173
ÖøąìøüÜÿćíćøèÿč× þijľěıħěĬďĝĊĬēþġĬěĕğħĎĚīĜĥĿħāĕĉĮĔīďĮûĬĝ ĂIJğĄįġġĮđĜĬđĬāûĬĝķĘđĜ łķğĪĤĬĒĬĝčĤIJü

þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰǰǰǰǰ

ÖøąìøüÜÿćíćøèÿč×ǰ����ǰ

��

þijľěıħěĬďĝĊĬēþġĬěĕğħĎĚīĜĥ ĿħāĕĉĮĔīďĮûĬĝ�ĂIJğĄįġġĮđĜĬđĬāûĬĝķĘđĜ łķğĪĤĬĒĬĝčĤIJü�

Page 2: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ÙĞćîĉ÷öǰ×ĂĒÿéÜÙüćößČęîßöêŠĂÖøöüĉì÷ćýćÿêøŤÖćøĒóì÷ŤǰÙèąÖøøöÖćøǰĒúąÙèąìĞćÜćîìĊęðøąÖĂïéšü÷

ÙèćÝćø÷ŤñĎšìøÜÙčèüčçĉǰĒúąñĎšđßĊę÷üßćâÝćÖĀîŠü÷ÜćîêŠćÜėǰìĆĚÜÝćÖĀšĂÜðäĉïĆêĉÖćøēøÜó÷ćïćúǰǰÿõćüĉßćßĊóǰêúĂéÝîñĎšìøÜÙčèüčçĉÝćÖéšćîÿč×õćóÿĆêüŤǰìĊęĕéšéĞćđîĉîÖćøÝĆéìĞćÙĎŠöČĂöćêøåćîĀšĂÜðäĉïĆêĉÖćøÝčúßĊüüĉì÷ćÿĞćĀøĆïĀšĂÜðäĉïĆêĉÖćøéšćîÖćøĒóì÷ŤĒúąÿćíćøèÿč×ÞïĆïîĊĚ×ċĚîǰǰìŠćîìĆĚÜĀúć÷ĕéšøŠüöÖĆîÙĆéÿøøÿćøąÿĞćÙĆâĂĆîÝąđðŨîðøąē÷ßîŤêŠĂÖćøéĞćđîĉîÖćøêøüÝüĉđÙøćąĀŤéšćîÝčúßĊüüĉì÷ćǰđóČęĂÿøšćÜÙüćöđךöĒ×ĘÜĔĀšøąïïÝĆéÖćøÖćøéČĚĂ÷ćêšćîÝčúßĊó×ĂÜðøąđìýõć÷ĔîđüúćĂĆîÝĞćÖĆéǰéšü÷êøąĀîĆÖĔîÙüćöÿĞćÙĆâđøŠÜéŠüî×ĂÜðŦâĀćÖćøéČĚĂ÷ćêšćîÝčúßĊóǰìĊęêšĂÜđøŠÜéĞćđîĉîÖćøÿÖĆéÖĆĚîǰ÷Ćï÷ĆĚÜǰöĉĔĀšðŦâĀćïćîðúć÷ÝîÙüïÙčöĕöŠĕéšǰǰĒúąđðŨîõĆ÷ĂĆîêøć÷êŠĂøąïïÿč×õćóēé÷øüöǰìĆĚÜÝćÖÖćøðśü÷êć÷ÝćÖđßČĚĂéČĚĂ÷ćìĊęîĆïüĆîÝąøĆÖþć÷ćÖ×ċĚîđøČęĂ÷ėǰǰǰĒúąÖćøÿĉĚîđðúČĂÜÙŠćĔߚ݊ć÷ĔîÖćøéĎĒúøĆÖþćñĎšðśü÷êĉéđßČĚĂéČĚĂ÷ćǰøüöëċÜÖćøêšĂÜĔßš÷ćêšćîÝčúßĊóìĊęöĊùìíŤĒøÜǰøćÙćĒóÜ×ċĚîĂĊÖéšü÷ǰ

