที่ 5.2 หนาจอ Main menu 44 รูปที่ 5.3 หนาจอการล็อกอิน 44 รูปที่ 5.4 หนาจอเมนูโปรโมชัน 45 รูปที่ 5.5 หนาจอเมนูรายการอาหาร 45 รูปที่ 5.6 หนาจอเมนูกิจกรรมทางราน 46 รูปที่ 5.7 หนาจอ การสมัครสมาชิกใหม 46 รูปที่ 5.8 หนาจอ แสดงการล็อกอินสําเร็จ 46 รูปที่ 5.9 หนาจอ แสดงสวนของเว็บบอรด 47 รูปที่ 5.10 หนาจอ การตั้งกระทูเว็บบอรด 48 รูปที่ 5.11 หนาจอ แสดงจํานวนสมาชิกออนไลน 48 รูปที่ 5.12 หนาจอ โพลแสดงความคิดเห็นเว็บไซต 49 รูปที่ 5.13 หนาจอ โหวตรายการอาหาร 49 รูปที่ 5.14 หนาจอ เมนูมุมสุขภาพ 50 รูปที่ 5.15 หนาจอ คียลัดเพ่ือเชื่อมไปยัง social network 50 รูปที่ 5.16 กราฟแสดงผลการประเมินโดยรวม กลุมเจาของรานและพนักงาน 53 รูปที่ 5.17 กราฟแสดงผลการประเมินโดยรวม กลุมลูกคา 54 รูปที่ 6.1 กราฟแสดงอัตราการเพ่ิมของลูกคา 56 รูปที่ 6.1 กราฟแสดงอัตราการเพ่ิมของยอดขาย 56

Page 7: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

VI

สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา ตารางที่ 1.1 แสดงตารางระยะเวลาในการดําเนินงาน 6 ตารางที่ 3.1 ตาราง Bord_Question 27 ตารางที่ 3.2 ตาราง Bord_anser 27 ตารางที่ 3.3 ตาราง food_collection 27 ตารางที่ 3.4 ตาราง member 28 ตารางที่ 3.5 ตาราง promotion 29 ตารางที่ 3.6 ตาราง photo 29 ตารางที่ 3.7 ตาราง reservation 29 ตารางที่ 3.8 แสดงการเปรียบเทียบซอรฟแวรดานความตองการ 34 จากฟงชันกการทํางานเว็บไซต ตารางที่ 5.1 ตารางประเมินผลการทดลองกลุมที่ 1 51 ตารางที่ 5.2 ตารางประเมินผลการทดลองกลุมที่ 2 52

Page 8: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

1

บทท่ี 1 บทนํา 1.1 กลาวนํา เนื่องดวยปจจุบันสภาวะการแขงขันทางดานธุรกิจรานอาหารนั้น คอนขางมีการแขงขันกันอยางสูง ถึงแมจะมีเมนูอาหารที่มีรสชาติอรอยแตถาไมมีคนรูจักหรือสนใจก็ไมสามารถทําใหมียอดการขายที่สูงข้ึนได ดังนั้นการการโฆษณาและประชาสัมพันธเพ่ือใหเปนที่รูจักของคนทั่วไปและสามารถจูงใจใหกลุมลูกคาเกิดความสนใจที่จะมาซื้ออาหารหรือสั่งอาหารจากทางราน เปนเรื่องที่สิ่งสําคัญอยางย่ิง ซึ่งการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวย ในสวนของการโฆษณาและประชาสัมพันธรานอาหารนั้นเปนสิ่งจําเปน โดยจะทําใหเปนการเพ่ิมโอกาสของ ธุรกิจ และยังเปนการขยายตลาดซึ่งสามารถเขาถึงกลุมผูบริโภคไดอยางทั่วถึง และ รวดเร็วมากย่ิงข้ึนมากข้ึนโดยไมจํากัดสถานที่และเวลา 1.2 กรณีศึกษา รานอาหาร ตําเทวดา เปนรานอาหารซึ่งขายอาหารทั้งอาหาร ไทย จีน อีสาน และ เบเกอรี่ สถานที่ตั้งคือ ถนนวิภาวดี ซอย 2 ติดกับมหาวิทยาลัยหอการคาไทย โดยกลุมลูกคาของทางรานนั้นจะเปนกลุมลูกคาซึ่งเปน นักศึกษา อาจารย และขาราชการเปนสวนใหญ ปจจุบันทางรานนั้นมีความตองการที่จะขยายกลุมลูกคาใหมากข้ึน แตการโฆษณาและประชาสัมพันธของทางรานนั้นยังมีไมมากเทาที่ควร และมีคาใชจายคอนขางสูง ซึ่งหากทางรานมีสื่อเว็บไซต หรือชองทางการประชาสัมพันธที่ไมตองเสียคาใชจายสูง โดยสามารถเขาถึงกลุมผูบริโภคไดงาย ทําใหทางรานมีการขยายกลุมผูบริโภคไดมากข้ึน เพ่ิมยอดขาย และยังเปนโอกาศในการขยายทางธุรกิจของทางรานไดตอไปในอนาคต

1.3 ปญหาและแรงจูงใจ สําหรับปญหาและอุปสรรค ของทางราน ที่พบมีดังนี้ 1.3.1. กลุมลูกคาคอนขางจํากัดเฉพาะกลุมคนซึ่งพักอยูบริเวณใกลกับทางราน ซึ่งจะ เปน นักศึกษา อาจารย และ ขาราชการ เปนสวนใหญ 1.3.2 ไมมีสื่อเว็บไซตหรือชองทางการโฆษณารานอาหารเปนของตัวเอง 1.3.3 ไมมีการโฆษณาหรือประชาสัมพันธรานอาหารเทาที่ควร 1.3.4 คาใชจายในสวนของการโฆษณาประชาสัมพันธสวนใหญ คอนขางสูง

Page 9: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

2

โดยในสวนของปญหาขางตนที่กลาวมานั้น หากไดรับการแกไข หรือดําเนินการเพ่ิมเติมอยางถูกตองแลวนั้น นาที่จะทําใหธุรกิจรานอาหารของทางรานอาหาร สามารถขยายกลุมลูกคาและเพ่ิมผลกําไรใหกับทางรานไดมากย่ิงข้ึน 1.4 แนวทางการแกปญหา จากปญหาดังที่กลาวมาในหัวขอ 1.3 จึงเกิดแนวความคิดที่จะจัดทํา เว็บไซต โฆษณาและประชาสัมพันธ ของทางรานข้ึนมา เพ่ือแกไขปญหาและอุปสรรคในสวนดังกลาวซึ่งแสดงไว ดังรูปที ่1.1

ผูจัดทําเว็บไซตประชาสัมพันธและโฆษณารานดําเนินการออกแบบเว็บไซต

ขออนุมัติใชงานเว็บไซตเพ่ือประชาสัมพันธรานจากเจาของกิจการ

ทําการโฆษณาและประชาสัมพันธเว็บไซตผานสื่อตางๆ

อธิบายการใชงานและสวนตางๆของเว็บไซตใหผูที่เก่ียวของรับทราบ

ทําการอัพเดตขอมูลของเว็บไซตทุกสัปดาห

รูปที่ 1.1 แสดงข้ันตอนปฎิบัติสําหรับการจัดทําเว็บไซตโฆษณาและประชาสัมพันธ

Page 10: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

3

รูปที่ 1.2 แสดง Block Diagram ของ เว็บไซตหนาราน E-StoreFront จากรูปที่ 1.2 ในข้ันตอนการจัดทําเว็บไซตโฆษณาและประชาสัมพันธรานอาหารนั้น ผูจัดทําจะทําการรวบรวมความตองการของทางราน และขอมูลที่จําเปนสําหรับการโฆษณาราน อาทิเชน เมนูใหม หรือ โปรโมชั่นประจําสัปดาห รวมทั้งกลุมลูกคาสวนใหญของทางรานโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ เพ่ือนําขอมูลตางๆมาประกอบการจัดทําเว็บไซต ใหตรงกับความตองการของทางรานมากที่สุดหลังจากนั้นจึงเริ่มดําเนินการจัดทําและพัฒนาเว็บไซตเพ่ือขออนุมัติใชงานเว็บไซตในการโฆษณาและประชาสัมพันธรานอาหารจากเจาของกิจการเมื่อไดรับการอนุมัติจากทางเจาของกิจการแลวจึงทําการโฆษณาและประชาสัมพันธเว็บไซตผานสื่อตางๆโดยมีการอธิบายวิธีการใชงานเว็บไซตและสวนตางๆของเว็บไซตใหผูที่เก่ียวของไดรับทราบเขาใจและสวนสุดทายจะเปนการอัพเดตขอมูลตางๆของเว็บไซตทางรานทุกสัปดาหและทางลูกคาสามารถเขาดูขอมูลของทางรานเชน เมนูใหมๆ หรือโปรโมชันประจําสัปดาห แตจะไมมีการสั่งซื้อผานทางหนาเว็บไซตแตอยางใด ซึ่งจะเปนการสรางรูปแบบและเนื้อหาเว็บไซตในรูปแบบของ E-StoreFront 1.5 วัตถุประสงค วัตถุประสงคของโครงงาน การประยุกตใชระบบ E-StoreFront กับธุรกิจรานอาหารนั้นเพ่ือเปนการจัดทําเว็บไซตรานอาหารตําเทวดาเพ่ือใชในการโฆษณาและประชาสัมพันธขอมูลตางๆของทางรานผานทางเว็บไซตเพ่ือใหเปนที่รูจักของคนทั่วไปไดอยางกวางขวางมากข้ึน รวมทั้งยังเปนชองทางสําหรับการติดตอสื่อสารกันระหวางลูกคากับทางราน ผานทาง web bord ของ เว็บไซต

Page 11: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

4

1.6 ขอบเขตของโครงงาน โครงงานนี้เปนการนํา e-storefront มาชวยในการโฆษณาและประชาสัมพันธรานอาหารโดยจัดทําเปนรุปแบบของเว็บไซตรานอาหาร เพ่ือใหลูกคาสามารถเขามาดูขอมูลและสามารถติดตอกับทางรานไดสะดวกย่ิงข้ึน - ทําเว็บไซดโดยใชหลักการแบบ E- StoreFront - ทําหนารานแสดงรายการอาหาร เบเกอรี่ เครื่องด่ืม และบริการตางๆ รวมทั้งโปรโมชันประจํา สัปดาห ของทางราน โดยไมมีการสั่งซื้ออาหารผานทางเว็บไซด - สวนของฐานขอมูลประกอบไปดวย ชื่อ ที่อยูเบอรโทรศัพท E-Mail และ รูป - สมาชิกที่ทําการลงทะเบียนแลวเทานั้นจึงจะสามารถใชงานในสวนของ เว็บบอรดได 1.7 ประโยชนของโครงงาน โครงงานนี้การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสรางสื่อเพ่ือใชโฆษณาและประชาสัมพันธรานอาหาร ตําเทวดา โดยทางรานจะไดรับประโยชนจากโครงงานโดยสรุป ดังนี้ - ทางรานจะมีสื่อทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการใชเปนเครื่องมือในการดําเนินธุรกิจ เพ่ือ โฆษณาและประชาสัมพันธราน - สามารถขยายกลุมลูกคาใหเพ่ิมมากข้ึนกวาเดิมได เนื่องจากบุคคลทั่วไปสามารถ รับทราบขอมูลของทางรานไดผานทาง เว็บไซต - สามารถทําการอัพเดทขอมูลตางของทางรานไดสะดวกและรวดเร็วมากย่ิงข้ึน 1.8 ขั้นตอนในการดําเนินงานโครงงาน ข้ันตอนในการดําเนินงาน เมื่อทําการวิเคราะห เพ่ือแกไขปญหา โดยใชระบบเทคโนโลยี ทางดานสารสนเทศเขามาชวยดําเนินการ ดังนั้นการพัฒนา สามารถแบงเปนลําดับข้ันตอนไดดังนี้ ข้ันตอนในการดําเนินโครงงานเว็บไซตรานอาหาร ตําเทวดา แบงออกเปน 7 ข้ันตอน ดังนี ้ 1.8.1 การรวบรวมขอมูลใชเวลา 60 วัน

ก. รวบรวมขอมูลความตองการของทางราน ใชเวลา 15 วัน ข. กําหนดกระบวนการทํางาน ใชเวลา 15 วัน ค. ความตองการพ้ืนที่ในการจัดเก็บขอมูล ใชเวลา 15 วัน ง. ความตองการของระบบเว็บไซต ใชเวลา 15 วัน

1.8.2 วิเคราะหงานและแนวทางการแกไขปญหา ใชเวลา 30 วัน ก. ศึกษาถึงวิธีการพัฒนาเว็บไซต ใชเวลา 15 วัน

Page 12: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

5

ข. กําหนดความตองการของระบบ ใชเวลา 5 วัน ค. กําหนดเปาหมายเว็บไซต ใชเวลา 5 วัน ง. กําหนดโครงสรางและรูปแบบ ใชเวลา 5 วัน

1.8.3 การออกแบบเว็บไซต ใชเวลา 20 วัน ก. สรางรูปแบบเว็บไซต ใชเวลา 10 วัน ข. ออกแบบฐานขอมูลและเสนทางเว็บเพจ ใชเวลา 10 วัน

1.8.4 การสรางและพัฒนาเว็บไซต ใชเวลา 80 วัน ก. พัฒนาเว็บไซต ใชเวลา 70 วัน ข. นําขอมูลที่เตรียมไวจัดเก็บลงฐานขอมูล ใชเวลา 10 วัน

1.8.5 การทดสอบและทดลองการใชงาน ใชเวลา 20 วัน ก. ทดสอบระบบหาขอบกพรองและทําการเกไข ใชเวลา 10 วัน ข. ติดตั้งระบบใชงานจริงและติดตามการใชงาน ใชเวลา 10 วัน

1.8.6 แกไขปรับปรุงหลังจากการทดลองใชงานเว็บไซตใชเวลา 10 วัน 1.8.7 สรุปผลการดําเนินงานและจัดทําสารนิพนธ ใชเวลา 30 วัน

รายละเอียดและข้ันตอนการดําเนินงานไดแสดงไวดังตารางที่ 1.1

Page 13: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

6

ตารางที่ 1.1 แสดงตารางระยะเวลาในการดําเนินงาน

Page 14: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

7

บทท่ี 2 ทฤษฎี 2.1 กลาวนํา ปจจุบันระบบสารสนเทศเขามามีบทบาทอยางมากตอการประกอบธุรกิจหลายๆประเภท เนื่องจากขอมูลขาวสารทุกประเภทสามารถสงถึงกันไดอยางสะดวกและรวดเร็ว ดังนั้นการที่มีสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธองคกรณหรือธุรกิจ เพ่ือเปนการสื่อสารและติดตอกันระหวางลูกคากับธุรกิจนั้นจึงเปนสิ่งจําเปนอยางย่ิง โดยการจัดการในสวนของขอมูลนั้นสามารถใชโปรแกรมบริหารการจัดการขอมูลหรือ CMS เขามาใชงานเพ่ือเพ่ิมความสะดวกและรวดเร็วในการจัดการ 2.2 การทบทวนบทความ แนวคิดเก่ียวกับ E-Storefront อารีนา แหละเหย็บ (2550) [1] ไดทําโครงงานเรื่อง การใหบริการขอมูลดวยระบบ E-storeFront (Data Service of E-storeFront) โครงการนี้ไดนําเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร, อินเตอรเน็ต, ระบบ E-storeFront และใชเครื่องมือบริหารเว็บไซต osCommerce เขามาใชในการจัดการระบบการซื้อขายสินคา ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายและนําเขาอุปกรณทางดานคอมพิวเตอร ชวยในการโฆษณาหนาราน เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถทางการซื้อและขายสินคาในอดีตใหประสบผลสําเร็จมากกวาเดิม และใชแทนระบบเกาที่ตองการความรวดเร็วมากข้ึน เพ่ิมประสิทธิภาพทางการซื้อขายสินคามากข้ึนดวยการ ใชอินเตอรเน็ตมาเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูลทางการซื้อขายสินคาตาง ๆ ระหวางลูกคากับผูขายที่รวมสินคามาไวบนเว็บไซตเพ่ือใหผูตองการขอมูลสินคา เขามาใชบริการ

