Cc 3 ส.ค. 58

Preview:

Citation preview

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฎ ์ เชษฐมาส ดร.ประเสริฐ สอนสถาพรกุล

2

1. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว หมายถึงอะไร2. ประเภทของขีดความสามารถรองรับได้3. ท าไมจึงต้องมีการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ ตามแหล่งท่องเท่ียว4. ปัจจัยหรือตัวแปรในการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้5. แนวทางการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ในอุทยานแห่งชาติ6. สัมมนาและสรุป (ถาม-ตอบและข้อคิดเห็น เพื่อน าไปถ่ายทอดต่อ)

2

“ ขีดความสามารถ

รองรับได้ด้านการท่องเที่ยว

หมายถึงอะไร ? ”

3

ขีดความสามารถรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว หรือTourism Carrying Capacity (TCC) หรือ Recreation Carrying

Capacity (RCC) หมายถึง...

“จ านวนคนสูงสุดที่อาจไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวในช่วงเวลาเดียวกัน โดยไม่สร้างความเสียหายหรือความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อมทางชีวกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรม และไม่ท าให้ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวลดน้อยลงในระดับที่ยอมรับไม่ได”้ (UNWTO, ไม่ระบุปี)

4

ประเภทของขีดความสามารถรองรับได้ มีกี่ประเภท ?

1. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านกายภาพ (Physical CC)2. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านชีวกายภาพ (Biophysical CC)3. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านสังคม (Social CC)4. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านเศรษฐกิจ (Economic CC)

5

ท าไมจึงตอ้งก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ตามแหล่งท่องเที่ยว ?

6

7

1. ปริมาณนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้น2. นักท่องเที่ยวและสิ่งอ านวยความสะดวกเป็นปัจจัยก่อให้เกิด ผลกระทบ3. แหล่งท่องเที่ยวมีขีดความสามารถรองรับได้อย่างจ ากัด4. การดูแลรักษาเอกลักษณ์-อัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเป็น หัวใจหลัก5. การส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ที่ดีเป็นเป้าหมาย ส าคัญ

7

8

ปัจจัยหรือตัวแปร ในการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ มีอะไรบ้าง ?

8

1. ที่ราบ/ผืนน้ า (flat land/water surface)

2. ความจุของที่พักแรม (accommodation capacity)

3. ปริมาณน้ าจากธรรมชาติ (water supply)

9

4. ขีดความสามารถในการจัดการขยะและน้ าเสีย (waste disposal capacity)

5. ขีดความสามารถในการให้บริการและความปลอดภัย

(service and safety rendered)

6. ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว

(levels of visitors’ satisfaction)

7. การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบด้านชีวกายภาพในระดบัที่ยอมรับได้

(levels of acceptable change on biophysical setting)9

10

แนวทางปฏิบัติเพื่อก าหนดขีดความสามารถ

รองรับได้มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง ?

10

11

แนวทางปฏิบัติเพื่อก าหนดขีดความสามารถรองรับได้มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1 : อุทยานฯทุกแห่ง ต้องก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ เป็น 2 กลุ่มเวลา๐ จ านวนนักท่องเท่ียวสูงสุดในช่วงกลางวัน (day-use)๐ จ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางคืน (overnight stay)11

12

ขั้นตอนที่ 2 : กรณีประเมินจ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางวันให้ใช้ที่ราบหรือผืนน้ าเป็นตัวตรวจวดั โดยใช้สูตร

ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = เนื้อที่ (ตร.ม.) x จ านวนคนตอ่ ตร.ม. x จ านวนช่วงเวลาต่อวัน12

13

1) เนื้อที่ หมายถึง ขนาดของพื้นผิวน้ า หรือที่ดิน ที่เป็นที่ราบหรือที่มีความลาดชันต่ า หรือน้อยกว่า 15 องศา (และไม่มีสภาพเป็นป่า หรือเป็นที่อยู่อาศัย หรือที่หากินของสัตว์ป่าส าคัญ หรือเป็นที่ตั้งของสิ่งโดดเด่นทางธรรมชาติ ) ที่ จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆบริการ แก่นักท่องเที่ยว 13

14

2) จ านวนคนต่อ ตร.ม. ต้องปรับค่าให้สอดคล้องกับช่วงชั้นโอกาสทางนันทนาการ (ROS) ในพื้นที่อุทยานฯ โดยก าหนดให้

เขตบริการ รับนักท่องเท่ียวได้ 1 คน โดยใช้พื้นที่ 4 ตร.ม.

เขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ รับได้ 1คนโดยใช้พื้นที่ 6 ตร.ม. และเขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ รวมถึงเขตสันโดษ รับได้ 1 คนโดยใช้พื้นที่ 20 ตร.ม.

3) จ านวนช่วงเวลาต่อวัน ก าหนดให้อุทยานแห่งชาติทางบกเป็น 2 ช่วงเวลา และอุทยานแห่งชาติทางทะเลเป็น 4ช่วงเวลา

14

15

ช่วงชัน้โอกาสทางนันทนาการ (ROS)

16

ตัวอย่าง เขตบริการล าตะคอง อุทยานฯเขาใหญ่ มีที่ราบโดยประมาณ(ไม่นับรวมถนน ลานจอดรถ สนามหญ้า อาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการบริการนักท่องเที่ยว) 6,000 ตร.ม.

เมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น

ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 6,000 x (1/4) x 2= 3,000

16

17

เขาพงิกัน อุทยานแห่งชาตอ่ิาวพังงา

18

19

ตัวอย่าง เขาพิงกัน อุทยานฯอ่าวพังงา มีที่ราบให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปชมความมหัศจรรย์ของธรรมชาติทางธรณีวิทยา ถ่ายภาพเขาตาปู และเดินตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ อยู่ประมาณ 1,500 ตร.ม. ชั้นโอกาสทางนันทนาการเป็นเขตก่ึงสันโดษที่เรือยนต์เข้าถึงได้ และสามารถเปิดให้เรือนักท่องเที่ยวเข้าจอดได้วันละ 4 รอบ

เพราะฉะนั้นเมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น

ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 1,500 x (1/6) x 4= 1,000

19

20

กิ่วแม่ปานอุทยานแห่งชาติดอยอนิทนนท์

21

ตัวอย่าง เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน อุทยานฯดอยอินทนนท์ มีท่ีราบโดยประมาณ (ความยาว x ความกว้าง + ลานพักตามเส้นทาง โดยไม่นับรวมลานจอดรถ) 2,300 ตร.ม. จัดเป็นเขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์เข้าถึงไม่ได้ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 2,300 x (1/20) x 2

= 230

21

22

ขั้นตอนที่ 3 : จ าแนกจุดท่องเที่ยว หรือ บริเวณที่จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการทุกชนิด ภายใต้ชั้นโอกาสด้านนันทนาการ โดยแบ่งได้เป็น 2 กรณี

1. กรณีอุทยานฯทางทะเล

2. กรณีอุทยานฯทางบก

22

23

1. เขตบริการ หรือ เขตนันทนาการที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วยพื้นที่ที่เป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายของที่ ระลึก ชายหาด และลานกิจกรรม โดยไม่นับรวมท่าเทียบเรือ บังกะโล เรือนแถว ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ

1. กรณีอุทยานฯทางทะเล

23

24

2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษ ที่เรือยนต์/รถยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ เกาะที่มีการพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกเท่าที่จ าเป็น เพื่อกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆ เช่น กิจกรรมพักผ่อนชายหาด เล่นน้ า ด าน้ าดูปะการังน้ าตื้น เดินศึกษาธรรมชาติ และชมทิวทัศน์ ฯลฯ โดยไม่นับรวมท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ

24

25

3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่ เรือยนต์ /รถยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการแบบสันโดษ ได้แก่ เกาะและบริเวณโดยรอบ หรือพื้นที่บริเวณชายฝั่งที่ไม่มีการพัฒนาใดๆเลย แต่ มี นั กท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ข้ า ไ ปท า กิ จ ก ร รมนันทนาการ เช่น การด าน้ าดูปะการังน้ าลึก การเล่นเรือแคนู หรือเรือคายัค การเดินป่าระยะไกลและอาจมีการค้างแรม เป็นต้น

25

26

2. กรณีอุทยานฯทางบก

1. เขตบริการ หรือเขตนันทนาการที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วย พ้ืนที่ที่เป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก โดยไม่นับรวมพื้นที่ถนน ลานจอดรถ บังกะโล เรือนแถว ลานกางเต็นท์ สนามหญ้า และอาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการบริการนักท่องเที่ยว 26

27

2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ บริเวณที่มีการพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกเท่าที่จ าเป็น เพื่อกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆ เช่น จุดชมวิว กิจกรรมบริเวณน้ าตก ทางเดินศึกษาธรรมชาติและชมทิวทัศน์ ถ่ายรูป เส้นทางขี่จักรยาน ฯลฯ โดยไม่นับรวม ลานจอดรถ หรือท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ ห้องน้ า ห้องสุขา และอื่นๆ

27

28

3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการแบบสันโดษ ได้แก่ พื้นที่ที่เป็นป่าเขาอันสมบูรณ์ มีเป้าหมายเพื่อการสงวนรักษาสภาพธรรมชาติดั้งเดิมไว้ให้อ านวยประโยชน์เชิงนิเวศ แต่เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปพักผ่อนและศึกษาเรียนรู้ได้อย่างจ ากัด เช่นการเดินป่าระยะไกลและพักค้างแรม การถ่ายรูปธรรมชาติและสัตว์ป่า การล่องแก่ง การพายเรือแคนูหรือเรือคายัค การปีนป่ายเขา เป็นต้น 28

29

ขั้นตอนที่ 4 : น าผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 ไปคิดค านวณหาขีดความสามารถรองรับได้ด้านกายภาพต่อวัน โดยใช้สูตร ดังระบุในขั้นตอนที่ 2