ÖćøêøüÝìćÜĀšĂÜðäĉïĆêĉÖćøîĆïđðŨîÖšćüĒøÖìĊęÿĞćÙĆâìĊęÝąÙšîĀćđßČĚĂéČĚĂ÷ćĔîñĎšðśü÷ĒúąÿĉęÜĒüéúšĂöǰêúĂéÝîÖćøøąïčđßČĚĂéČĚĂ÷ćßîĉéĔĀöŠǰǰüÜÝøÖćøÝĆéÖćøðŦâĀćđßČĚĂéČĚĂ÷ćÝąÿĞćđøĘÝéšü÷éĊÙÜöĉĕéšǰĀćÖĀšĂÜðäĉïĆêĉÖćøĕöŠöĊÿöøøëîąìĊęđĀöćąÿöǰÖćøÝĆéìĞćÙĎŠöČĂöćêøåćîÞïĆïîĊĚÿĞćđøĘÝđðŨîÖĉÝÖøøöĒøÖĔî÷čìíýćÿêøŤÖćøÝĆéÖćøÖćøéČĚĂ÷ćêšćîÝčúßĊóĒĀŠÜßćêĉǰó�ý�ǰ���������ǰìĊęĕéšéĞćđîĉîÖćøÿĞćđøĘÝêćöđðŜćĀöć÷àċęÜđðŨîåćîĔĀšöĆęîĔÝĕéšüŠćÖĉÝÖøøöêŠĂėĕðǰĕéšĒÖŠÖćøđòŜćøąüĆÜǰÙüïÙčöǰĒúąÖćøøĆÖþćÖćøðśü÷ÝćÖđßČĚĂéČĚĂ÷ćǰÝąÿćöćøëéĞćđîĉîÖćøĕéšĂ÷ŠćÜöĊðøąÿĉìíĉõćóÙćéüŠćÙĎŠöČĂöćêøåćîđúŠöîĊĚÝąĕéšøĆïÖćøîĞćĕðĔßšĔĀšđÖĉéðøąē÷ßîŤÿĎÜÿčéêŠĂĀšĂÜðäĉïĆêĉÖćø×ĂÜēøÜó÷ćïćúǰÿöđÝêîćøöèŤ×ĂÜÙèąñĎšÝĆéìĞćìčÖðøąÖćøǰ

ǰ

Page 3: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ก

คํานํา เชื้อจุลชีพดื้อยา เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญเรงดวนระดับโลก เนื่องจากปจจุบันเชื้อจุลชีพ

โดยเฉพาะอยางยิ่งเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด ไดกลายพันธุจนเชื้อตัวเดียวดื้อตอยาตานจุลชีพหลายขนาน ซึ่งเปนผลมาจากการใชยาตานจุลชีพจํานวนมากทั้งในมนุษยและสัตว กระตุนใหเชื้อกลายพันธุเปนเชื้อ ดื้อยาอยางรวดเร็ว ทั่วโลกกังวลวาหากไมมีการดําเนินการใด โลกจะเขาสูยุคหลังยาปฏิชีวนะ (Post