แนวคิดเก่ียวกับระบบจัดการเนื้อหา วิริยะ กลิ่นเสาวคนธ (2004) [2] ทําการวิจัยเรื่องการจัดการเนื้อหาในการจัดทําหนังสือพิมพออนไลนโดยใชโปรแกรม cms รวมกับลักษณะเฉพาะของโปรแกรมโซบ มาใชในการจัดการเนื้อหา อยางไรก็ตาม เนื่องจากโปรแกรม cms เปนโปรแกรมประเภท open source จําเปนตองมีการแกไขใหไดลักษณะตามตองการ อมรเดช คีรีพัฒนานนท (2549) [3] ใหความหมายวา ระบบจัดการเนื้อหาเว็บสําเร็จรูปทีมีระบบจัดการอยูเบ้ืองหลัง โดยที่ผูใชงาน ไมจําเปนตองมีความรูทางดานการเขียนหรือพัฒนาเว็บไซต ก็สามารถใชงานได เพราะจะมีสวนของการจัดการทุกสวนของเว็บอยูเบ้ืองหลัง โดยการทํางานเปนลักษณะ มีการใชเว็บเปนฐานที่สามารถสั่งงาน และแกไขทุกอยางผานเว็บ

Page 15: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

8

ฉัตรสุภร ปนศิริ (2006) [4] ไดทําการคนควาอิสระเรื่อง ‘ระบบการจัดเก็บเนื้อหาดวย open source cms เพ่ือสรางระบบจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ ในสวนขอมูลโครงการที่ออกแบบเสร็จแลว สําหรับสํานักงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย ‘ อาภาภรณ การินทร ป (2549) [5] ไดนําเสนอเรื่องระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเก่ียวกับสุขภาพของโรงพยาบาลโดยอาศัยกระบวนการจัดการเนื้อหา ซึ่งเปนกระบวนการหนึ่ง ที่ใหความสําคัญตอการจัดการขอมูลตั้งแตเริ่มตน สรางเนื้อหา การจัดการหมวดหมู การบริหารเสนทาง การทบทวนและแกไขเนื้อหา จนกระทั่งไดผลเปนสารสนเทศใหมข้ึนมาโยใชเครื่องมือที่ใชชวยแกปญหาคือ joomla เปนโปรแกรมสรางเว็บไซตสําเร็จรูป มีความสามารถในการขอมูลที่เปนเนื้อหา รวมทั้งชวยในการนําเสนอและเผยแพรขอมูลสูประชาชนทั่วไปไดอยางดี 2.3 ทฤษฎีที่เก่ียวของ E-Commerce คือการซื้อขายสินคาหรือบริการโดยสงขอมูลดวยสื่ออิเล็กทรอนิกสผานทางเครือขาย เชน Internet ถาผูใชมีเครื่องคอมพิวเตอร คูสายโทรศัพท โมเดม และเปนสมาชิกของบริการ Internet ก็สามารถทําการคาผานระบบเครือขายได E-Commerce เปนการผสมผสานระหวางเทคโนโลยี Internet กับการจําหนายสินคาและบริการ โดยสามารถนําเสนอขอมูลที่เก่ียวของกับตัวสินคาหรือบริการผานทาง Internet สูคนทั่วโลกภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ทําใหการดําเนินการซื้อขายอยางมีประสิทธิภาพ และกอใหเกิดรายไดในระยะเวลาอันสั้น อีคอมเมิรซแบงออกเปน 5 ประเภท ดวยกัน ดังตอไปนี ้1) ธุรกิจกับผูซื้อปลีกหรือบีทูซี (B-to-C = Business-to-Consumer) คือประเภทที่ผูซื้อปลีกใชอินเตอรเนตในการซื้อสินคาจากธุรกิจที่โฆษณาอยูในอินเตอรเนต 2) ธุรกิจกับธุรกิจหรือบีทูบี (B-to-B = Business-to-Business) คือ ประเภท ที่ธุรกิจกับธุรกิจติดตอซื้อขายสินคากันผานอินเตอรเนต 3) ธุรกิจกับรัฐบาลหรือบีทูจี (B-to-G = Business-to-Government) คือประเภทที่ธุรกิจติดตอกับหนวยราชการ 4) รัฐบาลกับรัฐบาลหรือจีทูจี (G-to-G = Government to Government) คือ ประเภทที่หนวยงานรัฐบาลหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งติดตอกับหนวยงานรัฐบาลอีกหนวยงานหนึ่ง 5) ผูบริโภคกับผูบริโภคหรือซีทูซี (C-to-C = Consumer-to-Consumer) คือ ประเภทที่ผูบริโภคประกาศขายสินคาแลวผูบริโภคอีกรายหนึ่งก็ซื้อไป เชนที่อีเบย ดอทคอม(Ebay.com) เปนตน ซึ่งผูบริโภคสามารถจายเงินใหกันทางบัตรเครดิตได

Page 16: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

9

Electronic storefront (E-storefront)

จัดอยูในรูปแบบของ e-commerce แบบ B2C โดยเปนลักษณะการขายหรือเสนอสินคาหรือบริการใหกับลูกคาผานการใชงานอินเตอรเน็ต ซึ่งมีหลายแบบดวยกัน โดยหลักๆแลวไดแกElectronic Retailing Mechanisms: Storefronts and Malls โดย Electronic retailing (e-tailing) หมายถึง การขายตรง (direct sale) ของสินคา หรือบริการ ผาน electronic storefronts หรือ electronic malls สินคาหรือบริการขาง มักถูกออกแบบใหอยูในรูปแบบของ electronic catalog และ/หรือ electronic auctions

รูปแบบของ electronic storefronts มี 2 แบบดวยกันคือ

1. Specialized storefront เปนการขายของเพียงชนิดเดียวหรือสองสามชนิด เชน ขายหนัง สือและปากกา เปนตน

2. General storefront จะเปนการขายสินคาหหรือบริการหลายประเภท และหลายอยาง

Electronic malls (cyber mall) คือ เว็บไซตกลางที่รวบรวมเว็บไซตตางๆ เขาไวในที่เดียวกัน เปรียบเหมือนกับหางสรรพสินคาที่รวบรวมรานคาตางๆ ไวในที่เดียวกันการรวมกันของรานคาแตละราย (individual shop)ภายใต Internet address เดียวกัน แบงเปนสองชนิดเชน คือ

1. Referral malls เปนรูปแบบที่ไมสามารถซื้อสินคาไดในนั้น ตองไปซื้อตามรานคาที่ระบุไวเทา นั้น

2. แบบที่สองสามารถซื้อไดโดยใช electronic shopping cart จะเลือกซื้อจากผูขายรายใดก็ไดในนั้น (รายเดียวหรือหลายรายก็ได) แตเวลาชําระเงินตองรวมเปนรายการเดียวกัน

electronic storefronts เปนการชวยจัดการธุรกิจทางดานการโฆษณาและการขายสินคาผานทางหนารานจําลอง ซึ่งทําใหลูกคาสามารถตรวจสอบรายละเอียดสินคาหรือบริการไดงายและสะดวกย่ิงข้ึน โดยสวนของการบริหารจัดการเนื้อของหนารานจําลองนั้นจะมีการนําเครื่องมือ content management system (cms) เขามาชวยดําเนินการบริหารจัดการในสวนของขอมูลและเนื้อหา

Social Network

Social Networking หมายถึงรูปแบบของสังคมประเภท

Page 17: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

10

หนึ่ง ที่มาออนไลนอยูบนอินเตอรเน็ต หรืออาจเรียกไดวาเปนสังคมเสมือน “Virtual Communities” หรืออาจจะเรียกวา Online Community สังคมดังกลาว มีการขยายตัวแบบ Network โดยเครือขาย Social network service หรือ SNS เปนการเนนไปที่การสรางชุมชนออนไลนซึ่งผูคน สามารถที่จะแลกเปลี่ยน แบงปนตามผลประโยชน กิจกรรม หรือความสนใจเฉพาะเรื่อง ซึ่งอาศัยระบบพ้ืนฐานของเว็บไซตที่ทําใหมีการโตตอบกันระหวางผูคนโดยแตละเว็บนั้นอาจมีการใหบริการที่ตางกัน เชน email กระดาน ขาว และในยุคหลังๆมานี้ เปนการแบงปนพ้ืนที่ใหสมาชิกเปนเจาของพ้ืนที่รวมกันและแบงปนขอมูลระหวางโดยผูคนสามารถสรางเ ว็บเพจของตนเองโดยอาศัยระบบซอฟทแวรที่เจาของเว็บใหบริการ ตัวอยางเว็บไซตที่เปนที่นิยม ไดแก Facebook , twitter MySpace, Hi5 เปนตน

พ้ืนฐานของ social network คือการใหและรับ (Give&Take) การแบงปน (Sharing & Contribution) เปนหลักการพ้ืนฐานของจิตวิทยาดานสังคม (Social Psychology) โดย Peter Kollock ไดใหกรอบจํากัดความเรื่อง แรงจูงใจในการ Contribute ใน Online Communities มีอยู 4 เหตุผลคือ

1.) Anticipated Reciprocity การที่คนๆ หนึ่งไดใหขอมูล ความรู กับ Online Community นั้นบอยๆมีแรงจูงใจมาจากการที่คนๆ นั้น เอง ก็ตองการจะไดรับขอมูล ความรู อ่ืนๆกลับคืนมา

2.) Increased Recognition ความตองการมีชื่อเสียง และเปนที่จดจําของคนใน Online Community นั้นๆ เชน การใหคะแนน ใหดาว คนที่ตอบคําถามเกงๆใน Community ทําใหคนคนนั้นดูมียศเหนือกวาคนอ่ืน

3.) Sense of efficacy ความรูสึกภาคภูมิใจ คนที่ Contribute อะไรแลวเกิด Impact กับ community นั้น ยอมทําใหคนๆนั้นมีความภาคภูมิใจ เชน มีการตั้งกระทูใน เว็บไซตหนึ่ง ๆ แลวมีคนเขามาโพสตตอบตามมาเปนหมื่นๆคน ยอมรูสึกดีกวาตั้งกระทูแลวไมมีคนเขามาตอบเลย

4.) Sense of Community เชน การมีปฏิสัมพันธกันหรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหวางคนในสังคมนั้นๆ การที่ความคิดคนหนึ่ง มีอิทธิพลเหนือคนกลุมหนึ่ง หรือ การมีอารมณความรูสกึบางอยางรวมกัน เชน การรวมตัวกันเพ่ือแสดงพลังทางการเมือง หรือการรวมตัวกันเพ่ือแสดงออกอะไรบางอยางบนOnlineCommunity

Page 18: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

11

ขอดีของ Social Network 1. สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลความรูในสิ่งที่สนใจรวมกัได 2. เปนคลังขอมูลความรูขนาดยอมเพราะสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู หรือตั้งคําถามในเรื่องตาง ๆเพ่ือใหบุคคลอ่ืนที่สนใจหรือมีคําตอบไดชวยกันตอบ 3. ประหยัดคาใชจายในการติดตอสื่อสารกับคนอ่ืน สะดวกและ รวดเร็ว 4. เปนสื่อในการนําเสนอผลงานของตัวเอง เชน งานเขียน รูปภาพ วีดิโอตางๆ เพ่ือใหผูอ่ืนไดเขามารับชมและแสดงความคิดเห็น 5. ใชเปนสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ หรือบริการลูกคาสําหรับบริษัทและองคกรตาง ๆชวยสราง ความเชื่อมั่นใหลูกคา 6. ชวยสรางผลงานและรายไดใหแกผูใชงาน เกิดการจางงานแบบใหมๆ ข้ึน ขอเสียของ Social Network 1. เว็บไซตใหบริการบางแหงอาจจะเปดเผยขอมูลสวนตัวมากเกินไป หากผูใชบริการไมระมัดระวังในการกรอกขอมูล อาจถูกผูไมหวังดี นํามาใชในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิสวนบุคคลได 2. Social Network เปนสังคมออนไลนที่กวาง หากผูใชรูเทาไมถึงการณหรือขาดวิจารณญาณ อาจโดนหลอกลวงผานอินเทอรเน็ต 3. เปนชองทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอาง เพราะ Social Network Service เปนสื่อในการเผยแพรผลงานรูปภาพตางๆ ของใหบุคคลอ่ืนไดดูและแสดงความคิดเห็น 4. ขอมูลที่ตองกรอกเพ่ือสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซตในรูปแบบ Social Network ยากแกการตรวจสอบวาจริงหรือไม ดังนั้นอาจเกิดปญหาเก่ียวกับเว็บไซตที่กําหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูกหลอก โดยบุคคลที่ไมมีตัวตนได

(Content Management System) CMS

ระบบบริหารจัดการขอมูลเว็บไซต (Content Management System) หรือ CMS เปนระบบที่ชวยอํานวยความสะดวกในการพัฒนา และบริหารจัดการเว็บไซต โดยที่ผูพัฒนา และอัพเดตขอมูล ในระบบไมจําเปนตองมีความรูดานการพัฒนาเว็บไซต หรือเขียนโปรแกรมมากอน