29

30

ขั้นตอนที่ 5 : กรณีประเมินขีดความสามารถรองรับได้ในช่วงกลางคืน ให้ใช้ จ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่สามารถเข้าพักแรมในเขตอุทยานฯได้ โดยพิจารณาจากที่พักทุกประเภท (บังกะโล + เรือนแถว + เต็นท์นอน) แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินปริมาณน้ าที่กักเก็บได้จากธรรมชาติ และเปิดให้นักท่องเที่ยวใช้อย่างประหยัด โดยที่นักท่องเที่ยวยังคงพึงพอใจได้

30

• ความต้องการน า้เพื่อการท่องเที่ยว

เฉล่ีย ๓๕๐ ลิตร/คน/วัน (ธงชัย,๒๕๔๐)

31

32

การวัดพืน้ที่

หน้าผา วัดกว้าง x ยาวข อ ง พื ้น ท่ี ห น้ า ผ า ท่ี ย่ื นออกไป จนถึงแนวต้นไม้ แนวหญ้า ด้านหลงั

ผาชมวิว

33

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

เส้นทางศกึษาธรรมชาติวัดกว้าง x ยาวตามขนาดของเส้นทาง

34

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

35

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

จุดชมววิวดัเนือ้ท่ี กว้าง x ยาว ตามขนาดพืน้ ท่ีของจุดชมวิวนัน้ๆ

36

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

หอดูสัตว์วัดเนือ้ท่ีเฉพาะตัวหอท่ีใช้สอ่งสตัว์

37

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว วั ด เ นื ้อ ท่ี ก ว้ า ง x ย า ว เฉพาะบริเวณท่ีให้บริการ นทท. ไม่นบัรวม โต๊ะ เก้าอี ้ตู้ สนามหญ้า ฯลฯ

38

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

แก่งต่างๆ วัดเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของล าน า้

39

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

น า้พุร้อน วดัเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของพืน้ ท่ีใ ช้สอย + ห้องอาบน า้แร่ (จ านวนห้อง x จ านวนคนที่จไุด้สงูสดุ)

40

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

ถ า้ วัดเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของพื น้ ท่ี ราบหน้าถ า้ + เ นื อ้ ท่ีก ว้าง x ยาว ของเส้นทางภายในถ า้ ถ า้ท่ีมี boardwalk ใช้ค่า ROS 6 คน/ตร.ม.หากไม่มี boardwalk ใช้คา่ ROS 20 คน/ตร.ม.

41

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

ชายหาด วดัเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของพืน้ท่ีชายหาดนัน้ๆ

42

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

แนวปะกา รั ง วัด พื น้ ท่ีก ว้ า ง x ย า ว ขอ งแนวปะการังท่ีระดับความลึก 1.80 เมตร (ระดับท่ีคนยืนไมถ่งึ)

43

แบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล

ล าดับ อุทยานแหง่ชาติ ชื่อแหล่งทอ่งเทีย่ว ช่วงชั้นโอกาส

ที่ ด้านนันทนาการ

เอกสารแนบ 1

ใช้ประโยชน์ (ตร.ม.)

ขนาดพ้ืนที่

ข้อมูล ณ วนัที.่.................สิงหาคม 2558

รายชื่อแหลง่ทอ่งเทีย่วและขนาดพ้ืนทีข่องแหลง่ทอ่งเทีย่วแตล่ะแหง่ในอุทยานแหง่ชาติ

ส านักบริหารพ้ืนทีอ่นุรักษ์ที่.....

44

1

ล าดบั อุทยานแห่งชาติ ชื่อแหลง่ท่องเที่ยว ช่วงชั้นโอกาส

ที่ ดา้นนันทนาการ

หมายเหต ุ 1. ให้อุทยานแห่งชาตกิรอกข้อมูลรายชื่อแหลง่ท่องเที่ยวทุกแห่งที่เปิดให้บริการ พร้อมทั้งวดัขนาดพ้ืนที่ให้บริการ (หน่วยเป็น ตร.ม.)

ในแหลง่ท่องเที่ยวน้ันๆ แลว้รวบรวมสง่ส านักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่สงักัดเพ่ือแจง้กรมอุทยานแห่งชาต ิสตัวป์่า และพันธุ์พืช ตอ่ไป

รายชือ่แหล่งทอ่งเที่ยวและขนาดพ้ืนที่ของแหล่งทอ่งเที่ยวแต่ละแหง่ในอุทยานแหง่ชาติ

ส านักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่.....

เขตก่ึงก่ึงสนัโดษที่รถยนต/์เรือยนตเ์ข้าถึงไม่ได ้รวมถึงเขตสนัโดษ รับ นทท. ได ้1 คน/20 ตร.ม.

2. ช่วงชั้นโอกาสดา้นนันทนาการ (ROS) ในพ้ืนที่อุทยานฯ ก าหนดดงัน้ี

เขตบริการ รับ นทท. ได ้1 คน/4 ตร.ม.

ใช้ประโยชน์ (ตร.ม.)

เขตก่ึงสนัโดษที่รถยนต/์เรือยนตเ์ข้าถึงได ้รับ นทท. ได ้1 คน/6 ตร.ม.

เอกสารแนบ 1

ขนาดพ้ืนที่

ข้อมูล ณ วนัที.่.................สงิหาคม 2558

2

Recommended