Antibiotic Era) ที่ไมมียาชนิดใดสามารถรักษาโรคติดเชื้อได ทําใหอาจเกิดการลมตายของประชาชนจากโรคติดเชื้อเปนจํานวนมาก ซึ่งความกังวลนี้ไดเริ่มปรากฎชัดจากขอมูลปจจุบันของประเทศไทยที่มีผูปวยเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาปละนับหมื่นรายและมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน ดังนั้นประเทศไทยโดยกระทรวงสาธารณสุข จึงไดจัดทํา “แผนยุทธศาสตรการจัดการการดื้อยาตานจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ขึ้น โดยอาศัยกลไกการมีสวนรวมจากหนวยงานที่เกี่ยวของตลอดจนภาคประชาสังคม เพ่ือพัฒนาระบบจัดการปญหาการดื้อยาตานจุลชีพแบบบูรณาการภายใตแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว ซึ่งสอดคลองกับแนวทางขององคการอนามัยโลก การเฝาระวังการดื้อยาตานจุลชีพภายใตแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียวนั้น ใหความสําคัญกับการตรวจทางหองปฏิบัติการเปนอยางมาก เพราะตองวินิจฉัยและเฝาระวังควบคุมโรคเชื้อดื้อยา โดยอาศัยผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ เนื่องจากผลการตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการสามารถนําไปใชเพ่ือการวินิจฉัย การเฝาระวัง และการควบคุมโรค จึงไดกําหนดแนวทางในกลยุทธที่ 1.2 “การพัฒนาศักยภาพและเครือขายหองปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา” ใหมีการจัดทํามาตรฐานระดับชาติดานหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา กระทรวงสาธารณสุขจึงไดจัดทํา “คูมือมาตรฐานหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข” และ “คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข” โดยใชงานรวมกัน มีเนื้อหาครอบคลุมทั้งโครงสรางพ้ืนฐานของหองปฏิบัติการ เทคนิควิธีการตรวจวิเคราะห ความรูความสามารถของผูปฏิบัติงานระดับตางๆ ตลอดจนความมั่นคงปลอดภัยทางชีวภาพในหองปฏิบัติการ มาตรฐานดังกลาวนี้ มิไดจํากัดเฉพาะแตหองปฏิบัติการของกระทรวงสาธารณสุขเทานั้น แตมุงหวังใหประยุกตใชไดกับหองปฏิบัติการทุกภาคสวน การจัดทํามาตรฐานนี้ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจากภาคสวนตางๆ เชน มหาวิทยาลัย หองปฏิบัติการโรงพยาบาล ตลอดจนผูแทนจากสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวของ รวมทั้งผูแทนจากหองปฏิบัติการสุขภาพสัตว มารวมใหความเห็นและขอเสนอแนะ สําหรับการนําไปใช กระทรวงสาธารณสุขจะขอความรวมมือใหองคกรรับรองตางๆ นํามาตรฐานนี้ไปใช เพ่ือตรวจประเมินหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ประกอบกับการตรวจประเมินระบบคุณภาพตอไป โดยความมุงหมายของการตรวจประเมินตามมาตรฐานนี้ เพ่ือนําผลจากการประเมินมาใชในการพัฒนาและปรับปรุงหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุขอยางตอเนื่อง

อยางไรก็ตามมาตรฐานนี้จัดทําขึ้นเปนฉบับแรก คณะผูจัดทําขอนอมรับความคิดเห็นจากทุกฝาเพ่ือนํามาปรับปรุงใหเปนมาตรฐานแหงชาติ ที่เกิดประโยชนกับประชาชนโดยแทจริง

Page 4: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ข คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

สารบัญ หนา

คํานํา ก

สารบัญ ก

นิยามและคํายอ ซ

บทนํา 1

บทที่ 1 หลักความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ 3

1.1 การจําแนกจุลชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยง 3

1.2 หลักความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ 4

บทที่ 2 หลักความม่ันคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ 6

2.1 การควบคุมดานวิศวกรรม 7

2.2 การจัดทําบัญชีและมอบหมายผูรับผิดชอบ 8

2.3 การบริหารงานบุคคล 9

2.4 การขนสงสารชีวภาพ 9

2.5 การรักษาความปลอดภัยของขอมูล 10

2.6 แผนปฏิบัติการฉุกเฉิน 10

บทที่ 3 สัญลักษณและปายเตือนที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย 11

3.1 สัญลักษณเครื่องหมายชีวภัยสากล 11

3.2 ปายเตือนทั่วไป 13

บทที่ 4 ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย 15

และวิธีการปฏิบัติงาน 15

4.1 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 (BIOSAFETY LEVEL 1; BSL1) 15

4.2 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 (BIOSAFETY LEVEL 2; BSL2) 18

4.3 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 (BIOSAFETY LEVEL 3; BSL3) 23

4.4 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (BIOSAFETY LEVEL 4; BSL4) 28

บทที่ 5 ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับอาคารเลี้ยงดูแลสัตวทดลอง 36

5.1 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 1 (ABSL1) 37

5.2 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 2 (ABSL2) 38

5.3 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 3 (ABSL3) 39

5.4 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 4 (ABSL4) 40

Page 5: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ค

สารบัญ

หนา

บทที่ 6 การจัดการลักษณะทางกายภาพของหองปฏิบัติการ 42

บทที่ 7 ระบบบริหารจัดการความม่ันคงและความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา 49 ทางการแพทย