Page 19: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

12

ปจจุบัน CMS สวนมากมีรูบแบบเปน Web-Based Application ที่สามารถทํางานผาน Web Browser ไดสะดวกในการใชงาน สามารถอัพเดตขอมูลเว็บไซตของตนเองไดไมวาจะอยูที่ใด และไมจําเปนตองติดตั้งโปรแกรมไวบนเครื่องลูกขาย ตางกับการใชงานเครื่องมือที่ใชออกแบบเว็บไซต เชน Adobe Dreamweaver ที่ตองติดตั้งโปรแกรมไวบนเครื่องที่จะใชงานจึงแกไขเว็บไซตได CMS ไดรับการพัฒนามาจากหลายภาษา อาทิ JAVA, ASP, PHP เปนตน แตโดยสวนใหญที่ออกมาจะเปนภาษา PHP เนื่องจากเปนเทคโนโลยี Open Source และใชงานงายกวาโปรแกรมอ่ืนๆ CMS เปนเว็บไซตก่ึงสําเร็จรูปมีระบบบริหารจัดการขอมูลดานหลัง (Administrator) ที่งายตอการใชงานและแกไขปรับแตง โดยผูใชไมจําเปนตองมีความรูดานการเขียนโปรแกรม ทําใหสามารถสรางเว็บไซตไดในระยะเวลาอันรวดเร็ว จุดตางระหวาง CMS กับเว็บไซตสําเร็จรูปที่เห็นไดชัดเจนก็คือ CMS ที่นําไปใชงาน เชน Joomla!, Mambo, WordPress เปนตน จะมีคาใชจายในเรื่องของ Hosting แตสามารถจัดการหนาตาเว็บไซต และโปรแกรมเสริม ใหเหมาะสมกับความตองการของตนเองไดในขณะที่เว็บไซตสําเร็จรูป จะมีคาบริการรายปในราคาคอนขางต่ํา แตไมสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบของเว็บไซตรวมถึงความสามารถของโปรแกรมนั้นได อีกทั้งพ้ืนที่ และระบบการจัดการเว็บไซตยังข้ึนอยูกับผูใหบริการอีกดวย นอกจากนี้ผูใช CMS ยังสามารถปรับแตงเว็บไซตของตนเองไดอยางอิสระ สามารถสรางแบรนด และความแตกตางของตัวเว็บไซตใหตางไปจากเว็บสําเร็จรูป โดยเจาของเว็บไซตสามารถจัดการโดเมนเนมไดเองทั้งหมด ในขณะที่เว็บสําเร็จรูปนั้น ผูใหบริการจะเปนคนจัดการให ซึ่งสวนใหญมักจะไมใหสิทธิ์ในการแกไขใดๆ แกผูใชงาน ความแตกตางอีกอยางที่สําคัญคือ ผูใชงานสามารถนํา CMS ไปติดตั้งที่ใดก็ได โดยไมผูกติดกับผูใหบริการรายใดรายหนึ่ง หรือแมกระทั้งการนํา CMS มาใชงานเปน Intranet ภายในองคกร CMS โดยทั่วไป จะแยกสวนของระบบการทํางาน เนื้อหาขอมูล และสวนของหนาตาเว็บไซตออกจากกัน ทําใหงานในการปรับเปลี่ยนแกไขหนาตาเว็บไซตทําไดงายและรวดเร็ว ซึ่งสวนใหญแลวจะมีระบบบริหารจัดการพ้ืนฐานเหลานี้มากับตัวระบบ อาทิ เชน

ระบบจัดการหนาตาเว็บไซต (Theme, Template) ระบบจัดการเนื้อหาขอมูล (Content) ระบบจัดการแถบปายโฆษณา (Banner) ระบบสมาชิก (User Management)

นอกจากนี้ยังสามารถพัฒนา/ติดตั้งชุดโปรแกรมในการทํางานตางๆเพ่ิมเติมได(Plugin/Component/Module) อาทิ เชน

ระบบจัดการรานคา (Shoping Cart) ระบบหองแสดงภาพ (Photo Gallery) ระบบกระดานสนทนา (Webboard)

Page 20: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

13

ระบบแสดงผลไฟลวิดีโอ (VDO Clip) เปนตน

รวมทั้งสามารถพัฒนาระบบใหตรงตามความตองการของการใชงานในองคกร อาทิ

ระบบบริหารจัดการองคความรู (Knowledge Management) ระบบจองหองประชุม (Meeting Reservation) ระบบจัดการทรัพยสิน (Asset Management) ระบบงานคลัง (Budget Report) ระบบฝกอบรม (Training Management)

ลักษณะการทํางานของ Content Management System (CMS)

เปนระบบจัดการที่แบงแยกการทํางานระหวางเนื้อหา (Content) ออกจาก การออกแบบ (Design) โดยการออกแบบเว็บเพจ จะถูกจัดเก็บไวใน Templates หรือ Themes ในขณะที่เนื้อหาจะถูกจัดเก็บไวในฐานขอมูลหรือไฟล เมื่อใดที่มีการใชงานก็จะมีการทํางานรวมกันระหวาง 2 สวน เพ่ือสรางเว็บเพจข้ึนมา โดยเนื้อหาอาจจะประกอบไปดวยหลายๆสวนประกอบ เชน Sidebar หรือ Blocks, Navigation bar หรือ Main menu, Title bar หรือ Top menu bar เปนตน

สวนประกอบของ CMS

1) Templates หรือ Theme เปนสวนที่เปรียบเสมือนหนาตา ในสวนของเว็บไซต(Look & feel) ที่มีรูปแบบที่กลมกลืนกันตลอดทั้งไซต

2) ภาษาสคริปต หรือ ภาษา HTML ที่ใชในการควบคุมการทํางานทั้งหมดของระบบ

3) ฐานขอมูล เพ่ือไวเก็บขอมูลทุกอยางที่เก่ียวของทั้งหมดของเว็บไซตนั้น

การพิจารณาเลือกใชงาน CMS

1) พิจารณาจากความยากงายในการใชงาน

2) พิจารณาจากความยืดหยุนในการพัฒนา

3) พิจารณาจากความสามารถในการทํางาน

4) พิจารณาจากสวนอ่ืนๆ ไดแก เทคโนโลยี ระบบปฏิบัติการ และราคา

เนื่องจาก CMS นี้เปนระบบ ดังนั้นจึงถูกสรางข้ึนมาโดยภาษาใดๆ ก็ได ไมวาจะเปน PHP, ASP, Java, Python ฯลฯ การสราง CMS นั้นก็มีจุดประสงค ทั้งที่สรางข้ึนมาใชงานเอง และสรางข้ึน

Page 21: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

14

มาแลวทําการเผยแพรใหคนอ่ืนๆ ใชงานดวย ฉะนั้น CMS แบบหลังนี้จะมีลักษณะเปน Open Source และกําลังไดรับความนิยมมากข้ึน และจะเปนภาษา PHP เปนสวนใหญเนื่องจากไมเสียคาใชจาย

ประเภทของระบบการจัดการเนื้อหา

ระบบการจัดการเนื้อหานั้นมีหลายประเภทสามารถจัดหมวดหมูไดเปน

1) ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ เปนระบบที่ชวยจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต

2) ระบบการจัดการเนื้อหาทางธุรกรรม เปนระบบที่ชวยจัดการธุรกรรมสําหรับอี-คอมเมิรช เรื่องของสินคา ระบบหนาราน

3) ระบบการจัดการเนื้อหาแบบประสาน เปนระบบที่ใชชวยจัดการเอกสารและเนื้อหาภายในองคกรใหสามารถทํางานรวมกันได

4) ระบบการจัดการเนื้อหาสิ่งพิมพ ใชสําหรับชวยจัดการงานสิ่งพิมพและวงจรชีวิตของเนื้อหา เชน เอกสารการใชงาน หนังสือ เปนตน

5) ระบบการจัดการเรียนรู ใชจัดการวงจรชีวิตของเนื้อหาสาระบนระบบเรียนรูบนเว็บ เชน จัดการแบบทดสอบ จัดการแบบการเรียนการสอน เปนตน

6) ระบบจัดการเอกสารที่เปนภาพ ใชจัดการเอกสารที่ถูกจัดเก็บในรูปแบบของรูปภาพ เชน การถายสําเนาเปนตน

7 ) ระบบการจัดการเนื้อหาระดับองคกร เปนระบบที่ใชจัดการเอกสาร เนื้อหาสาระตางๆ ภายในองคกร อาจจะเปนไดทั้งระบบเว็บแอพพลิเคชันหรือเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรบนไคลเอนทก็ได

ประเภทของ CMS • Blogs บล็อก หรือ เว็บบล็อก (weblog) เปนเว็บประเภทหนึ่งที่ถูกสรางข้ึนมาเพ่ือใชเปน เครื่องมือในสื่อสารรูปแบบใหม ไมวาจะเปนการประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ฯลฯ โดยมีผูใหบริการบล็อก ทั้งแบบใหบริการฟรี และเสียคาใชจาย โดยบล็อกมีเนื้อหาที่หลากหลายประเภท ตั้งแตการบันทึกเรื่องสวนตัวอยางเชนไดอารี่ หรือการบันทึกบทความที่ผูเขียนบล็อกสนใจในดานอ่ืนดวย เชน เนื้อหาบล็อกประเภท วิจารณการเมือง หรือการรีวิวผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ตัวเองเคยใช หรือซื้อมา อีกทั้งยังสามารถ แตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทตาง ๆ อีกมากมาย ตามแตความถนัดของเจาของบล็อก ซึ่งมักจะเขียนบทความเรื่องที่ตนเองถนัด หรือสนใจเปนตน

Page 22: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

15

จุดเดนที่สุดของ Blog ก็คือ มันสามารถเปนเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความเปนกันเองระหวางผูเขียนบล็อก และผูอานบล็อกที่เปนกลุมเปาหมาย ที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ ผานทางระบบ comment ของบล็อกนั่นเอง

• E-Commerce (อีคอมเมิรซ) เปน CMS สวนของการทํารานคา Online สามารถที่จะใชใน การซื้อของ ซึ่งสามารถที่จะเพ่ิมรายการสินคา ราคา ทําหนารานได • E-Learning เปน CMS ที่ใชในการทํางานสื่อการเรียนการสอน หรือ CAI แตสามารถที่ จะทําเปนระบบ online ได เหมาะสําหรับนักเรียน ครู อาจารย หรือสถานศึกษาตางๆ สามารถสรางแบบทดสอบตางๆ โดยผูที่ทําตองมีความรูในเรื่องของเว็บไซตและการจัดการเนื้อหาอยูพอสมควร • Forums (กระดานขาว) เปน CMS ที่ใชในการตั้งกระทูถามตอบปญหาหรือทําเปนชุมชน ตางๆ โดยจะมีการแบงเปนหัวขอหรือหมวดตางๆ ตามความสนใจของผูเขาชม ซึ่งสวนมากแลวตัว Forums นี้มักจะผูกกับตัว CMS อ่ืนๆ เขาไวดวยกัน แตในขณะเดียวกันนั้นผูใชงานก็สามารถที่จะติดตั้งใชงาน Forums อยางเดียว ก็ไดเชนกัน • Groupware เปน CMS ที่ออกแบบมาเพ่ือที่จะชวยการทํางานในองคกรหรือหนวยงานใหมี ความสัมพันธกัน และมีความรวดเร็วในการทํางาน สามารถที่จะชวยเหลือกัน สามารถทํางานเปนทีมและควบคุมการทํางานได โดยการทํางานก็จะผานระบบเน็ตเวิรคหรืออีเมลลหรือระบบเว็บออนไลนซึ่งการติดตอสื่อสารนั้นก็จะสามารถทําไดเปนกลุมๆ หรือเฉพาะบุคคลก็ได พรอมทั้งขอมูลที่ตองการแจงสามารถใชเปนรูปภาพ ขอความ หรืออ่ืนๆ ได โดยเปนซอฟทแวรที่สนับสนุนการทํางานรวมกันเปนกลุม เชน E-mail, eBBS (Electronic Bulletin Board System), E-Conference เปนตน ตัวอยางซอฟทแวรที่ใชเปน Groupware เชน Lotus Note, Microsoft Exchange ซึ่งมีสวนเก่ียวของกับงาน OA และ ระบบเครือขาย • Image Galleries (อัลบ้ัมภาพ) โดย CMS ประเภทนี้จะใชในการจัดการอัลบ้ัมภาพหรือทํา Galleries ก็จะมีฟงกชันในการใชงานโดยการแบงเปนหมวดหมูของภาพ สามารถกําหนดขนาดภาพ ขนาดไฟล หรือบางตัวสามารถที่จะทําการยอภาพลงมาตามที่กําหนดไดเอง หรือทําเปน Thumbnail ก็ได • Portals (CMS) – เปน CMS ที่เปนสวนของหนาตาหลักของเว็บไซต ซึ่งการทํางานนั้นก็ อาจจะทํางานดวยตัวของมันเองได แตในขณะเดียวกันก็สามารถที่จะเอาตัวอ่ืนๆ เขามารวมผนวกเพ่ิมไปได เชน CMS ตัวนี้ก็จะมีสวนของการจัดการเนื้อหาอยู แตก็จะมี Forums (กระดานขาว) หรือ Image Galleries (อัลบ้ัมภาพ) ผนวกเขาไปดวยเพ่ือทําใหผูใชงานนั้นสามารถใชงานไดสะดวกมากย่ิงข้ึน

Page 23: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

16

• วิกิ (Wiki) คือ เว็บไซตที่อนุญาตใหผูใช เพ่ิมและแกไขเนื้อหาไดโดยงาย เหมือนกับการ เขียนบทความรวมกัน คําวา "วิกิ" นี้ ยังสามารถใชหมายถึงซอฟตแวรที่ใชเพ่ือสรางเว็บไซตดังกลาวอีกดวย ลักษณะของตัววิกิจะออกไปแนวสารานุกรมหรือแหลงความรูจํานวนมากๆ มาก โดยจะเปนการระดมความเห็นจากหลายๆ คนมาใชงาน

Page 24: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

17

บทท่ี 3 การออกแบบ 3.1 กลาวนํา ในสวนนี้จะกลาวถึงแผนการดําเนินการโครงการจัดทําเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา เพ่ือใหเห็นถึงการดําเนินการโครงการ การติดตั้งระบบและทดสอบระบบ รวมถึงแผนการโปรโมตและประชาสัมพันธเว็บไซต โดยเปนการนําระบบ cms มาใชในการออกแบบและจัดการเนื้อหาซึ่งสามารถพัฒนาไดอยางรวดเร็วและใชงานไดงาย โดยการนําเครื่องมือ cms เขาใชงานในสวนของการจัดทําระบบสารสนเทศ เพ่ือเผยแพรงขอมูลขาวสาร การจัดการฐานขอมูล ใหเปนไปอยางมีประสิธิภาพ ซึ่งกอนจะเริมดําเนินการนั้นจึงจําเปนตองมีการ ออกแบบและวิเคระหระบบกอนที่จะเริ่มดําเนินการเพ่ือใหการดําเนินการสามารถทําไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ 3.2 การเก็บขอมูล

- จากการสอบถามขอมูลจาก เจาของรานและหุนสวน รวมทั้งเก็บขอมูลปญหาจากลูกจางของทางราน

- จากเอกสารขอมูลตางๆของทางราน - จากการสอบถามลูกคาที่เขามาใชบริการ

3.3 การวิเคราะหขอมูล - ปริมาณลูกคาที่เขามาใชบริการทางราน - คาใชจายในการโฆษณารูปแบบตางๆตอครั้ง - ปริมาณและคุณภาพของการโฆษณาและประชาสัมพันธในรูปแบบตางๆ

3.4 ความสัมพันธของตัวแปร 3.4.1 ปญหาปริมาณลูกคาที่เขามาใชบริการไมแนนอน เนื่องจากปจจุบันนี้ทางรานมีปริมาณลูกคาที่ไมแนนอนอันเนื่องจากการที่เนนกลุมลูกคาในบริเวณใกลเคียงเปนหลักจึงจําเปนตองการที่ขยายฐาน และกลุมลูกคาให เพ่ิมมากข้ึนกวาเดิมนอกเหนือจากผูที่พักอาศัยอยูบริเวณรานเทานั้น ดังนั้นจึงตองมีการใชการโฆษณาและประชาพันธเขามาชวย

3.4.2 ปญหาคาใชจายในการโฆษณารูปแบบตางๆ เนื่องจากคาใชจายในการโฆษณาผานสื่อในลักษณะตางๆ จะมีคาใชจายที่ไมเทากันซึ่งบางครั้งอาจจะเปนภาระดานการเงินของทางรานคอนขางสูง และบางครั้งอาจไมสามารถเขาถึง

Page 25: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

18

กลุมลูกคาไดเทาที่ควร ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองศึกษาคาใชจายในการทําการโฆษณาและประชาสัมพันธรูปแบบตางๆที่เหมาะสมคุมคาและสะดวกรวดเร็วที่สุดที่เหมาะสมกับทางราน 3.4.2 ปญหาปริมาณและคุณภาพของการโฆษณาและประชาสัมพันธ การโฆษณาและการประชาสัมพันธของทางรานนั้นยังคอนขางนอยซึ่งจะเปนลักษณะปากตอปากเปนสวนใหญหรือบางครั้งการใชการโฆษณาชองทางตางยังไมสามารถเขาถึงกลุมลูกคาไดมากเทาไร เชน การแจกใบปลิว 3.5 แผนภาพกระแสขอมูลของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา(Context Diagram)

