3
“Biz Note from The Coach” by M.L. Luesak Chakrabandhu (ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธุ์) [email protected] http://www.luesak.com http://slideshare.net/luesak ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธุกรรมการสมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย นักพัฒนาองค์กร และ ผู้บริหาร ระดับสูง ที่มีประสบการณ์กว่า 15 ปี ด้านการวางระบบ ให้คำาปรึกษา และพัฒนาบุคลกร ด้านพัฒนาธุรกิจและการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างคุณค่าและปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ Innovation VS Development Innovation ช่างเป็นคำาที่นิยมพูดถึงกันในธุรกิจ จะองค์กรไหน จะประชุมทีไร คำาว่า innovation ฟุ้งกระจายเต็ม ห้อง แล้วที่ว่าจะสร้าง Innovation นั้นมันคืออะไร ก็คงจะมีคนบอกว่า ก็คือนวัตกรรมไงซึ่งจะต้องเป็นการสร้างความ เปลี่ยนแปลงที่สำาคัญ (significant) อย่างรวดเร็ว (rapidly change) และ ที่สำาคัญต้องใหม่ (New/Fresh) ไม่เคยปรากฏ มาก่อน ถ้าเคยเจอที่ไหนมาแล้ว จะเรียกว่าไม่ Innovative มีหลายครั้งที่พบว่า Innovation Fever นั้นครอบงำาความคิดของคนจนลืมความสำาคัญของ การพัฒนา (Development) ไปเลย ที่เขียนบทความนี้ไม่ใช่เพื่อการต้านกระแสผลักดันการสร้าง innovation แค่อยากจะให้มีการพิจารณากันอย่าง ถี่ถ้วน และสามารถก่อให้เกิดความสำาเร็จจริงๆได้ จะมีการ debate กันอยู่เสมอระหว่างกลุ่มผู้สนับสนุน นวัตกรรม (Innovation) ซึ่งค่อนข้างจะมาแนว อเมริกัน และกลุ่มผูสนับสนุนการพัฒนา (Development) ซึ่งบางครั้ง จะมาในค่ายของ Continuous Improvement หรือ Kaizen ค่าย innovation ก็จะบอกว่า โลกมันพัฒนามาไกลมากแล้ว จะพัฒนาต่อยอดจากของเดิมไปเรื่อยๆ มันก็คงไม่สามารถ สร้างความแตกต่าง หรือ differentiate ตัวเอง ให้เหนือกว่าคู่แข้งอย่างชัดเจนได้ ดังนั้นการคิดใหม่ตั้งแต่ต้น และตัดทุ อย่างที่เดิมๆไปให้หมด ต้องหมดจริงๆ ไม่งั้นความคิดก็จะติดอยู่ในกรอบโดยไม่รู้ตัว ค่าย development ก็จะบอกว่า ลองมองย้อนกลับไปดีๆ มี innovation อะไรบ้างที่สร้างประโยชน์ หรือความสำาเร็จยิ่ง ใหญ่ให้แก่องค์กร WalMart ไม่ได้เป็น Modern Trade รายแรก ระบบจัดการ Supply Chain ที่ไร้เทียมทานก็เป็นรางวัล

Luesak's Biz Note from The Coach: Innovation vs Development

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Luesak's Biz Note from The Coach: Innovation vs Development

“Biz Note from The Coach” by M.L. Luesak Chakrabandhu (ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธ์ุ)[email protected] http://www.luesak.com http://slideshare.net/luesak

ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธ์ุกรรมการสมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย นักพัฒนาองคก์ร และ ผู้บริหาร

ระดับสูง ที่มีประสบการณ์กวา่ 15 ปี ดา้นการวางระบบ ให้คำาปรึกษา และพัฒนาบุคลกรดา้นพัฒนาธุรกิจและการใช้เทคโนโลยีเพื่อสรา้งคุณคา่และปรับปรุงกระบวนการทางธรุกิจ

Innovation VS Development

Innovation ช่างเป็นคำาที่นิยมพดูถึงกันในธุรกจิ จะองคก์รไหน จะประชุมทีไร คำาวา่ innovation ฟุ้งกระจายเต็มห้อง แล้วทีว่่าจะสร้าง Innovation น้ันมันคืออะไร กค็งจะมีคนบอกว่า ก็คือนวตักรรมไงซ่ึงจะต้องเป็นการสร้างความเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญ (significant) อย่างรวดเร็ว (rapidly change) และ ที่สำาคัญต้องใหม่ (New/Fresh) ไม่เคยปรากฏมาก่อน ถ้าเคยเจอที่ไหนมาแล้ว จะเรียกวา่ไม่ Innovative

มีหลายครั้งที่พบว่า Innovation Fever น้ันครอบงำาความคิดของคนจนลืมความสำาคัญของ การพัฒนา (Development) ไปเลย ที่เขียนบทความน้ีไม่ใช่เพื่อการต้านกระแสผลักดันการสรา้ง innovation แค่อยากจะให้มีการพิจารณากันอย่างถ่ีถ้วน และสามารถก่อให้เกิดความสำาเร็จจริงๆได้

จะมีการ debate กันอยู่เสมอระหว่างกลุ่มผู้สนับสนุน นวตักรรม (Innovation) ซ่ึงค่อนข้างจะมาแนว อเมริกัน และกลุ่มผู้สนับสนุนการพัฒนา (Development) ซ่ึงบางครั้ง จะมาในค่ายของ Continuous Improvement หรือ Kaizen