7.1 นโยบายความปลอดภัย 49

7.2 แผนบริหารจัดการความปลอดภัย 50

7.3 การมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบ 50

7.4 การฝกอบรม 53

บทที่ 8 เครื่องมือที่มีผลตอความปลอดภัยทางชีวภาพ 55

8.1 ตูดูดควัน 55

8.2 ตูชีวนิรภัย 55

8.3 เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง 63

บทที่ 9 อุปกรณปองกันสวนบุคคล 68

9.1 เสื้อคลุมหองปฏิบัติการ เสื้อกาวน ชุดคลุมทั้งตัว ผากันเปอน 68

9.2 แวนตานิรภัย ครอบตานิรภัย กระบังปองกันใบหนา 70

9.3 อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ 71

9.4 ถุงมือ 80

บทที่ 10 การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ 87

10.1 การประเมินความเสี่ยง 88

10.2 การควบคุมความเสี่ยง 90

10.3 การทําใหประสบผลสําเร็จ 91

บทที่ 11 น้ํายาฆาเชื้อโรค 93

11.1 ประเภทของน้ํายาฆาเชื้อ 94

11.2 สารเคมีที่ใชในการฆาเชื้อโรค 94

บทที่ 12 การขนสงสารชีวภาพอันตราย 103

12.1 การขนสงสารชีวภาพอันตรายภายในหนวยงาน 103

12.2 การขนสงสารชีวภาพอันตรายระหวางหนวยงาน 105

12.3 การขนสงสารชีวภาพอันตรายไปตางประเทศ 107

Page 6: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ง คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

สารบัญ

หนา

บทที่ 13 การจัดการขยะติดเชื้อ 108

13.1 การเก็บรวบรวม 110

13.2 การเคลื่อนยาย 111

13.3 การขนสง 113

13.4 การกําจัด 114

บทที่ 14 การเตรียมความพรอมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน 116

14.1 วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินเหตุเพลิงไหม 119

14.2 วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินจากสารชีวภาพรั่วไหล 119

บทที่ 15 อาชีวอนามัย 123

15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน 123

15.2 การยศาสตร 127

บทที่ 16 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 131

บทที่ 17 ความปลอดภัยทางชีวภาพและเทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรม 134

17.1 ขอควรพิจารณาดานความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับการแสดงออกของ 134

ชิ้นยีนบนพาหะ

17.2 พาหะยีนที่เปนไวรัสสําหรับการขนถายยีน 135

17.3 การประเมินความเสี่ยงสําหรับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม 135

บทที่ 18 การจัดการสารเคมีของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย 138

18.1 การจัดกลุมสารเคมี 139

18.2 หลักการเก็บสารเคมี 139

18.3 การเขาสูรางกายของสารเคมีและวิธีสังเกตอาการ 140

18.4 การจัดการกับสารเคมีหกหลนในหองปฏิบัติการ 140

เอกสารอางอิง 142

ภาคผนวก 145

ผนวก ก การจัดแยกประเภทสารเคมีตามการเขากันไมได (Incompatibility) 144 ผนวก ข คําสั่งแตงตั้ง 147

Page 7: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข จ

สารบัญตาราง

หนา

ตารางท่ี 1.1 การจําแนกจลุชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยง (RISK GROUP) 4

ตารางท่ี 4.1 สรุปความสัมพันธระหวางระดับชีวนิรภัย ชนิดของหองปฏิบัติการ 33 วิธีปฏิบัติ เครื่องมือ ดานความปลอดภัย

ตารางท่ี 4.2 สรุปสิ่งจําเปนสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับตางๆ 34

ตารางท่ี 5.1 หองเลี้ยงสัตวทดลองแบงตามระดับความปลอดภัยมาตรการ 37 และอุปกรณที่จําเปน

ตารางท่ี 6.1 คุณลักษณะและการใชงานที่เหมาะสมของตูชีวนิรภัย CLASS II 45

ตารางท่ี 6.2 รายละเอียดของถังดับเพลิงแตละชนิด 48

ตารางท่ี 9.1 ตารางแสดงชนิดของหนากากกรองอากาศชนิดใชแลวท้ิง ตามมาตรฐาน 73 NIOSH

ตารางท่ี 9.2 ตารางสรุปอุปกรณปองกันสวนบุคคลสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ 81