คําคนหาขอมูลอาหาร

ขอมูลอาหาร

ตรวจสอบโปร

โมชันประจํ

าสัปดาห

ผลลัพ

ธทางเว็บบอรด

ขอมูลโปร

โมชันป

ระจําสัปดาห

ขอมูลสอบถามทางเว็บบ

อรด

ยืนยัน

ลงทะ

เบียนส

มาชิก

ลงทะ

เบียนส

มาชิก

ขอมูล

ผูใชง

าน

ยืนยัน

เขาสูร

ะบบ

เปลี่ยน

แปลง

ขอมูล

สมาชิก

ขอมูล

การจ

อง

รูปที่ 3.1 แผนภาพกระแสขอมูลของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา

จากรูปแผนภาพกระแสขอมูลของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา สามารถอธิบายไดดังนี้

ก. สวนของลูกคาสามารถเขามาใชงานในสวนของการ คนหาขอมูลอาหารที่นาสนใจของทางราน ตรวจสอบโปรโมชันประจําสัปดาห และสามารถสอบถามขอมูลผานทาง เว็บบอรด

ข. สวนของผูดูแลเว็บไซต

Page 26: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

19

ทําหนาที่ในการบันทึกขอมูลของอาหารตางๆและบริการของทางราน ไวในฐานขอมูลรวมทั้งทําการ update ขอมูลตางๆใหเปนปจจุบันเสมอ และทําหนาที่ในการจัดการขอมูลในสวนของ webbord

3.5.1 ผังแสดงการไหลของขอมูลระดับ 1 (Dataflow diagram level 1)

1.0

จัดการสวนของเว็บบอรด

2.0

จัดการรายละเอียดของอาหารและโปรโมชัน

ลูกคา ผูดูเลเว็บไซด

ผลลัพธหนาเว็บบอรดขอมูลสอบถามทางเว็บบอรด

คําตอบกระทูยืนยันการลบกระทู

ขอมูลอาหาร

ยืนยันเปล่ียนแปลงขอมูลอาหาร

เปล่ียนแปลงขอมูลอาหาร

คนหาขอมูลอาหาร

ขอมูลโปรโมชัน

D2 แฟมเว็บบอรด

ขอมูลอาหาร

ขอมูลการบันทึกรายการอาหาร

ขอมูลถามและตอบผานหนาเว็บบอรดขอมูลรายละเอียดเว็บบอรด

รายละเอียดอาหารD1

ขอมูลโปรโมชัน

คนหาขอมูลโปรโมชัน เปลี่ยนแปลงโปรโมชัน

ยืนยันเปลียนเปลงขอมูลโปรโมชัน

โปรโมชันD3

บันทึกรายการโปรโมชัน

3.0

จัดการขอมูลสมาชิก

D4 ขอมูลสมาชิก

ยืนยันขอมูลการสมัครสมาชิก

ยืนยันเขาสูระบบ

ช่ือผูใชและรหัสผานขอมูลสมาชิก

ขอมูลสมาชิก

ขอมูลการเปลี่ยนหรือลบสมาชิก

D4 ขอมูลสมาชิก

ขอมูลสมาชิก

ขอมูลการสมัครสมาชิก

ขอมูลผูใชงาน

กระทูท่ีตองการลบ

เปล่ียนแปลงขอมูลสมาชิก

ขอมูลอาหารขอมูลโปรโมชัน

4.0

จัดการการจอง

ขอมูลการจองผลลัพธหนาการจอง

ขอมูลการจอง

ขอมูลสมาชิกช่ือผูใชและรหัสผาน

รูปที่ 3.2 ผังการไหลของขอมูลระดับ 1

จากรูป จะแสดงกระบวนการทํางานของหนาเว็บไซตประกอบไปดวย 4 กระบวนการดังนี ้

Page 27: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

20

1. จัดการสวนของเว็บบอรด เปนกระบวนการจัดการสวนของหนาเว็บบอรด ที่ผูดูแลระบบและสมาชิกสามารถใชงานโดยการตั้งกระทูสอบถามขอมูลจากทางราน หรือใชในการพูดคุยได 2. จัดการรายละเอียดของอาหารและโปรโมชัน เปนสวนที่ทางสมาชิกและผูเย่ียมชมเว็บไซตสามารถเขามาตรวจสอบขอมูลรายการอาหารทั้งหมดของทางรานรวมทั้งรายการโปรโมชันใหมๆของทางรานได โดยผูดูแลเว็บไซตจะเปนผู update ขอมูลตางๆใหทันสมัยอยูเสมอ 3. จัดการขอมูลสมาชิก เปนระบบจัดการขอมูลสมาชิกที่ผูดูแลเว็บไซตและสมาชิกสามารถทําการดูเพ่ิมเติมและแกไขขอมูลของสมาชิกเองได โดยผูดูแลเว็บไซตจะสามารถทําการเพ่ิม หรือลบขอมูลสมาชิกได 4 จัดการสวนของการจอง เปนกระบวนการจัดการในสวนของการจองโตะและสั่งอาหารลวงหนาโดยทางสมาชิกสามารถกําหนดรายละเอียดการจองดวยตัวเองได โดยผูดูแลระบบจะเปนผูตรวจสอบรายละเอียดการจองและติดตอกลับทางลูกคาอีกครั้งเพ่ือยืนยันการจอง 3.5.2 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) ของการจัดการเว็บบอรด

ลูกคา

2.1

เพ่ิมกระทู

แฟมเว็บบอรดD2

ผูดูแลเว็บไซต2.3

ลบกระทู

ขอมูลสอบถามทางเว็บบอรดผลลัพธหนาเว็บบอรด

กระทูที่ตองการลบ

ยืนยันลบกระทู ขอมูลกระทู

ขอมูลกระทูท่ีตองการลบ

ขอมูลกระทูใหม

ขอมูลสมาชิกD42.2

ตอบกระทูคําตอบกระทู

ขอมูลสมาชิก

คําตอบกระทู

ขอมูลสมาชิก

ผลลัพธคําตอบกระทู

D4

รูปที่ 3.3 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) ของการจัดการเว็บบอรด

Page 28: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

21

จากภาพ เปนการจัดการในสวนตางๆของเว็บบอรด ดังนี้ 1. การเพ่ิมกระทู เปนการเพ่ิมกระทูใหมโดยสมาชิกและผูดูแลระบบ 2. การลบกระทู เปนการลบกระทูที่ผูดูแลระบบเห็นวาไมสมควรในการแสดงที่หนาเว็บอรด 3.5.3 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) การจัดการอาหารและโปรโมชัน

คนหาขอมูลอาหาร

คนหาขอมูลโปรโม

ชัน

ขอมูลโปรโม

ชัน

ยืนยันโปรโมชันแกไข

โปรโมชันรที่ตองการแกไข

ขอมูลอาหาร

ขอมูลโปรโมชันคะแนนโหวต

รูปที่ 3.4 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) การจัดการอาหารและโปรโมชัน

Page 29: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

22

จากภาพ เปนการจัดการในสวนตางๆของการจัดการอาหารและโปรโมชัน โดยแบงกระบวนการออกเปนทั้งหมด 7 กระบวนการ 1. กระบวนการที่ 2.1 แสดงขอมูลอาหารและโปรโมชัน ในสวนนี้จะทําหนาที่ในการสงขอมูลของรายละเอียดรายการอาหารและโปรโมชันตางๆ ที่ทางลูกคาตองการทราบ 2. กระบวนการที่ 2.2 จัดการแกไขขอมูลอาหาร กระบวนการนี้จะทําจัดการในสวนของการแกไขขอมูลอาหารตางๆใหทันสมัย

3. กระบวนการที่ 2.3 จัดการลบขอมูลรายการอาหาร กระบวนการนี้จะจัดการในสวนของการลบขอมูลรายการอาหารตางๆ โดยผูดูแลเว็บไซตเปนผูดําเนินการ 4. กระบวนการที่ 2.4 เพ่ิมรายการอาหาร กระบวนการนี้จะจัดการในสวนของการเพ่ิมเมนูรายการอาหารใหมๆ หรือเปนอาหารที่นาสนใจประจําราน

5. กระบวนการที่ 2.5 ลบรายการโปรโมชัน กระบวนการนี้จะจัดการในสวนของการลบรายการโปรโมชันตางๆ ที่หมดเขตไปแลวออกจากระบบ 6. กระบวนการที่ 2.6 เพ่ิมรายการโปรโมชัน กระบวนการนี้จะทําหนาที่จัดการในสวนของการเพ่ิมรายการโปรโมชันใหมๆประจําสัปดาหของทางราน

7. กระบวนการที่ 2.7 เกไขรายการโปรโมชัน กระบวนการนี้จะทําหนาที่จัดการในสวนของการแกไขขอมูลสวนของโปรโมชันที่มีอยูเลว

Page 30: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

23

3.5.4 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) ของการจัดการขอมูลสมาชิก

รูปที่ 3.5 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) การจัดการขอมูลสมาชิก จากภาพ เปนการจัดการสวนของสมาชิก โดยแบงออกเปน 3 กระบวนการดังนี ้1. กระบวนการที่ 1.1 สมัครสมาชิก กระบวนการนี้จะดําเนินการเพ่ิมขอมูลสมาชิกที่สมัครใหม 2. กระบวนการที่ 1.2 เขาระบบ เปนกระบวนการในการล็อกอินเขาสูระบบโดยการใชชื่อผูใชและ รหัสผานของสมาชิกเพ่ือเขาระบบ 3. กระบวนการที่ 1.3 จัดการสมาชิก เปนกระบวนการของผูดูแลเว็บไซตทําการเปลี่ยนหรือลบขอมูลสมาชิก

Page 31: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

24

3.5.5 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) ของการจัดการการจอง

ขอมูลการจอ

รูปที่ 3.6 ผังแสดงการไหลของขอมูล ระดับ 2 (DFD Level 2) การจัดการการจอง 3.5.6 Data dictionary of data flow ขอมูลสอบถามทางเว็บบอรด ชื่อผูใชงาน + คําถาม ขอมูลกระทูใหม หมายเลขกระทู + ขอความกระทู ขอมูลสมาชิก ชื่อสมาชิก + รหัสผาน ขอมูลอาหาร หมายเลขอาหาร + ประเภท ขอมูลโปรโมชัน หมายเลขโปรโมชัน + ประเภท คนหาขอมูลอาหาร ชื่ออาหาร + ประเภท + หมายเลขอาหาร คะแนนโหวต ชื่อผูใชงาน + รายการอาหาร ขอมูลการสมัครสมาชิก ชื่อ + ชื่อผูใช + พาสเวอรด + อีเมล ยืนยันขอมูลการสมัครสมาชิก ชื่อ + ชื่อผูใช + พาสเวอรด + อีเมล ชื่อผูใชและรหัสผาน ชื่อผูใชงาน + พาสเวอรด ขอมูลสมาชิก ชื่อ + ชื่อผูใช + พาสเวอรด + อีเมล ยืนยันเขาสูระบบ ชื่อผูใช + รหัสผาน ขอมูลเปลี่ยนแปลงสมาชิก ชื่อ + อีเมล + ชื่อผูใช + พาสเวอรด

Page 32: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

25

ขอมูลการเปลี่ยนหรือลบสมาชิก ชื่อ + อีเมล+ ชื่อผูใช + พาสเวอรด ขอมูลการจอง ชื่อ+ อีเมล+ ชื่อผูใช + รายละเอียดการจอง 3.5.7 Data Dictionary of Data store D1 รายละเอียดอาหาร รหัสอาหาร + รูปอาหาร + รายละเอียดอาหาร D2 แฟมเว็บบอรด หมายเลขกระทู + หมวดหมู + รายละเอียดเว็บบอรด D3 โปรโมชัน หมายเลขโปรโมชัน + ประเภทโปรโมชัน + รายละเอียด

โปรชัน D4 ขอมูลสมาชิก ชื่อ + ชื่อผูใช + พาสเวอรด + อีเมล + เบอรติดตอ + ที่

อยู

Page 33: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

26

3.5.8 Entity Relationship Diagram เว็บไซตรานอาหารตําเทวดา

1

M

has

vote

has

reply

1

owner

1

1

booking

รูปที่ 3.7 การออกแบบEntity Relationship Diagram

Mapping Entity Relationship Bord_Question = ID_Question,Question_Date,Question_detail,Question_header ,ID_Member(fk),id_answer(fk) Bord_Answer = ID_answer , answer_Date,answer_detail,answer_header ,ID_Member(fk),id_question(fk) Food Collection = ID_CFood,Cfood_detail,Cfood_image,id_member(fk),id_promotion(fk) Promotion = ID_promotion, promotion_name,promotion_detail,id_cfood(fk) Member=ID_member,member_pass,member_mail,member_tel,member_level,member_name,member_registerdate,member_lastvisitdate,member_activation Photo = id_photo ,photo_description,photo_catid ,photo_date,photo_filename,photo_title Reservation = res_detail , id_res , res_name

Page 34: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

27

3.5.9 Database Shema ตารางที่ 3.1 ตาราง Bord_Question

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิดขอมูล

ขนาด ความหมาย คาวาง

1 Id_question pk int 11 หมายเลขคําถาม ไม

2 Question_date datetime 11 วันที่สรางคําถาม ไม

3 Question_detail text เนื้อหาคําถาม ไม

4 Question_header text 11 ชื่อกระทู ใช

5 Id_member fk int 11 รหัสผูใช ไม

6 Question_catid fk int 11 รหัสประเภท ไม

7 member_name fk varchar 255 ชื่อผูใช ไม

8 Member_mail fk varchar 100 อีเมลผูใช ไม

9 Id_answer fk int 11 หมายเลขคําตอบ ไม

ตารางที่ 3.2 ตาราง Bord_anser

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิดขอมูล ขนาด ความหมาย คาวาง 1 Id_anser pk int 11 หมายเลขคําตอบ ไม

2 anser_date datetime 11 วันที่สรางคําถาม ไม

3 anser_detail text เนื้อหาคําถาม ไม

4 Id_member fk int 11 รหัสผูใช ไม

5 Id_question fk int 11 หมายเลขคําถาม ไม

ตารางที่ 3,3 ตาราง food_collection

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิดขอมูล

ขนาด ความหมาย คาวาง

Page 35: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

28

1 Id_cfood pk int 11 หมายเลขอาหาร ไม

2 Cfood_detail text รายละเอียดอาหาร ไม

3 Cfood_name varchar 255 ชื่ออาหาร ไม

4 Id_member fk int 11 รหัสผูใช ไม 5 Id_promotion fk int 11 หมายเลขโปรโมชัน ไม 6 Cfood_type varchar 50 รูปแบบ ไม 7 Cfood_menutype varchar 75 รูปแบบเมนู ไม

