EHRs, PHRs and Meaningful Use

Preview:

Citation preview

Electronic Health Records,

Personal Health Records &

Meaningful Use

นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

2 พฤศจิกายน 2557http://www.slideshare.net/nawanan

ระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Health Records)

หรือ เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Medical Records)

เวชระเบียนผู้ป่วย (Medical Records)

เวชระเบียนคืออะไร?

• เอกสารที่บันทึกข้อมูลประวัติการเจ็บปว่ยของผู้ป่วย การตรวจร่างกาย

และการให้การรักษาของสถานพยาบาล

• เวชระเบยีน (Medical Records) vs.

ระเบียนสุขภาพ (Health Records)

– มีความหมายเหมือนหรือคล้ายกนัมาก

– Health Records ครอบคลุมข้อมูลสุขภาพที่ไม่ใช่การแพทย์ด้วย

Class Discussion #1

• ทําไมเราจึงต้องมเีวชระเบียนผู้ป่วย?

• กล่าวคือ ทําไมเราจึงต้องมีการบันทึกประวัติผู้ป่วยและการให้

การรักษาของบุคลากรทางการแพทย์?

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

• เพื่อความต่อเนื่องในการดูแลรักษา (Continuity of Care)

– บันทึกข้อมูลสําคัญสําหรับการดูแลรักษาในอนาคต

– สําคัญมากสําหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (chronic diseases) เช่น เบาหวาน

ความดันโลหิตสูง หรือกรณีนัดตรวจติดตามผล (follow-up) เช่น หลัง

ผ่าตัด

• เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย

– ป้องกันอันตรายที่ผู้ป่วยอาจได้รับเพราะไม่ทราบประวัติผู้ป่วย

– เช่น ประวัติแพ้ยา (drug allergies), list of current medications,

problem list

• เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน

– ส่งต่อผู้ป่วยไปยังแพทย์เฉพาะทางหรือบุคลากรทางการแพทย์คนอื่น

– การส่งปรึกษา (Consultation) ระหว่างแพทย์

– การสื่อสารระหว่างแพทย์กับพยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบําบัด เป็นต้น

– ส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลหนึ่งไปโรงพยาบาลอีกแห่งหนึ่ง

• เพื่อประโยชน์ทางกฎหมาย (Medico-legal purposes)

– เป็นหลักฐานในศาล กรณีมีการฟ้องร้อง

– บันทึกสิ่งที่ได้ทําหรือให้การรักษากับผูป้่วย เหตุผลในสิ่งทีท่าํ ทําโดยใคร เมื่อใด

– ให้ข้อมูลเพื่อตอบคําถามว่า การดูแลรักษา ได้มาตรฐานวิชาชีพหรือไม่

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

• เพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Claims & Reimbursements)

– ได้ให้บริการอะไรให้กับผู้ป่วย

– โรงพยาบาลจะได้รับค่ารักษาพยาบาลจากกองทุนเทา่ใดและอย่างไร

– การตรวจสอบ (Audit) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการขอเบิกจ่ายคา่

รักษาพยาบาล

• เพื่อการใช้ประโยชน์ของผู้ป่วยเอง

– เพื่อการเบิกค่ารักษาพยาบาลจากบริษทัประกันของผู้ป่วย

– เพื่อการเรียนรู้ของตนเอง หรือการดูแลตนเอง

• เพื่อการวิจัย

– เพื่อค้นหาความรู้ใหม่จากประวัติการรักษาผู้ป่วย ผ่านการทําวิจัย

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

เวชระเบียน “อิเล็กทรอนิกส์”

“Electronic” Medical Records

• Electronic documentation of health care provided to patients, as

recorded by providers

• Ideally longitudinal (e.g., life-long) records

• Electronic Medical Records vs. Electronic Health Records

• ความหมายเหมือนหรือต่างกัน แล้วแต่มุมมอง

• บางคนมองว่า EMRs เป็นเพียง snapshot ของข้อมูลผู้ป่วยในการ

รักษา 1 ครั้ง ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ แต่ EHRs เป็นข้อมูล