ตารางท่ี 11.1 ตัวอยางการเจือจางโซเดียมไฮโปคลอไรท 96

ตารางท่ี 15.1 สรุปการใหภูมิคุมกันหรือยา “กอน” การสัมผัสเชื้อสําหรับบุคลากร 125 ทางการแพทย (PRE EXPOSURE PROPHYLAXIS)

ตารางท่ี 15.2 สรุปการใหภูมิคุมกันหรือยา”หลัง”การสัมผัสเชื้อสําหรับบุคลากร 126 ทางการแพทย (POST EXPOSURE PROPHYLAXIS)

Page 8: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ฉ คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

สารบัญรูปภาพ หนา

รูปที่ 3.1 สัญลักษณชีวภัยสากล 11

รูปที่ 3.2 ตัวอยางสัญลักษณชีวภัยสากลสําหรับปายติดหนาหองปฏิบัติการ 12

รูปที่ 4.1 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 17

รูปที่ 4.2 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 22

รูปที่ 4.3 ตัวอยางปายสัญลักษณชีวภัยสากลสําหรับติดหนาประตูหองปฏิบัติการ 23

รูปที่ 4.4 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 27

รูปที่ 4.5 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 31

รูปที่ 8.1 ตูชีวนิรภัย CLASS I 56

รูปที่ 8.2 ตูชีวนิรภัย CLASS II 57

รูปที่ 8.3 ตําแหนงการวางตูชีวนิรภัย 63

รูปที่ 8.4 ตัวอยาง AUTOCLAVE TAPE 66

รูปที่ 8.5 ตัวอยางตัวบงช้ีทางเคมีภายใน 66

รูปที่ 8.6 ตัวอยาง BOWIE-DICK TEST 67

รูปที่ 8.7 ตัวอยาง BIOLOGICAL INDICATOR 67

รูปที่ 9.1 เสื้อผาปองกันสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา 69 ทางการแพทย

รูปที่ 9.2 ตัวอยางผากันเปอนสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา 69 ทางการแพทย

รูปที่ 9.3 ตัวอยางแวนตานิรภัยสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา 70 ทางการแพทย

รูปที่ 9.4 ตัวอยางครอบตานิรภัยสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา 70 ทางการแพทย

รูปที่ 9.5 กระบังปองกันใบหนาสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา 71 ทางการแพทย

Page 9: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ช

สารบัญรูปภาพ หนา

รูปที่ 9.6 หนากากอนามัย 72

รูปที่ 9.7 ตัวอยางหนากากกรองอากาศชนิดใชแลวทิ้ง (PARTICULATE RESPIRATOR) 73

รูปที่ 9.8 หนากากปองกันแบบครอบครึ่งใบหนาและเต็มใบหนา 74

รูปที่ 9.9 ตัวอยางเครื่องกรอง หรือตลับกรองอากาศ 75

รูปที่ 9.10 เครื่องกรองอากาศที่จัดสงอากาศให 1. แบบหนากากครอบเต็มใบหนา (ซาย) 76

แบบคลุมศีรษะ (กลาง) และ 3. แบบครอบศีรษะ (ขวา) 76

รูปที่ 9.11 ถุงคลุมศีรษะ สําหรับ PAPR 77

รูปที่ 9.12 ชุดเครื่องกรองอากาศแบบมีมอเตอรเปาอากาศ 77

รูปที่ 9.13 ชุดจัดสงอากาศชนิดมีสายสงอากาศ 79

รูปที่ 9.14 ชุดจัดสงอากาศชนิดมีถังอากาศ 79

รูปที่ 9.15 การทดสอบความแนบสนิทการใสหนากากชนิดใชแลวทิ้ง ดวย FIT TEST KIT 80

รูปที่ 13.1 ตัวอยางถุงขยะมูลฝอยติดเชื้อ 111

รูปที่ 14.1 ตัวอยางแบบบันทึกอุบัติการณ 122

Page 10: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ซ คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