ตารางที่ 3.4 ตาราง member

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิดขอมูล

ขนาด ความหมาย คาวาง

1 Id_member pk int 11 รหัสผูใช ไม

2 Member_pass varchar 100 รหัสผาน ไม

3 Member_mail varchar 100 อีเมลผูใช ไม

4 Member_name varchar 255 ชื่อผูใช ไม

5 Member_Level varchar 25 ระดับสมาชิก ไม

6 Member_registerdate datetime วันที่ลงทะเบียน ไม

7 Member_lastvisitdate datetime วันเขาชมลาสุด ไม

8 Member_activation varchar 100 การใชงาน สมาชิก

ไม

9 Member_username varchar 150 ชื่อที่ใชล็อกอิน ไม

Page 36: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

29

ตารางที่ 3.5 ตาราง promotion

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิด ขอมูล

ขนาด ความหมาย คาวาง

1 Id_promotion pk int 11 หมายเลขโปรโมชัน ไม

2 promotion_detail text รายละเอียดโปรโมชัน ไม

3 Promotion_name varchar 255 ชื่อโปรโมชัน ไม

4 Id_cfood fk int 11 หมายเลขอาหาร ไม

5 promotion_type varchar 50 รูปแบบ ไม

6 promotion_menutype

varchar 75 รูปแบบเมนู ใช

ตารางที่ 3.6 ตาราง photo

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิดขอมูล ขนาด ความหมาย คาวาง 1 Id_photo Pk int 11 เลขภาพ ไม 2 Photo_description text รายละเอียดภาพ ใช 3 Photo_catid int 11 รหัสประเภท ไม 4 Photo_date datetime เวลาของภาพ ไม 5 Photo_filename varchar 250 ชื่อไฟลภาพ ไม 6 Photo_title varchar 250 ชื่อภาพ ไม 7 Id_cfood fk int 11 หมายเลขอาหาร ไม

ตารางที่ 3.7 ตาราง reservation

ลําดับ ชื่อคอลัมน ประเภท ชนิดขอมูล ขนาด ความหมาย คาวาง

1 Id_res pk int 11 หมายเลขการจอง ไม 2 Res_name varchar 255 ชื่อการจอง ไม 3 Res_detail text รายละเอียดการจอง ไม 4 Id_member fk int 11 รหัสผูใชงาน ไม

Page 37: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

30

3.6 การเลือกใชซอรฟแวรสําเร็จรูปของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา

ในการนําระบบบริหารจัดการเนื้อหามาใชงานนั้น จากการศึกษาพบวามีระบบบริหารจัดการเนื้ออยูหลายตัวดวยกัน ดังนั้นทางผูจัดทําจึงไดเลือกทําการศึกษาเฉพาะในสวนของตัวทีส่ามารถรองรับฟงชันกการทํางานของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดาที่ไดออกแบบไวและเปนซอรฟแวรซึ่งไมเสียคาใชจาย และเปนที่รูจักอยางเพรหลาย ไดแก ระบบบริหารจัดการเนื้อหา(joomla) ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Mambo) ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Drupal) ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (TYPO3) โดยทําการเปรียบเทียบซอรฟแวรแตละตัววาตัวใดตรงกับความตองการและเหมาะสมกับตัวแปรที่ไดทําการออกแบบไวแลว 3.6.1 การคัดเลือกระบบบริหารจัดการเน้ือหา ก. Drupal ดรูปาล (Drupal) เปนระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Content Management System) แบบโอเพนซอรส เริ่มตนพัฒนาโดย Dries Buytaert ในภายหลังดรูปาลมีจุดเดนในเรื่องสถาปตยกรรมภายในที่ยืดหยุน ซึ่งมีที่มาจากเว็บไซตแรกที่ใชคือ Drupal ความงายการใชงานDrupal มีโครงสรางโปรแกรมที่ตางจาก CMS อ่ืน ๆ ผูจัดการบริหารระบบไมมี User Interface แยกออกไปตางหากดังเชน CMS โปรแกรมอ่ืน ๆ แต User Interafce ของ Drupal จะถูกเปลี่ยนแปลงไปตามสิทธิ์ของผูใช Drupal มีระบบบริหารและกําหนดสิทธิสมาชิกที่ดีมาก มีความยืดหยุนสูง แมวาตอนแรกๆ อาจจะสับสนกับการใชงานบาง แตเมื่อเขาใจระบบแลว จะรูสึกวาใชงานไดงายและสะดวกมาก นอกจากนี้ Drupal ยังมีรูปแบบการแสดงผลที่คอนไปทาง Blog สมัยใหม ซึ่งแตกตางจาก CMS โปรแกรมอ่ืน ๆ ที่ยังคงมีรูปแบบการแสดงผลเชิงขาวอยู Drupal เปนโปรแกรมที่ถือไดวามีการใชเทคนิคการเขียนโปรแกรมที่ดีมากในสวนของ โคดของโปรแกรมกระชับและสั้นมาก มีความเปน Modular สูง แทบไมมีการเขียน HTML รวมกับ PHP ทําใหการอานทําความเขาใจ และการเขียน code เพ่ิมเติมเปนไปไดโดยงาย โดยหากไมตองการเขียนเอง community ของ Drupal มีอยูคอนขางมากและ มี module อยูคอนขางหลากหลายทําใหงายตอการเลือกใชพอสมควร ข. Mambo

Mambo เปนระบบการจัดการขาวสารบนเว็บไซตสําเร็จรูปหรือ Web Content Management Systems (CMS) ซึ่งเปนระบบการจัดการขาวสาร (content) ที่สามารถทํางานไดบนบราวเซอร และสามารถทําการอัพเดตเว็บสําเร็จรูปผานอินเทอรเน็ตไดโดยที่ไมตองอาศัยโปรแกรมในการออกแบบเว็บไซต เพียงอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต ก็สามารถที่จะปรับปรุงขาวสารบนเว็บไซตใหสามารถมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลาได นอกจากนี้ยังสามารถปรับปรุงขาวสารจากสมาชิกของ

Page 38: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

31

เว็บไซต ผานหนาเว็บไซตของ Mambo ลักษณะการทํางานเหลานี้เปนการประมวลผลบนเครื่องแมขายหรือ Server Processing ซึ่ง Mambo เปนระบบที่พัฒนาจากโปรแกรมภาษา PHP (Personal Home Page) และเชื่อมโยงกับฐานขอมูล MySQL สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพบนระบบปฏิบัติการ แบบ Unix , Linux , FreeBSD , Linux TLE Mambo เปน CMS ที่มีความสะดวกและงายตอการใชงาน การติดตอกับผูใชงานทั้งหมดแบบ Graphic User Interface (GUI) ที่มีการทํางานคลายกับการใชงานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่เปนที่แพรหลายในปจจุบันทําใหงายตอการเรียนรูและการใชงาน

ค. Joomla Joomla คือโปรแกรม open source ที่เปนระบบบริหารจัดการเนื้อหาเว็บไซต (Web Content Management Systems: CMS) ซึ่งถูกพัฒนาดวย PHP และใชฐานขอมูลของ MySQL ในการเก็บขอมูล มีเทคนิคการเขียนโปรแกรมข้ันสูงภายใตมาตรฐาน XHTML สามารถทํางานไดหลายแพลตฟอรมที่รองรับ PHP และ mySQL ทั้งนี้ Joomla!TM ไดถูกพัฒนาข้ึนอยางตอเนื่องจากทีมพัฒนาที่มีอยูทั่วโลก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพ่ิมข้ึนอยูตลอดเวลา โดยระยะเริ่มตน Joomla! ไดมุงเนนเพ่ือใชในการพัฒนา Coporate Website หรือเว็บไซตของบริษัทและองคกรตางๆ รวมไปถึงเว็บ Intranet ภายในหนวยงาน โดยมีจุดเดนอยูที่ความสวยงามของรูปแบบที่ดูเปนสากล รวมถึงความงายตอการใชงานของทั้งผูพัฒนาและผูเขาชมเว็บไซต ซึ่งใหความรูสึกแตกตางจาก CMS ทั่วไป ตรงที่สามารถออกแบบและสรางหนาตาของเว็บไซต (Template) ไดตามตองการ และเนื่องจากการพัฒนา Joomla!TM ที่มีเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง ทําใหปจจุบันมีเครื่องมือเสริมหลายตัวที่ชวยในการนําไปใชสรางเว็บไซตได หลายประเภทมากข้ึน อาทิ การสรางเว็บไซตเชิงพาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ E-Commerce การสรางเว็บทา (Portals) การสรางเว็บไซตเพ่ือใชเปน Community และเว็บไซตประเภทอ่ืนๆ หลากหลายรูปแบบข้ึนอยูกับการประยุกตใชโดยหาก ตองการที่จะสรางเว็บไซต แตไมเคยทํามากอน Joomla!TM สามารถใชงานไดโดยไมจําเปนตองมีความรูทางดานการเขียนโปรแกรมอยาง HTML, XML, DHTML, PHP หรือแมแต MySQL ซึ่งสามารถเพ่ิมเติมและเปลี่ยนแปลงเนื้อหา โดยไมจําเปนตองเสียเวลาไปกับการแกไขโปรแกรม รวมถึง Joomla!TM ยังไมมีขีดจํากัดในเรื่องของการออกแบบ ทําใหสามารถปรับเปลี่ยนหนาตาเว็บไซตไดสวยงามตามตองการ

ประสิทธิภาพและความสามารถของ Joomla!TM

ประโยชน หลักของ Joomla! คือ การทําใหสามารถจัดการกับเนือ้หาหรือขอความ (Content) ไดโดยตรงผานหนาเว็บ โดยผูบริหารเว็บหรือผูดูแลเว็บไซต ไมจําเปนตองมีความรูทางดานโปรแกรมเชน HTML ในการอัพเดทเว็บ เพราะ Joomla! มี editor ออนไลน เชน WYSIWYG editor ไวเพ่ือการจัดรูปแบบขอความตัวอักษร (Text) และรูปภาพ และไมจําเปนที่ตองอัพโหลด

Page 39: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

32

เอกสารดวยโปรแกรม FTP เพียงแคคลิกปุม save หรือ apply หนาเว็บก็จะออนไลนเตรียมพรอมรับผูเขาชมที่จะเขามาดูในเว็บ ไดทันท ี

สามารถใช Joomla!TM กับเว็บไซตไดหลากหลายประเภท เชน

เว็บทา (Portals) เว็บไซตเชิงพาณิชย (Commercial web sites) เว็บไซตที่ใชในองคกร (Intranet web sites) เว็บไซตที่ไมแสวงหากําไร (Non-Profit web sites) เว็บไซตสวนตัว (Personal web sites) เว็บไซตที่สรางจาก Flash (Integrated flash sites)

Joomla!TM สามารถใชงานไดหลายลักษณะ ดังนี ้

อัพเดทเว็บไซตดวยขาว บทความ และรูปภาพ งาย ตอการสรางเนื้อหาของดวยเมนู เชน ผลิตภัณฑ > ฮารดแวร > เครื่องเลนดีวีดี หรือ

ผลิตภัณฑ > ฮารดแวร > เครื่องเลนซีดี อัพโหลด MS Word, MS Excel และ Acrobat PDF เพ่ือใหดูเอกสารได จัดการ Banner เชน โฆษณา สรางโพล (แบบสํารวจ) จัดการเว็บลิงค จัดการ FAQ จัดการขาวที่อยูในรูป flash จัดการกับ multi media flash, และไฟลรูปภาพ .jpg, pif, bmp และ .png จัดการกับการปอนขาวจากแหลงขาวที่มาจากเว็บไซตตางๆ จัดการกับ contact และ อีเมล จากหนาตางๆ ใหระดับการเขาถึงขอมูล (access) กับผูใช จัดการหนา Archive จัดการ components, modules และ templates ที่พัฒนาข้ึนมาเพ่ิมเติม เชน e-

commerce, forums, รูปภาพ, ปฏิทิน และกําหนดการ, help desk เปนตน

Page 40: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

33

รูปที่ 3.8 ผังการเขียนเว็บไซต โดยใชโปรแกรม Joomla

ง. TYPO3

คือระบบการจัดการเนื้อหาที่มีประสิทธิภาพ (CMS:Content Management System) เอ้ืออํานวยตอขอบเขตการทํางานที่ไมตองการการเปรียบเทียบเรื่องราคาที่แพง TYPO3 เปนฟรีซอฟทแวรและเปน Open Source อยางแทจริง สามารถควบคุมหนาเว็บใหสามารถใสเนื้อหาก็ โครงสราง การแสดงผล และสวนนําทางตาง ๆ ก็สามารถจัดการไดโดยงายผาน WYSIWYG บนการแสดงผลที่มีพ้ืนที่แตกตางกัน การเผยแพร แบบไมมีคาลิขสิทธ(GPL) อีกทั้งยังสามารถที่จะปรับเปลี่ยน source code ใหเหมาะสมไดอีกดวย

TYPO3 ถูกพัฒนาโดยชาวเดนมารค ชื่อวา Kasper Sk โดยเนื้อหาของระบบถกูจัดใหการทํางานที่หลากหลายและมีโมดูลเพ่ิมเติม ดวยความเปนสถาปตกรรมที่เปดกวางนี้เองทําใหปญหากับนักพัฒนาโมดูลงาน ชวงแรก ๆ ของการกําหนดคาตาง ๆ อาจจะคอนขางยาก จําเปนที่จะตองไดรับการฝกฝนอยางดี เพ่ือใหสามารถใชงานไดอยางไมมีปญหา ซึ่งก็อาจปญหาสําหรับผูเริ่มตนที่ไมคอยมีเวลา

ดานการพัฒนา

Page 41: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

34

แมปริมาณผูใชจะนอย แตมีชุมชนนักพัฒนาที่คอนขางแขมแข็ง เนื่องจากผูใชสวนใหญจะเปนผูมีความสามารถดานเขียนโปรแกรม (เนื่องจากใชงานคอนขางยาก)

สถาปตยกรรม

สําหรับรุน 4.1.2 รองรับทั้ง Apache 1.3 ข้ึนไป และ IIS 5 ข้ึนไป สวน PHP ตองใช PHP 4 ข้ึนไป ฐานขอมูลสามารถใช MySQL, PostGreSQL, Oracle, MSSQL หรือที่ใช ODBC Typo3 จะมีความสามารถเรื่อง multisite ไดสมบูรณ แตถาปนผูดูแลระบบที่เปดใหผูใชหลายคนเขามาติดตั้งแตละเว็บเอง Typo3 คอนขางเหมาะสม เพราะเพียงแคนําสวน dummy ใน Typo3 (หรือ setting ใน Drupal) มาวางใน Directory ใหมก็สามารถใชได ในขณะที่ Drupal ตองวางใน Directory sites เทานั้น ทําใหการกําหนดสิทธิ์ยุงยากกวา Typo3

3.6.2 การเปรียบเทียบระบบบริหารการจัดการและเน้ือหา

โดยจะเปนการเปรียบเทียบรายละเอียดในสวนของรายละเอียดของซอรฟแวรทั้ง 4 ตัว โดยดูจากความตองการของระบบและตัวแปรจากการออกแบบโครงงานเปนหลัก เพ่ือหาซอรฟแวรที่เหมาะสมมากที่สุด

ตารางที่ 3.8 แสดงการเปรียบเทียบซอรฟแวรดานความตองการจากฟงชันกการทํางานของเว็บไซตที่ไดทําการออกแบบไว