อิเล็กทรอนิกส์ที่มีประวัติสุขภาพของผู้ป่วยในระยะยาว

(longitudinal records)

Example of a Longitudinal Record

EHRs vs. EMRs

• สรุป

– นิยามของ 2 คํานี้ ขึ้นอยู่กับมุมมองของแต่ละคน

– ในไทย มักใช้ EMRs แต่มีความหมายเหมือนกันกับ EHRs

– อาจรวมทั้งเวชระเบียนสแกน (Scanned Medical Records) และข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่

คอมพิวเตอร์โดยตรง (Fully-Electronic or Structured EHRs)

คุณประโยชน์ของ EHRs

Class Exercise #2

• ระบบเวชระเบยีนอิเล็กทรอนิกส์ มี

ประโยชน์อย่างไรเมื่อเทียบกับเอกสาร

เวชระเบียนในกระดาษ?

ประโยชน์ของการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์

(EHRs)

• ข้อมูลที่เข้าถึงได้ทุกที ่(anytime, anywhere, everyone ที่มีสิทธิเข้าถึง)

• เข้าถึงข้อมูลพร้อมกันได้หลายคน

• หมดยุคของ “เล่มเวชระเบียนผูป้่วยหายไปไหน!!!!!”

• สามารถควบคุมผู้มีสิทธิเข้าถึงข้อมูลได้ดีกว่าการเข้าถึงเลม่เวชระเบียน

• สามารถบังคับให้บันทึกข้อมูลให้ละเอียด ครบถ้วน ได้มาตรฐานได้

• ความสามารถในการแสดงผลข้อมูลทีเ่ข้าใจง่าย เช่น กราฟ

• การป้อนข้อมูลเข้าที่รวดเร็วขึ้น (แตบ่างครั้งก็อาจช้าลงได้เหมือนกัน)

• การปรับปรุงกระบวนการทํางาน หรือ workflow เรียกว่า Process improvement หรือ

business process reengineering/redesign

• ไม่มีลายมือแพทย์!!!!!

• Are they just electronic documentation?

• Or do they have some other values?

Diag-nosis

History & PE

Treat-ments ...

EHR Systems

Functions that Should be Part of EHR Systems

• Computerized Medication Order Entry (IOM, 2003; Blumenthal et al,

2006)

• Computerized Laboratory Order Entry (IOM, 2003)

• Computerized Laboratory Results (IOM, 2003)

• Physician Notes (IOM, 2003)

• Patient Demographics (Blumenthal et al, 2006)

• Problem Lists (Blumenthal et al, 2006)

• Medication Lists (Blumenthal et al, 2006)

• Discharge Summaries (Blumenthal et al, 2006)

• Diagnostic Test Results (Blumenthal et al, 2006)

• Radiologic Reports (Blumenthal et al, 2006)

EHR Systems

• สรุป

– EHR system อาจมีความหมายกว้าง คือ ไม่ได้เป็นเพียง

การบันทึกประวัติผู้ป่วย แต่รวม function ที่เกี่ยวข้องกับ

กระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยใช้ระบบสารสนเทศ เช่น

สั่งการรักษา ดูผลการตรวจต่างๆ ด้วย

– ดังนั้น ในความหมายนี้ EHR system จึงใกล้เคียงกับคําว่า

Clinical Information System หรือ Hospital

Information System

ระบบระเบียนสุขภาพส่วนบุคคล

(Personal Health Records)

และสาขา Consumer Health

Informatics

Consumer Health Informatics (CHI)

• “The field devoted to informatics from a consumer view.” (Hersh, 2009)

M/B/H Informatics As A Field

(Hersh, 2009)

Examples of Areas within Consumer Health Informatics

Image Source: http://www.webmd.com/

Image Source: http://nutrition.about.com/od/recipesmenus/ss/learnlabels.htm

Examples of Areas within Consumer Health Informatics:

Health Literacy

Examples of Areas within Consumer Health Informatics:

Health Literacy

Image Source: http://www.hon.ch/, http://socialmarketing.blogs.com/r_craiig_lefebvres_social/2007/02/health_literacy.html

Examples of Areas within Consumer Health Informatics:

Social Media & Social Networking Sites

Image Source: http://michaelcarusi.com/2012/01/01/when-you-should-not-become-a-social-media-manager/

Examples of Areas within Consumer Health Informatics:

Consumer-oriented m-Health

Image Source: http://ucedtech.wikispaces.com/Welcome

mHealth

http://whqlibdoc.who.int/publications/2011/9789241564250_eng.pdf

AS A HEALTHCARE CONSUMER, WHAT WOULD YOU WANT FROM ICT? EXAMPLES?

Class Exercise

Roles of ICT in Consumer Health Informatics

• Access to information• Networking opportunities• Education/Self-study• Personalization• Effective & efficient communications• Empowerment• “User Experience”

Issues in Consumer Health Informatics

• Health literacy & IT literacy• Cultural diversity & sensitivity• Usability, information presentation• Impact of ICT on behavioral modifications

• Integration with provider’s systems• Information exchange & interoperability• Business model• Privacy & security

ระบบระเบียนสุขภาพส่วนบุคคล

(Personal Health Records)

Personal Health Records (PHRs)

• “An electronic application through which individuals can access, manage and share their health information, and that of others for whom they are authorized, in a private, secure, and confidential environment.” (Markle Foundation, 2003)

• “A PHR includes health information managed by the individual... This can be contrasted with the clinician’s record of patient encounter–related information [a paperchart or EHR], which is managed by the clinician and/or health care institution.” (Tang et al., 2006)

Types of PHRs

• Patient portal from a provider’s EHRs (“tethered” PHRs)

• Online PHRs– Stand-alone– Can be integrated with EHRs from multiple providers

(unidirectional/bidirectional data sharing)

• Stand-alone PHRs– PC-based applications– USB Drive– CD-ROM or other data storage devices– Paper

PHRs and Other Systems

(Tang et al., 2006)

Ideal PHRs

• Integrated• Accessible• Secure• Comprehensive• Accurate & current• Patient able to

manage sharing & update information

• Engaging & educational

• User-friendly, culturally & literacy appropriate

The “Hub and Spoke” Model(Kaelber et al., 2008)

Use Cases of PHRs

• Data entry/update by patients• Data retrieval by providers

– With patient’s consent

– “Break-the-glass” emergency access

• Data update from EHRs• Privacy settings• Personalized patient education• Communications with providers

Data in PHRs

(Tang et al., 2006)

Other IT for Consumer Health

Traditional Web• MedlinePlus• Other sitesSocial Media• The Usuals: MySpace, Facebook, Twitter• Blogs, forums• PatientsLikeMeTelemedicine & Telehealth• Home monitoring/recording devices• Tele-consultations, virtual visits• http://media.nstda.or.th/video/viewVideo.php?video_id=1273

The Future

Microsoft Health: Future Vision

http://www.microsoft.com/showcase/en/us/details/b112da1c-c918-41ee-bb45-d6a553496168

Next:

“Meaningful Use” of EHRs

References

• Blumenthal D, DesRoches C, Donelan K, Ferris T, Jha A, Kaushal R, Rao S, Rosenbaum S.

Health information technology in the United States: the information base for progress

[Internet]. Princeton (NJ): Robert Wood Johnson Foundation; 2006 [cited 2010 Oct 14].

81 p. Available from: http://www.rwjf.org/files/publications/other/EHRReport0609.pdf

• Hersh W. A stimulus to define informatics and health information technology. BMC Med

Inform Decis Mak. 2009;9:24.

• Institute of Medicine, Board on Health Care Services, Committee on Data Standards for

Patient Safety. Key Capabilities of an electronic health record system: letter report

[Internet]. Washington, DC: National Academy of Sciences; 2003 [cited 2010 Oct 14]. 31

p. Available from: http://www.nap.edu/catalog/10781.html

Recommended