นิยามและคํายอ

คําศัพท/คํายอ นิยาม

accidental release measures มาตรการจัดการเมื่อมีการหกรั่วไหลของสารโดยอุบัติเหตุ administrative control การควบคุมดานบริหาร

airborne particles หรือ aerosol อนุภาคท่ีแขวนลอยในอากาศ

airflow smoke patterns test การทดสอบรูปแบบการไหลของอากาศ

air-purifying respirator หนากากกรองอากาศ

animal biosafety level (ABSL) ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับอาคารเลี้ยงดูแลสัตวทดลอง

anteroom หองเฉลียง aprons ผากันเปอน

aseptic techniques เทคนิคปลอดเชื้อ

assurance การทําใหเชื่อมั่น

autoclave เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง

baseline serum samples ตัวอยางซีรั่มของผูปฏิบัติงานกอนเริ่มการปฏิบัติงาน

battery-powered filter ชุดเครื่องกรองอากาศแบบมีมอเตอรเปาอากาศ

biohazard sign ปายสัญลักษณชีวภัยสากล

biological hazard หรือ biohazard สารชีวภาพอันตราย

biological indicator ตัวบงชี้ทางชีวภาพ

biological monitoring การตรวจสอบทางชีวภาพ

biological safety cabinet ตูชีวนิรภัย

biorisk assessment ประเมินความเสี่ยงทางชีวภาพ

biorisk management การบริหารจัดการความเสี่ยงดานชีวภาพ

biosafety and recombinant DNA technology

ความปลอดภัยทางชีวภาพและเทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรม

biosafety level and practice ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและวิธีการปฏิบัติงาน

biosafety level1 (BSL1) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1

Page 11: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ฌ

คําศัพท/คํายอ นิยาม

biosafety level1 (BSL2) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2

biosafety level1 (BSL3) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3

biosafety level1 (BSL4) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4

body protection อุปกรณปองกันรางกาย

breathing hose หรือ air hose ทอหายใจ

canopy ทอระบายอากาศแบบชุดฝาครอบดูดควัน canopy connection การตอผานชุดฝาครอบดูดควัน

carriers กระสวย cd/m2 แรงเทียน/ตารางเมตร

chemical indicator ตัวบงชี้ทางเคมี chemical management การจัดการสารเคมีของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทาง

การแพทย chemical monitoring การตรวจสอบทางเคมี

coagulation การจับเปนกอน composition/information on ingredients

สวนประกอบและขอมูลเกี่ยวกับสวนผสม

consequence ผลกระทบ

consistency ความสม่ําเสมอ

containment การควบคุมกักกันสารชีวภาพอันตราย

control การควบคุม

corrosive chemicals สารกัดกรอน

coveralls ชุดคลุมทั้งตัว หรือ ชุดหมี decontamination shower หองอาบน้ําฝกบัวลดการปนเปอน

deluge shower ฝกบัวฉุกเฉิน

denaturation การสลายตัว

disinfectant น้ํายาฆาเชื้อโรค

disinfection การทําลายเชื้อ

disposable ใชครั้งเดียวแลวทิ้ง disposal considerations มาตรการการกําจัด

Page 12: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ญ คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

คําศัพท/คํายอ นิยาม

donor organism สิ่งมีชีวิตผูให dose of infection ปริมาณของเชื้อที่กอใหเกิดโรค

double door autoclave เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง แบบ 2 ประตู down flow velocity test การวัดความเร็วลมผานพื้นที่ปฏิบัติงาน

downward airflow อากาศท่ีไหลลงสูพ้ืนที่ปฏิบัติงาน

dry heat ความรอนแหง ecological information ขอมูลเชิงนิเวศน emergency eye wash อุปกรณลางตาฉุกเฉิน

emergency response การเตรียมความพรอมเพ่ือรองรับภาวะฉุกเฉิน

engineering control การควบคุมดานวิศวกรรม

explosive chemicals สารระเบิดได exposure controls/personal protection การควบคุมการรับสัมผัสและการปองกันภัยสวนบุคคล

external chemical indicator ตัวบงชี้ทางเคมีภายนอก

eye protection อุปกรณปองกันตา

face protection อุปกรณปองกันหนา

face shield กระบังปองกันใบหนา

facepiece ตัวหนากาก

fire fighting measures มาตรการผจญเพลิง fire hose ชุดทอประปาดับเพลิง first aid การปฐมพยาบาลเบื้องตน