ตัวแปรฟงชันกการทํางานของเว็บไซตที่ออกแบบ

Drupal joomla Mambo TYPO3

SSL Logins NO YES YES YES

Image Resizing No YES NO YES

Public Folum YES YES YES YES

Inline Administration YES YES YES YES

Online Administration YES YES YES YES

Page 42: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

35

Theme/skin Yes Yes Yes Yes

Blog Yes Yes Yes NO

Contact management NO Yes Yes NO

Graph and Chart No Yes Add on Add on

Event Calendar Add on Add on Add on Add on

FAQ Management YES YES YES NO

News letter Add on Add on Add on Add on

E-Mail group NO YES NO NO

POLLS YES YES YES NO

Serch YES YES YES YES

Web statistic YES YES YES YES

Web service front End Limited YES NO NO

3.7 ขอดี – ขอเสีย ของ CMS สามารถวิเคราะหขอดีและขอเสียของ cms ทั้ง 4 ตัวไดดังนี ้Drupal ขอดีใชงานงายทําความเขาใจไดคอนขางงายปรับแตงไดคอนขางเยอะและmodule มีประสิทธิภาพคอนขางดี รวมทั้ง URL สวยงามและสามารถ ตั้งเองได ขอเสีย

Page 43: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

36

1. การติดตั้ง module ยังเปน manual ตอง import sql กันเอง 2. module มักอัพเดตตาม core ไมทัน 3. module หลายตัวพอรตจาก Wordpress ตองรอเวลาในการพอรต 4. module หลายตัวสนับสนุนแต MySQL ถาจะใช Postgres คงลําบาก 5. หนา admin รวมกับหนาปกติ ไมแยกขาดจากกัน 6. การวาง layout ของ block ตางๆ ยังปรับไดไมมาก 7. ไมคอย integrate กับโปรแกรมอ่ืนๆ เชน phpBB ตองใช module ของตัวเอง 8. ขาดเรื่อง version control

Mambo และ joomla ขอดี 1. ติดตั้ง module ไดจาก web interface โดยตรง module, template มีเยอะ มีคุณภาพ และมี commercial module หลายตัว 2. integrate ไดดีกวา Drupal ขอเสีย 1. URL ไมสวยงาม 2 ระบบ i18n ไมดีเนื่องจาก message ฝงไวภายในโคด TYPO3

ขอดี สามารถจัดการเรื่อง multisite ไดสมบูรณ แตถาปนผูดูแลระบบที่เปดใหผูใชหลายคนเขามาติดตั้งแตละเว็บเอง Typo3 คอนขางเหมาะสม เพราะเพียงแคนําสวน dummy ใน Typo3 (หรือ setting ใน Drupal) มาวางใน Directory ใหมก็สามารถใชได

ขอเสีย ใชงานยาก เหมาะสําหรับผูที่มีความรูทางดานการออกแบบเว็บไซต

หลังจากไดศกึษาถึงฟงชันกการทํางานของกระบวนการของระบบบริหารการจัดการเนื้อหา การเปรียบเทียบระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซตซอรฟแวรสําเร็จรูปทั้ง 4 ตัวนั้น โดยเปนการเปรียบเทียบจากฟงชันกของโปรเกรมแตละตัววาสามารถรองรับการทํางานของรูปแบบเว็บไซตและตัวแปรที่ไดทําการออกแบบไวหรือไมนั้น พบวาฟงชันกของระบบบริหารการจัดการเนื้อหาซอรฟแวรจูมลา นั้นสามารถรองรับฟงชันการทํางานของรูปแบบเว็บไซตและตัวแปรที่ไดทําการออกแบบไวกอนหนานี้ไดมากที่สุด รวมทั้งเครื่องมือบริหารการเนื้อหา จูมลานั้นเปนเครื่องมือที่สอดคลองกับความตองการ และใชงานไดงายทั้งการติดตั้ง และการดูแล โดยผูที่ใชงานไมจําเปนตองมีความรูในการเขียนโปรแกรมดานเว็บก็สามารถใชงานได

Page 44: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

37

บทท่ี 4 การดําเนินงาน

4.1 กลาวนํา โครงงานนี้ มีจุดประสงคเพ่ือจัดทํา เว็บไซต รานอาหารตําเทวดา เพ่ือที่จะใชในการโฆษณาและประชาสัมพันธราน และเปนชองทางสําหรับการสื่อสาร และ เผยแพรขอมูล รวมทั้ง อาหารและบริการ รวมทั้งโปรโมชัน ตางๆ ของทางรานไปยังลูกคา และยังสามารถนําระบบไปบริหารจัดการทางดานเทคโนโนโลยีสารสนเทศ ไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเนื้อหาในบทนี้จะเปนข้ันตอนในการดําเนินงานโครงงานเว็บไซต รานอาหารตําเทวดา ตามที่ไดมีการวิเคราะหและออกแบบระบบไวในบทที่ 3 4.2 ขั้นตอนการดําเนินงานโครงงาน

รูปที่ 4.1 ข้ันตอนการดําเนินงานเว็บไซต ตําเทวดา

Page 45: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

38

จากรูปที่ 4.1 เปนกระบวนการหรือข้ันตอนในการสรางเว็บไซตดวย cms โดยทําการอธิบายข้ันตอนการดําเนินงานทั้งหมดไดดังนี ้

ก. start เปนการเตรียมขอมูลเนื้อหาที่สําคัญ ในการนํามาลงบนเว็บไซต โดยจะ เปนในสวนของเรื่องที่ตองการจะโฆษณาและประชาสัมพันธ รวมทั้งรายละเอียดอาหารและบริการตางๆของทางราน

ข. เลือก เว็บเซิรฟเวอร เปนการเลือกเว็บโฮสติ้งเพ่ือนําเว็บไซตไปฝากไว กับเว็บเซิรฟเวอรของรานตําเทวดา

ค. เลือก cms เปนการเลือกเครื่องมือที่จะใชในการพัฒนาเว็บไซต รานอาหารตําเทวดา ง. การติดตั้งและปรับแตง เปนข้ันตอนการติดตั้งและปรับแตงเว็บไซตใหตรงตวาม

ตองการ จ. เพ่ิมเติม/แกไข เปนการเพ่ิม content หรือแกไข content ตาง เพ่ือใหสามารถใชงาน

ไดตามความตองการ ฉ. END จบการทํางาน

4.3 การสํารวจเบ้ืองตน

ทําการเก็บขอมูลจากสวนตางๆ ดังนี ้- จากการสอบถามขอมูลจาก เจาของรานและหุนสวน รวมทั้งเก็บขอมูลปญหาจากลูกจาง

ของทางราน - จากเอกสารขอมูลตางๆของทางราน - จากการสอบถามลูกคาที่เขามาใชบริการ

โดยจากการเก็บขอมูลจากสวนตางๆ นั้นสามารถสรุปเปนปญหา และ ความตองการของทางรานไดดังนี ้ ปญหาและอุปสรรค - กลุมลูกคาคอนขางจํากัดเฉพาะกลุมคนซึ่งเปนผูที่พักอยูบริเวณใกลกับทางรานเปนสวนใหญทําใหกลุมลูกคาที่เขามาใชบริการทางรานนั้นจะเปนลักษณะเฉพาะกลุม เชน นักศึกษา อาจารย และ ขาราชการ เปนสวนใหญ -ไมมีสื่อทางเว็บไซตหรือชองทางการโฆษณารานอาหารเปนของตัวเองเพ่ือทําการโฆษณา อาหารของทางราน หรือโปรโมชันประจําสัปดาห ซึ่งจะทําให update ขอมูลตางๆของทางรานไดถูกตองและรวดเร็ว - ไมมีการโฆษณาหรือประชาสัมพันธรานอาหารเทาที่ควร เนื่องจากปจจุบันจะมีแคการลงโฆษณาตาม webbord หรือ นิตยสาร เพียงเล็กนอยเทานั้น ทําใหทางรานยังไมเปนที่รูจักของคนทั่วไปเทาที่ควร

Page 46: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

39

- คาใชจายในสวนของการโฆษณาประชาสัมพันธสวนใหญ คอนขางสูงหากตองการทําการโฆษณาผานนิตยสาร หรือ ผานทางรายการโทรทัศน

ความตองการระบบของทางรานอาหารตําเทวดา - สามารถจัดการขอมูลขาวสารตางๆของทางรานไดถูกตองและรวดเร็ว - โฆษณาประชาสัมพันธและเผยเพรขอมูล อาหารและบริการ และโปรโมชันตางๆ ของทาง

รานได - งายและสะดวก ในการปรับปรุง แกไขขอมูลใหทันสมัย - สามารถเปนสื่อในการติดตอกันระหวาง รานกับลูกคา ได - สามารถเก็บขอมูลทั้งของลูกคา และสินคาและบริการของทางรานได

4.4 การจัดหาระบบ

4.4.1 การจัดหาอุปกรณ สวนใหญอุปกรณ จะมีใชอยูภายนรานอยูแลว โดยสามารถนํามาติดตั้ง ใชงานเว็บไซตไดเลย โดยไมตองดําเนินการจัดซื้อทรัพยากรใหม คุณสมบัติของอุปกรณมีดังนี ้ 1. คอมพิวเตอร

- หนวยประมวลผลกลาง CPU : Core2 Duo 2.4 ghz+ - หนวยความจํา (RAM) : 4 GB

- หนวยความจําสํารอง (Hard disk) : 520 GB +

2 อุปกรณเครือขาย internet 3 ระบบปฎิบัติการ Microsoft windows xp 4 Internet explorer 8.0 5 โปรแกรม joomla version 1.5.2 สามารถ download ไดจาก www.joomlathai.com

4.5 การทดสอบระบบ

การทดสอบระบบที่ใชงานในระบบวาสามารถทํางานไดอยางถูกตองหรือไม กอนที่จะทําการติดตั้งระบบเพ่ือใชงานจริง โดยในการทดสอบระบบ จะเปนการดําเนินการจริงตามกระบวนการตาง และมีการบันทึกขอมูลเขาสูระบบ รวมทั้งขอมูลจําลองเพ่ือใชในการทดสอบก็จะนํามาใชในการทดสอบระบบและมีการบันทึกขอมูล ข้ันตอนในการทดสอบระบบ จะมี 4 ข้ันตอนดังนี้

Page 47: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

40

1. การทดสอบหนวยยอย โดยจะเปนการทดสอบความถูกตองในแตละโมดูลของเว็บไซต

2. การทดสอบดวยการนําโปรแกรมมาประกอบรวมกัน และทําการทดสอบความถูกตองของการเชื่อมโยงของระบบในแตละโมดูล

3. การทดสอบทั้งระบบ ทําการทดสอบระบบหลังจากไดติดตั้งใน hosting 4. การทดสอบการยอมรับในระบบ

โดยข้ันตอนการทดสอบทั้งระบบกอนจะดําเนินการมอบงานเพ่ือใชงานจริง ในสวนข้ันตอนนี้ โมดูลและปรแรกมตางๆจะตองสามารถทํางานรวมกันไดโดยปราศจากขอผิดพลาด และตรงตามความตองการของทางราน และทําการทดสอบฟงกชันการทํางานตางของ เว็บไซต วาสามารถทํางานไดอยางถูกตองตามวัตถุประสงคหรือไมรวมทั้งมีการทดสอบ ประสิทธิภาพของระบบ เชน การดําเนินการทดสอบวาเมื่อมีผูใชงานจํานวนมากสงขอมูลเขามาพรอมกันแลวเว็บไซต จะเกิดปญหาหรือไมรวมทั้งทดสอบระบบความปลอดภัยตางๆ เปนตน

4.6 แผนการโปรโมตและประชาสัมพันธเว็บไซต โดยโครงงาน เว็บไซต รานอาหารตําเทวดา ไดมีแผนการโปรโมตและประชาสัมพันธในสวนของตัวเว็บเพ่ือใหเปนที่รูจัก ดังนี้

4.6.1 ทางผูดูแลระบบเว็บไซตจะ ทําการสง email เชิญชวนคนสนิท หรือคนรูจัก ให

เขามาลองเย่ียมชมเว็บไซต และชวยทําการสงตอไปยังคนรูจักคนอ่ืนๆใหทราบขอมูลเก่ียวกับเว็บไซตและทําการโฆษณาและประชาสัมพันธเว็บไซตผานทางระบบ social network เชน facebook หรือ twitter

4.6.2 ทําการโฆษณา เว็บไซตและอธิบายรายละเอียดของเว็บไซต โดยการ post ไว ที่ webbord ของเว็บไซต ที่เก่ียวของกับสินคาและบริการ ที่เก่ียวของกับอาหาร 4.6.3 มีการจัดกิจกรรมและมีการออก boot ตามงานเทศกาลตางๆ เพ่ือเปนการโปร

โมตราน และโปรโมตเว็บไซตของทางราน

4.6.4 มีการจัดกิจกรรม ภายในเว็บไซต ใหนาสนใจอยูเสมอ เชน การโหวตรายการอาหาร ยอดฮิต ประจําสัปดาห เปนตน หรือมีการแจกของรางวัลกับผูที่เขามารวมโหวต

Page 48: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

41

4.7 การดูแลระบบ

เว็บไซตรานอาหารตําเทวดา จะมีผูดูแล คือเจาของรานและหุนสวน ทําหนาที่ในการดูแลระบบ ซึ่งการนํา ซอฟแวร สําเร็จรูป joomla เขามาใชนั้น ทําใหการดูแลเว็บไซตนัน้สามารถทําไดสะดวกและไมยุงยาก เนื่องจากเปน ซอฟแวร ที่ไมซับซอนมาก เขาใจไดงาย ซึ่งเหมาะสําหรับผูที่อาจจะไมไดมีความรูทางดาน เว็บไซตมากนัก ก็สามารถที่จะดูแล ระบบนี้ไดเชนกัน โดยในสวนของการจัดการขอมูลผูใชงาน จะประกอบไปดวย การกําหนดชื่อผูใชงาน(username) และ รหัสผาน(password) สําหรับเขาใชงานดูแลระบบ คือ ผูดูแลระบบ จะมีหนาที่ในการดูแล แกไข ลบ หรือเพ่ิม ขอมูลตางๆ ของทางราน ใหกับผูที่เขามาเย่ียมชมเว็บไซต รานอาหารตําเทวดา โดยผูดูแลระบบจะตองมีการตรวจสอบและ update ขอมูลอยูเสมอ

4.8 แผนการบํารุงรักษาระบบ

การบํารุงรักษาเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา เปนสวนสําคัญอยางหนึ่งเพ่ือใหการใชงานเว็บไซต สามารถใชงานไดตามวัตถุประสงคอยางราบรื่น และไมเกิดปญหา โดยไดมีการแยกการบํารุงรักษาเปนหัวขอดังนี ้

4.8.1 ดานขอมูล ตองมีความทันสมัยกับสิ่งที่ดําเนินการอยูในปจจุบัน โดยใหผูที่ทํา

หนาที่ดูแลเว็บไซต ตองคอยทําหนาที่ดูแล และ ตรวจสอบขอมูล จัดแยกและแกไขขอมูลอยูเสมอ

4.8.2 ดานรูปแบบของเว็บไซต ทางผูดูแลเว็บไซตควรมีการปรับปรุงแกไขหนา

เว็บไซต ตามเวลาที่เหมาะสม เพ่ือใหเกิดความนาสนใจในการเขาชมเว็บไซตมากข้ึน

4.8.3 ดานอุปกรณ ไดแยกออกเปน 2 สวน ในการบํารุงรักษา คือ

- ดาน hardware เชน ทําการตรวจสอบการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอร และอุปกรณ เน็ตเวอรก ใหอยูในสภาพที่ดีและพรอมใชงานเสมอ - ดาน ซอฟแวร จัดใหมีการสํารองขอมูลของฐานขอมูลเปนประจํา และหากเกิดปญหาสามารถกูคืนขอมูลทั้งหมดได และ มีการ update ซอฟแวร เวอรชันใหม อยูเสมอ