ค่าย innovation กจ็ะบอกว่า โลกมันพัฒนามาไกลมากแล้ว จะพัฒนาต่อยอดจากของเดิมไปเรื่อยๆ มันก็คงไม่สามารถสรา้งความแตกตา่ง หรือ differentiate ตวัเอง ให้เหนือกวา่คู่แข้งอย่างชัดเจนได้ ดงัน้ันการคิดใหม่ตั้งแต่ต้น และตดัทุอย่างที่เดิมๆไปให้หมด ตอ้งหมดจริงๆ ไม่งั้นความคดิก็จะตดิอยู่ในกรอบโดยไม่รูต้ัว

ค่าย development กจ็ะบอกว่า ลองมองย้อนกลับไปดีๆ มี innovation อะไรบ้างที่สร้างประโยชน์ หรือความสำาเร็จยิ่งใหญ่ให้แก่องค์กร WalMart ไม่ได้เป็น Modern Trade รายแรก ระบบจดัการ Supply Chain ที่ไร้เทียมทานก็เป็นรางวัล

Page 2: Luesak's Biz Note from The Coach: Innovation vs Development

จากการมุ่งมั่นปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างตอ่เนือง

จริงๆแล้วไม่อยากให้ใช้เวลาในการถกกันเรื่องน้ีให้มากมาย เพราะในหลายกรณี (แต่ไม่ทกุกรณี) Innovation และ Development มันเป็นสิ่งเดียวกันที่ถูกมองจ่ากคนละมุมเท่าน้ัน

ผู้ชมที่อยู่ภายนอก เช่นผู้บริโภค หรือ สื่อ อาจจะมองเห็นผลลัพท์ชองการพัฒนาอยา่งต่อเน่ืองเป็นนวัตกรรมได้ (After series of development, an innovation appears to audiences' eyes because old little things had been replaced behind the scene.) ส่วนคนทีท่ำางานอย่างหนักอยู่หลังฉากในการพัฒนาอยา่งต่อเน่ืองก็จะมองสิ่งทีต่นเองทำาเป็น everyday development

ถ้าจะลองจดักลุ่มกระบวนการที่นำาไปสู่ความสำาเร็จ น่าจะพอทำาได้คร่าวๆ ดงัน้ี

1) Pure innovation (in fact not pure due to need of some luck)2) Pure development (slow but not sure to yield innovation)3) ต่อยอด innovation ดว้ย development เช่น Mercedes Benz ไม่ได้ยิ่งใหญ่เพียงเพราะ Karls Benz สรา้ง

นวัตกรรม รถยนต์ 1 สูบได้เป็นคนแรก แต่ต้องได้การพัฒนาอย่างยาวนานจนถึงจุดที่คนทัว่โลกยอดรับถึงความยอดเยี่ยม

4) ใช้ innovative thinking ในการเรียบเรียงหรือผสมสิ่งที่มีอยู่แล้ว อย่างโดดเด่น เช่น Apple ไม่ได้เป็นผู้สรา้งเทคโนโลยีใดๆเกี่ยวกับระบบโทรศพัท์มือถือ ไม่ได้เป็นผู้คิดค้นระบบหน้าจอสัมผัส ไม่แม้แต่จะเป็นผู้มีส่วนรว่มในการบุกเบิก software ที่เกี่ยวข้องระบบคอมพวิเตอรพ์กพาดังเช่น Palm หรือ Windows CE แต่ iPhone จับเอาข้อดีหลายๆอย่างของคนอื่น มาปรับปรุงโดยใช้ Innovative Thinking และการตลาดที่เข้มแข็ง จนทำาให้ iPhoneไดร้ับการตอบรับอย่างมากมาย (แต่สุดทา้ยก็ขายได้น้อยกว่า Android ของ Google ซ่ึงมาทีหลัง แต่มีการรว่มพัฒนาอยา่งต่อเน่ืองกับผู้ผลิตอุปกรณ์ เช่น Samsung และ Sony จนจับฐานลูกคา้ได้กว้างกว่ามาก)

นวัตกรรมที่ประสบความสำาเร็จส่วนมากน่าจะเกิดจากสิ่งดีๆหลายอย่างประกอบกัน หรือแม้กระทั่งเกดิจากการพัฒนาหลอมรวม innovation หลายชิ้น มาเป็นสิ่งใหม่ที่ยอดเยี่ยม

Multiple crude/small innovations + innovative thinking + consumer understanding -> Innovation that survives

ถ้ามองข้ามการพัฒนาเพือ่แก้ไขปรับปรุง แม้ว่ามันจะเล็กน้อย ถ้ามองข้าม และไม่สะสม innovative thoughts/ideas ก็

Page 3: Luesak's Biz Note from The Coach: Innovation vs Development

ยากที่จะหลุดพ้นจาก "ข้อจำากดัเดิมๆ" เพราะสิ่งเหล่าน้ีเหมือนเฟือง เหมือนน็อต เหมือนเส้นลวด ถ้าไม่ดใูห้ดีก็จะถูกมองเป็นเศษโลหะ แต่ถ้าใสใ่จอาจจะสามารถนำาเอาไปใช้ประกอบเป็นนาฬิกาได้สักเรือน ช่างที่มีฝึมือดี อาจจะสามารถสร้าง priceless timepiece จากเศษโลหะของใครบางคนก็ได้

อ้างอิง-

บทความน้ีอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทฟีคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการคา้-อนุญาตแบบเดียวกัน (Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License (CC BY-NC-SA 4.0))