Page 49: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

42

บทท่ี 5 ผลการทดลอง

5.1 ผลการดําเนินการ

เว็บไซตรานอาหารตําเทวดา ใชcms joomla ในการพัฒนา ซึ่งสามารถจัดการกับเนื้อหาและขอความตางๆผานทางหนา เว็บ ซึ่งผูที่ทําหนาที่ในการดูแลเว็บไซตไมจําเปนตองมีความรูทางดานเทคโนโลยีเว็บมากนัก ซึ่งการ อัพโหฃดขอมูล หรือการลงขอมูลตางๆสามารถทํางาย รวมทั้งมีระบบการล็อกอินเขาใชงานเพ่ือความปลอดภัยของระบบ

การประเมินผลการทดลอง การวัดผลของโครงงานเว็บไซต รานอาหารตําเทวดาสามารถวัดผลไดดังนี ้

ก. เว็บไซตสามารถเผยแพรใหกับลุกคาหรือผูที่สนใจสามารถเขามาเย่ียมชมเว็บไซตผานระบบออนไลนได

ข. มีลูกคาหรือผูที่สนใจเขามาลงทะเบียนเปนสมาชิก ค. จัดทําแบบสอบถามประเมินเว็บไซต จากผูใชงานและเจาของราน

เว็บไซตรานอาหารตําเทวดาสามารถเผยแพรใหแกลูกคาและผูที่สนใจสามารถเขามาเย่ียมชมเว็บไซตไดทาง www.tumtewada.com โดยมีรายละเอียดของเว็บไซตในสวนตางๆตอไปนี ้

Page 50: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

43

รูปที่ 5.1 หนาจอการทํางานหลัก จากรูปที่ 5.1 แสดงหนาจอหลักของเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา

Page 51: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

44

รูปที่ 5.2 หนาจอ Main menu ประกอบดวย เมนูยอยตางๆดังนี ้

- Home เปนเมนูสําหรับกลับมายังหนาแรก - ติดตอเรา เปนเมนูสําหรับ แจงรายละเอียดการติดตอกับทางรานรวมถึงการเดินทางมายัง

ราน - เว็บบอรด เปนเมนูสวนของหนากระดานสนทนา - Gallery เปนเมนู สวนที่แสดงรูปภาพตางของทางราน และ ทางลูกคาซึ่งสามารถ อัพ

โหลดรูปภาพข้ึนมายังเว็บไดผานทาง เมนูยอยนี้ - Facebook เปนเมนูเพ่ือเชื่อมโยงไปยัง social network facebook ของทางราน

รูปที่ 5.3 หนาจอสวนของการล็อกอินเขาสูเว็บไซต การเขาใชงานเว็บไซตรานอาหารตําเทวดานั้นมีสองสวนดวยกันคือ แบบล็อกอินเขาระบบ และแบบไมล็อกอิน ซึ่งหากไมทําการ ล็อกอินจะไมสามารถใชงานเว็บบางสวนได

Page 52: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

45

รูปที่ 5.4 หนาจอเมนู โปรโมชัน

ลูกคาและผูที่เขามาเย่ียชมเว็บไซตสามารถเขามาคนหารายการโปรโมชันตางๆของทางรานไดจาก เมนูนี ้โดยจะมีการ update ขอมูลโปรโมชันในแตละเดือนใหทางลูกคาทราบ

รูปที่ 5.5 หนาจอ เมนู รายการอาหาร

ลูกคาและผูที่เขามาเย่ียมชมเว็บไซตสามารถเขามาตรวจสอบรายการอาหารตางๆของทางรานไดจาก เมนูนี ้ซึ่งจะประกอดวย เมนูยอย 3 สวนดวยกันคือ 1. อาหารอีสาน เปนสวนแสดงรายละเอียดของ รายการอาหารอีสานทั้งหมดของทางราน 2. อาหารไทย-จีน เปนสวนแสดงรายละเอียดของรายการอาหาร ไทย-จีน ทั้งหมดของทางราน 3. อาหารหวาน – ขนม เปนสวนแสดงรายละเอียดของ รายการอาหารหวานรวมทั้งรายการขนมตางๆ ของทางราน โดยขอมูลอาหารจะมีการ update ขอมูลอาหารใหมๆ โดยจะมีรูปภาพอาหาร และ รายละเอียดของอาหาร ใหกับผูเขาชมทราบอยูเสมอ

Page 53: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

46

รูปที่ 5.6 หนาจอ เมนู กิจกรรมทางราน

ผูเขาชมสามารถเขาดูรายละเอียดกิจกกรมของทางรานรวมทั้ง ภาพกิจกรรมตางของทางรานไดจากหัวขอเมนูนี้

รูปที่ 5.7 หนาจอการสมัครสมาชิกใหม

ลูกคาหรือผูที่สนใจสามารถทําการสมัครสมาชิกใหมได โดยการ คลิ๊กที่ หัวขอ ลงทะเบียน เพ่ือทําการสมัครสมาชิก

รูปที่ 5.8 หนาจอ ล็อกอินสําเร็จ

Page 54: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

47

หลังจากทําการสมัครสมาชิกกับทางเว็บไซต และไดรับอนุญาติจาก admin แลวเมื่อสมาชิกทําการ ล็อกอินเขามาในระบบอยางถูกตองจะไดหนาจอดังภาพ 5.8

รูปที ่5.9 หนาจอ สวนของเว็บบอรด

สามารถเขามาในสวนนี้ไดโดยการกดที่หัวขอ เว็บบอรด ที่ Main menu ก็จะเขามาในสวนของ เว็บบอรด ซึ่งหากผูใชทําการล็อกอินเขามาแลวก็จะมีการเจงชื่อสมาชิกไวที่สวนบน โดยหากเปนผูที่ไมไดทําการล็อกอินเขามาก็จะมีการแจงชื่อ เปน ผูเย่ียมชม แทน

Page 55: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

48

รูปที่ 5.10 หนาจอ การตั้งกระทูเว็บบอรด

สามารถเขาสูหนาจอนี้ไดโดยการคลิ๊กที่ปุม เริ่มหัวขอใหม ของหนาแรกเว็บบอรดจากนั้นทําการใสชื่อกระทู และใสรายละเอียดกระทู ซึ่งในการสรางกระทูใหมนั้นสามารถทําการ อัพโหลดไฟลและ รูปภาพได จากหัวขอ แทรกรูปภาพ และ แทรกไฟล หลังจากดําเนินการเรียบรอยหมดแลวใหทําการกดที่ ปุม ยืนยัน หรือสามารถ ดูตัวอยาง กอนไดโดยกดที่ปุม ดูตัวอยาง

รูปที่ 5.11 หนาจอ แสดงจํานวนสมาชิกที่ ออนไลนอยู หากสมาชิกมีการเขาใชงานอยูก็จะมีการแสดงจํานวนสมาชิกที่ทําการล็อกอินเขามาอยูในขณะนั้น

Page 56: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

49

รูปที่ 5.12 หนาจอ โพลแสดงความคิดเห็นตอเว็บไซต

ผูที่เขาเย่ียมชมเว็บไซตสามารถเขามาทําการแสดงความคิดเห็นตอเว็บไซตเพ่ือที่ทางผูดูแลเว็บไซตสามารถนําเปนขอมูลเพ่ือนําไปปรับปรุงเว็บไซตตอไป

รูปที่ 5.13 หนาจอโหวตรายการอาหาร ผูเขาชมเว็บไซตสามารถเขารวมโหวตรายการอาหารที่ชื่นชอบไดจากเมนู นี ้

Page 57: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

50

รูปที่ 5.14 หนาจอ เมนูมุมสุขภาพ

เมนูแสดงบทความ สาระความรูเก่ียวกับสุขภาพ และ อาหาร

รูปที่ 5.15 หนาจอ แสดงเมนูคียลัด เพ่ือเชื่อมตอไปยัง social network

เมนูแสดง icon คียลดัเพ่ือเชื่มตอไปยัง social network ของทางรานอาหารตําเทวดา

5.2 การประเมินผลเว็บไซต ในหัวขอนี้จะเปนการสรุปผลการประเมินดังนี ้ 5.2.1 หัวขอการประเมินของแบบสอบถามและกลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม ผูศึกษาไดทําการประเมินผลความพึงพอใจในการใชงานเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา โดยใชแบบสอบถามเพ่ือใหไดเว็บไซตที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและตรงตามความตองการของผูใชมากที่สุด แบบสอบถามถูกจัดทําเพ่ือสอบถามกลุมตัวอยาง โดยแบงออกเปน 2 กลุมดวยกันคือ กลุมที่ 1 ไดแก กลุมเจาของรานผูจัดการและพนักงานในราน สวน กลุมที่ 2 ไดแก กลุมลูกคาของทางราน โดยทั้งสองกลุมจะใชแบบสอบถามโดยมีหัวขอดังนี้ สําหรับกลุมที่ 1 กลุมเจาของรานผูจัดการและพนักงานในราน ซึ่งภายในกลุมสามารถแกไข ลบ หรือเพ่ิม ขอมูลบางสวน ซึ่งขอมูลเหลานี้จะถูกนําไปแสดงบนหนาแรกของเว็บ โดยหัวขอที่ใชในการประเมินมีดังนี้

ก. การจัดรูปแบบเหมาะสมกับการใชงาน ข. ความสวยงามของเว็บไซต

Page 58: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

51

ค. การเรียกดูขอมูลทําไดงายและสะดวก ง. การแกไขปรับปรุงทําไดงายและสะดวก จ. มีการระบุชวงเวลาชัดเจน ฉ. การแบงประเภทหมดหมู เนื้อหาชัดเจน ช. รูปแบบการนําเสนอตรงตามความตองการ ซ. ความสมบูรณของขอมูล ฌ. การวางตําแหนงตางๆบนหนาจอ ญ. ความพึงพอใจโดยรวม

สําหรับกลุมที่ 2 ซึ่งเปนกลุมลูกคาของทางราน สามารถเรียกดูขอมูลและปรับปรุงแกไข

ขอมูลบางสวนที่กลุมผูใชไดรับสิทธิในการใชงาน หัวขอที่ใชในการประเมินมีดังนี้ ก. ความสวยงามของเว็บ ข. การจัดวางองคประกอบบนหนาจอ ค. การเรียกดูขอมูลทําไดงายและสะดวก ง. ความรวดเร็วในการแสดงผลเว็บเพจ จ. ความถูกตองของการประมวลผลขอมูล ฉ. ความสะดวกและการใชงานงาย

5.2.2 กลุมประชากรที่ใชในการประเมิน กลุมเจาของรานหุนสวนและผูจัดการราน เจาของรานและหุนสวนรวม 3 คน ผูจัดการราน 1 คน กลุมพนักงานภายในราน พนักงานทั่วไปภายในราน 6 คน กลุมลูกคาของทางราน ลูกคาของทางราน 30 คน

5.3 ผลการประเมิน

โดยกลุมที่ 1 เจาของรานหุนสวนของทางรานและผูจัดการรานและพนักงานทั่วไปไดทดสอบการใชงานเบ้ืองตน และตอบแบบสอบถาม จํานวน 10 คน ซึ่งสามารถนํามาแสดงในรูปแบบตารางไดดังนี ้ตามตาราง 5.1 ตารางที ่ 5.1 ตารางประเมินผลการทดลองกลุมที1่

ผลการทดลอง ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ควรปรับปรุง

รวมจํานวคน

ลักษณะการใชงานในดานตางๆ

Page 59: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

52

ก. การจัดรูปแบบเหมาะสมกับการใชงาน

5 2 3 10

ข. ความสวยงามของเว็บไซต 6 3 1 10

ค. การเรียกดูขอมูลทําไดงายและสะดวก

4 4 2 10

ง. การแกไขปรับปรุงทําไดงายและสะดวก

6 4 10

จ. มีการระบุชวงเวลาชัดเจน 9 1 10

ฉ. การแบงประเภทหมดหมู เนื้อหาชัดเจน

8 2 10

ช. รูปแบบการนําเสนอตรงตามความตองการ

8 2 10

ซ. ความสมบูรณของขอมูล 7 2 1 10

ฌ. การวางตําแหนงตางๆบนหนาจอ

6 4 10

ญ. ความพึงพอใจโดยรวม 6 3 1 10

ผลการประเมินกลุมที่ 2 ของลูกคาทางรานไดทดสอบการใชงานเบ้ืองตน และตอบแบบสอบถาม จํานวน 30 คน ซึ่งสามารถนํามาแสดงในรูปแบบตารางไดดังนี้ ตามตาราง 5.2

ตารางที่ 5.2 ตารางประเมินผลการทดลองกลุมที ่2 กลุมลูกคา

ผลการทดลอง ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ควร

ปรับปรุง รวมจํานวคน

ลักษณะการใชงานในดานตางๆ

ก. ความสวยงามของเว็บ 9 15 6 30

ข. การจัดวางองคประกอบบนหนาจอ

2 18 10 30

Page 60: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

53

ค. การเรียกดูขอมูลทําไดงายและสะดวก

5 17 8 30

ง. ความรวดเร็วในการแสดงผลเว็บเพจ

7 20 3 30

จ. ความถูกตองของการประมวลผลขอมูล

4 19 7 30

ฉ.ความพึงพอใจโดยรวม 10 14 6 30

5.3.1 สรุปผลการประเมินและขอเสนอแนะ สรุปจากผลการประเมินการใชงานเว็บไซต e-storefront รานอาหาร ตําเทวดา โดยใชแบบสอบถามความพึงพอใจตรงกับความคิดของผูใชอยางไรและสงผลตอประสิทธิภาพของเว็บไซต ซึ่งในกลุมที่ 1 เจาของรานหุนสวนของทางรานและผูจัดการรานและพนักงานทั่วมีความพึงพอใจอยูในระดับดีมาก และกลุมที่ 2 กลุมลูกคาของทางราน มีความพึงพอใจอยูในระดับดี เชนกัน

รูปที่ 5.16 กราฟแสดงผลการประเมินโดยรวม กลุมเจาของรานและพนักงาน

Page 61: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

54

รูปที่ 5.17 กราฟแสดงผลการประเมินโดยรวม กลุมลูกคา

สวนของขอเสนอแนะเพ่ือนําไปปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญตองการใหพัฒนาในสวนของระบบอ่ืนๆ ที่สามารถเพ่ิมความสะดวกหรือเปนทางเลือกสําหรับการบริหารจัดการราน และการปรับปรุงรานในอนาคตได และสวนของการเพ่ิมลูกเลนของเว็บเพ่ือใหเกิดความนาสนใจมากย่ิงข้ึน

Page 62: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

55

บทท่ี 6 สรุปผลและขอเสนอแนะ

6.1 กลาวนํา

จากการประยุกตใช e-storefront มาชวยในการโฆษณาและประชาสัมพันธรานอาหารตําเทวดา โดยทําเปนรูปแบบของเว็บไซตซึ่งใชโปรแกรมบริหารการจัดการขอมูล joomla ในการพัฒนาเว็บไซต พบวาสามารถแกไขปญหาในสวนของการโฆษณาและการสื่อสารขอมูลกับทางลูกคาหรือผูที่สนใจไดเปนอยางมาก 6.2 สรุปผลการดําเนินงาน

หลังจากที่ไดทําการวัดผลการดําเนินงานโครงงาน การประยุกตระบบ e-storefront กับธุรกิจ รานอาหาร พบวาเว็บไซต e-storefront ของรานอาหาร ตําเทวดา มีความสามารถที่จะจัดเก็บขอมูลรายเอียด ตางๆของทางราน เชน รายการอาหาร, รูปภาพ ,โปรโมชัน , ชื่อ และ ที่อยูลูกคา รวมทั้งยังสามารถใชในการสื่อสารกันระหวาง ทางราน กับ ลูกคา และ สามารถใชในการโฆษณาและประชาสัมพันธรานได จึงทําใหสามารถตอบสนองจากวัตถุประสงค และ ตามขอบเขตของโครงงานที่ตั้งไวได จากประโยชนซึ่งคาดวาจะไดรับสําหรับการจัดทําโครงงานเว็บไซต e-storefront รานอาหารตําเทวดา การเปนเครื่องมือในการโฆษณาและประชาสัมพันธขอมูลของทางรานใหเปนที่รูจักและเปนที่สนใจ และการเปนเครื่องมือสําหรับเก็บขอมูลตางๆ ของทางรานรวมทั้งขอมูลตางๆของลูกคา รวมทั้งเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา มีความสามารถในการเปนชองทางการติดตอสื่อสารระหวางลูกคากับทางราน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือขอเสนอแนะตางๆกับทางรานรวมทั้งการถายทอดประสบการณการใชบริการกับทางราน ซึ่งหากการดําเนินการเปนไปอยางพัฒนาและตอเนื่องโดยมีการนําขอมูลที่ไดจากทางลูกคามาดําเนินการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินการของทางรานผูจัดทําคาดวาจะทําใหไดรับประโยชนตามที่คาดหวังไวอยางอยางสูงที่สุด 6.2.1 สรุปผลสวนของจํานวนลูกคาที่ใชบริการเพิ่มขึ้น ภายหลังจากดําเนินการจัดทําและเปดใหบริการเว็บไซต e-storefront รานอาหารตําเทวดา และไดทําการประเมินจํานวนลูกคาที่เขาใชบริการกับทางรานในชวง 3 เดือน ที่ผานมาของทางราน พบวาในแตละเดือนจะมีจํานวนลูกคาเพ่ิมข้ึนซึ่งภายหลังจากที่มีการใชงานเว็บไซต e-storefront รานอาหารตําเทวดา ตั้งแตชวงเดือน ก.พ.- ม.ีค นั้นพบวาอัตราการเพ่ิมข้ึนของลูกคานั้นสูงกวาอัตราการเพ่ิมข้ึนของลูกคาในชวงกอนหนาคอนขางสูง ซึ่งทางลูกคาสวนหนึ่งนั้นทราบขอมูลของทางรานจากหนาเว็บไซตซึ่งมีการโฆษณาและประชาสัมพันธเว็บไซตผานทาง social network และผานเว็บบอรดตางๆ ดังรูปกราฟที่ 6.1

Page 63: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

56

รูปที่ 6.1 กราฟแสดงอัตราการเพ่ิมข้ึนของลูกคาชวง 3 เดือน 6.2.2 สรุปผลสวนของยอดขายที่เพิ่มขึ้น จากการประเมินสวนของยอดขายของทางรานในชวงระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต ม.ค – มี.ค พบวามีอัตราสวนการเพ่ิมข้ึนของยอดขายในแตละเดือนไมเทากันโดยพบวาชวง ก.พ – มี.ค. ซึ่งเปนชวงที่เริ่มมีการใหบริการเว็บไซตรานอาหารตําเทวดาบางสวนนั้นพบวามีอัตราการเพ่ิมข้ึนของยอดขายคอนขางสูงดัง ภาพรูปกราฟที่ 6.2

รูปที่ 6.2 กราฟแสดงอัตราการเพ่ิมข้ึนของยอดขายชวง 3 เดือน

Page 64: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

57

6.3 วิจารณโครงงาน จากการวิเคราะหระบบ สามารถสรุปปญหาตางๆไดดังนี้

6.3.1 สวนของการจัดการเน้ือหา

สามารถจัดการในสวนของเนื้อหาขอมูลดานตางๆของทางรานไดเปนอยางดีเนื่องจากตัว โปรแกรม joomla เปน cms ที่สามารถใชงานไดงาย และสะดวกในการแกไข ลบ หรือเพ่ิมขอมูล รวมทั้งยังมีฟงชันการทํางานตางใหเลือกใชไดหลากหลายเนื่องจากมีความสําเร็จรูปอยูภายใน จึงทําใหสามารถจัดการในสวนของขอมูลเนื้อหาไดคอนขางดี แตมีบางฟงชันหรือรูปแบบบางประการที่ไมพึงประสงคไมสามารถนําออกได หรือหากนําออกแลวอาจมีผลกระทบตอฟงกชันอ่ืนและบางฟงกชันยังมีความยากในการใชงาน เชน การแทรกรูปภาพในเนื้อหาอัพโหลดไฟลภาพไวกอน จึงจะสามารถดําเนินการข้ันตอนอ่ืนๆได รวมทั้งตําแหนงและรูปแบบตางๆจะถูกกําหนดโดยเทมเพลต ทําใหบางครั้งไมสามารถแสดงผลไดตามที่ตองการได

6.3.2 สวนของการโฆษณาและประชาสัมพันธ ไดมีการแจงและเผยแพรเว็บไซตรานอาหารตําเทวดาผานทางชองทางตางๆไมวาจะเปนการสง e-mail แจงยังสมาชิกหรือคนรูจักใหลองเขาเย่ียมชมเว็บไซต รวมทั้งมีการโฆษณาผานทาง webbord ของเว็บตางๆ ที่เก่ียวของกับดานอาหารหรือเปนเว็บไซตที่มีผูเขาชมจํานวนมากรวมทั้ง ทําการโฆษณาเละประชาสัมพันธ ผานทางระบบ social network เชน facebook ซึ่งในชวงระยะแรกอาจที่จะตองใชเวลาในการโฆษณาและประชาสัมพันธพอสมควรเพ่ือให เปนที่รูจักของคนทั่วไป และดวยระยะเวลาอันสั้นจึงทําใหไมสามารถประชาสัมพันธหรือสงเสริมในสวนของการขายไดอยางเต็มรูปแบบ เชน การประชาสัมพันธและมอบของรางวัลหรือสิทธิพิเศษตางๆใหกับทางสมาชิกของเว็บไซต 6.3.3 ความครอบคลุมในการทํางาน ปญหาเรื่องความตองการของผูใชงานซึ่งจากความตองการที่จะใชงานของแตละคนไมเหมือนกันและไมเทากัน ทําใหการพัฒนาบางสวนในระยะเวลาที่จํากัด อาจไมครอบคลุมความตองการไดทั้งหมด 6.4 ขอเสนอแนะ ในการดําเนินโครงงานเว็บไซต e-storefront รานอาหารตําเทวดาจะเปนการดําเนินงานในสวนของความตองการหลัก และดวยระยะเวลาที่จํากัด จึงยังมีบางโมดูลที่ยังไมไดรับการพัฒนาซึ่งหากมีระยะเวลามากข้ึนนั้นนาที่จะเพ่ิมเติมดังนี้

Page 65: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

58

1.ทําการเพ่ิมเติมในสวนของ โมดูลตางๆในการใชงานรวมทั้งลูกเลนตางๆบนเว็บเพ่ือใหเปนที่นาสนใจและสามารถ รองรับความตองการในอนาคตของทางรานได 2. ควรทําการเพ่ิมเติม ในสวนของการโฆษณาและประชามสัมพันธ ผานชองทางอ่ืนรวมดวย ไมวาจะเปนทางสื่อสิ่งพิมพ หรือการออก บูท ตามงานตางๆ เปนตน 3. ควรมีการจัดกิจกรรมภายในเว็บไซต และ กิจกรรมทางรานรวมกับสมาชิก

Page 66: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

59

เอกสารอางอิง [1] อารีนา แหละเหย็บ, วิทยานิพนธมหาบัณฑิต “การใหบริการขอมูลดวยระบบ E-store Front (Data Service of E-store Front) “ , 2550 [2] วิริยะ กลิ่นเสาวคนธ , “ การจัดการเนื้อหาในการจัดทําหนังสือพิมพออนไลน “ วิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏรธานี , 2004 [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://viriya.sru.ac.th/e125/e205 [3] อรชุลี ดีมีศรี , วิทยานิพนธมหาบัณฑิต “ ระบบเว็บไซตฐานขอมูลศิษยเกา กรณีศึกษา คณะ สาธารณะสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร “ , 2551 [4] ฉัตรสุภร ปนศิริ ‘ระบบการจัดเก็บเนื้อหาดวย open source cms เพ่ือสรางระบบจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ ในสวนขอมูลโครงการที่ออกแบบเสร็จแลว สําหรับสํานักงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย ‘ พฤษภาคม 2549 [ออนไลน] เขาถึงไดจาก :http///www.mambolaithai.org/downloads/research_IR.zip [5] อาภาภรณ การินทร , วิทยานิพนธมหาบัณฑิต “ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเก่ียวกับสุขภาพของโรงพยาบาล” , 2549

Page 67: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

60

ภาคผนวก ก.

Page 68: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

61

แบบสอบถามความพึงพอใจตอระบบเวบ็ไซตรานอาหาร ตําเทวดา แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึงของการทําโครงการสารนิพนธ เรื่อง “ การประยุกตระบบ e-storefront กับธุรกิจรานอาหาร “ โดยการนําระบบบริหารจัดการเนื้อหา CMS จัดทําระบบสารสนเทศเผยแพรขอมูลขาวสาร การจัดการฐานขอมูลตางๆ และการโฆษณาและประชาสัมพันธใหมีประสิทธิภาพและ เปนระบบเพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาตอไป แบบสอบถามของเจาของกิจการและผูจัดการราน สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป ตําแหนง/ความรับผิดชอบ……………………………………………………………………. สวนที่ 2 สํารวจความพึงพอใจของระบบเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา

ผลการทดลอง ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหต ุ

ลักษณะการใชงานในดานตางๆ

ก. การจัดรูปแบบเหมาะสมกับการใชงาน

ข. ความสวยงามของเว็บไซต

ค. การเรียกดูขอมูลทําไดงายและสะดวก

ง. การแกไขปรับปรุงทําไดงายและสะดวก

จ. มีการระบุชวงเวลาชัดเจน

ฉ. การแบงประเภทหมดหมู เนื้อหาชัดเจน

ช. รูปแบบการนําเสนอตรงตามความตองการ

ซ. ความสมบูรณของขอมูล

ฌ. การวางตําแหนงตางๆบนหนาจอ

ญ. ความพึงพอใจโดยรวม

Page 69: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

62

แบบสอบถามความพึงพอใจตอระบบเวบ็ไซตรานอาหาร ตําเทวดา แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึงของการทําโครงการสารนิพนธ เรื่อง “ การประยุกตระบบ e-storefront กับธุรกิจรานอาหาร “ โดยการนําระบบบริหารจัดการเนื้อหา CMS จัดทําระบบสารสนเทศเผยแพรขอมูลขาวสาร การจัดการฐานขอมูลตางๆ และการโฆษณาและประชาสัมพันธใหมีประสิทธิภาพและ เปนระบบเพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาตอไป แบบสอบถามของกลุมลูกคา สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป เพศ………………………………อายุ……………………………………. สวนที่ 2 สํารวจความพึงพอใจของระบบเว็บไซตรานอาหารตําเทวดา

ผลการทดลอง ดีมาก ดี ปานกลาง

พอใช ควรปรับปรุง

ขอเสนอแนะ

ลักษณะการใชงานในดานตางๆ

ก. ความสวยงามของเว็บ

ข. การจัดวางองคประกอบบนหนาจอ

ค. การเรียกดูขอมูลทําไดงายและสะดวก

ง. ความรวดเร็วในการแสดงผลเว็บเพจ

จ. ความถูกตองของการแสดงผลขอมูล

ฉ. ความพึงพอใจโดยรวม

Page 70: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

63

ภาคผนวก ข.

Page 71: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

64

การติดต้ัง Joomla บน Web Server การพัฒนาและติดต้ังระบบ

ขั้นตอนในการติดต้ังระบบ

ข้ันตอนการติดตั้งระบบบน localhost

จากรูป จะแสดงใหเห็นถึงข้ันตอนในการติดตั้งระบบบน localhost โดยมีการจําลองเครื่องเปน web server โดยการติดตั้ง xampp เพ่ือใหพรอมใชงาน joomla รายละเอียดในการติดตั้งดังนี ้

Page 72: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

65

ทําการ download ตัวติดตั้ง xampp จาก เว็บไซต http://www.apachefriends.org/en/xampp-windows.html โดยหลังจากทําการ download file จาก web site แลว ใหทําการ double click ที่ file xampp-win32-1.7.1-installer เพ่ือเริ่มการติดตั้ง

หนาจอแรกสําหรับการติดตั้ง

ทําการกําหนด พาท ที่จะใชสําหรับการติดตั้ง โดยกําหนดไวที่ D:/

Page 73: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

66

เลือก service ที่ตองการจะทําการติดตัง้ ในข้ันตอนนี้ใหเลือกทุก option แลวจึงทําการ คลิก install

หนาจอแสดงการติดตั้ง เสร็จสมบูรณ หลังจากทําการติดตั้งในสวนของโปรแกรมเรียบรอยแลว ใหทําการเปด

controlpanel ของ xampp ข้ึนมา เพ่ือตรวจสอบ status ของ แตละ service วาทํางานหรือไม

Page 74: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

67

ภาพ control panel ของโปรแรกม xampp เพ่ือแสดงสถานะของแตละ service จากภาพ สถานะของสามโปรแกรม apache My Sql และ fileZilla จะอยูในสถานะ Running การสรางฐานขอมูลกอนติดต้ัง joomla ดวย phpMyAdmin

รูปที่ การสรางฐานขอมูล mysql เพ่ือเขา http://localhost/phpmyadmin ติดตั้งเพ่ือเตรียมการใชงาน joomla

Page 75: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

68

ภาพ แสดงหนาจอเพ่ือใหทําการ สราง database โดยสามารถพิมพ ชื่อ database ไดตามตองการ จากนั้น click ปุม create

ภาพ หนาจอการติดตัง้ joomla โดยข้ันแรกใหทําการเลือกภาษาที่จะใชในการติดตั้งกอน ซึ่งสามารถเขาสูหนาจอนี้ไดโยการ พิมพ ในชอง address วา http://localhost/ และตามดวยชื่อ ของ database ที่ทําการตั้งเอาไว

Page 76: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

69

ภาพ สวนของหนาจอ database config ในสวนนี้ ทําการใสรายละเอียดเก่ียวกับฐานขอมูล

- ใส host name เปนการใสชื่อของ host โดยสวนใหญจะใสเปน local host - ใส password ตามที่ตองการ - Database ชื่อฐานขอมูลตามที่สรางไวใน phpmyadmin

ภาพ สวนของ main configuration

ในสวนนี้เปนการกําหนดคาในข้ันตอนสุดทาย - site name ใสชื่อเว็บไซต - you email ทําการใสอีเมลของผูดูแลระบบ - admin password ทําการใสพาสเวอรด ในการเขาระบบของผูดูแลระบบ

Page 77: การประยุกต ใช ระบบ E-StoreFront กับธุรกิจร านอาหาร ... การประยุกต์... · โครงงานนี้เป

70

- confirm admin password ยืนยันรหัสผานอีกครั้ง

ภาพ หนาจอหลังดําเนินการติดตั้ง joomla เรียบรอย สมบูรณ พรอมที่จะใชในการปรับแตง แกไข ออกแบบ เว็บไซต ในสวนของผูดูแลระบบ