first aid measures มาตรการปฐมพยาบาล

flammable chemicals สารไวไฟ

foot paddle ระบบเปดดวยเทา foot protection อุปกรณปองกันเทา

full facepiece ครอบเต็มใบหนา

fume hood ตูดูดควัน

gene expression regulators สารควบคุมการแสดงออกของยีน

general waste ขยะทั่วไป

Page 13: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ฎ

คําศัพท/คํายอ นิยาม

genetically modified organisms (GMOs) สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม

good microbiological technique (GMT) เทคนิคที่ดีทางจุลชีววิทยา

gown เสื้อกาวน half facepiece ครอบครึ่งใบหนา half-face elastomeric respirator full-face elastomeric respirator

หนากากพรอมเครื่องกรองอากาศแบบครอบครึ่งใบหนา หนากากพรอมเครื่องกรองอากาศแบบครอบเต็มใบหนา

hand protection อุปกรณปองกันมือ handling and storage การใชและการเก็บรักษา

hard duct การตอกับระบบระบายอากาศแบบปด

hazardous materials วัตถุอันตราย

hazardous waste ขยะมีพิษหรือของเสียอันตราย

hazards identification ขอมูลระบุความเปนอันตราย

head harness ชุดสายรัดศีรษะ

head harness pad แผนยึดศีรษะ

hearing protection อุปกรณปองกันการไดยิน

heat treatment ระบบการใชความรอน

heating, ventilation and air-conditioning (HVAC) control system

ระบบควบคุมความรอนระบบถายเทอากาศและระบบปรับอากาศ

high efficiency particulate air (HEPA) filter

ตัวกรองอากาศประสิทธิภาพสูง

HEPA filter leak test การทดสอบหารอยรั่วของ HEPA Filter

high-hazard zone เขตอันตรายมาก

high-level disinfectant นํ้ายาฆาเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูง hood ผาคลุมศีรษะ หรือ ถุงคลุมศีรษะ

hospital pneumatic tube system การขนสงวัตถุตัวอยางโดยระบบทอลมสําหรับโรงพยาบาล

host range ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่สามารถติดเชื้อ

hot air oven ตูอบรอน

identification of the substancess/preparation and of the company/undertake

ขอมูลเกี่ยวกับสารเคมี และบริษัทผูผลิตและหรือจําหนาย

Page 14: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ฏ คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

คําศัพท/คํายอ นิยาม

improvement การปรับปรุง incompatible chemicals สารเคมีที่เขากันไมได incubation period ระยะฟกตัว

indicator tape หรือ autoclave tape เทปทดสอบเคมี

infectious substances สารชีวภาพติดเชื้อ

infectious substancess transportation การขนสงสารชีวภาพอันตราย

infectious waste ขยะติดเชื้อ

infectious waste management การจัดการขยะติดเชื้อ

inflow velocity test การวัดความเร็วลมเขาหนาตู inlet valve หรือ inhalation valve ลิ้นทางเขา

institutional biosafety committee (IBC) คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับหนวยงาน

intermediate-level disinfectant นํ้ายาฆาเชื้อที่มีประสิทธิภาพปานกลาง internal chemical indicator ตัวบงชี้ทางเคมีภายใน

international air transport association (IATA)

องคกรการบินระหวางประเทศ

international health regulation (IHR) กฎอนามัยระหวางประเทศ

inward airflow อากาศท่ีไหลเขาดานหนาตู laboratory biosafety ความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ

laboratory biosafety manual คูมือความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ

laboratory biosecurity ความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ

laboratory coat เสื้อคลุมหองปฏิบัติการ

laboratory decontamination การฆาเชื้อหองปฏิบัติการ

laboratory risk assessment การประเมินความเสี่ยงหองปฏิบัติการ

laboratory safety officer เจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ

leak testing การทดสอบการรั่ว

likelihood โอกาสที่จะเกิด

low-hazard zone เขตอันตรายนอย

low-level disinfectant นํ้ายาฆาเชื้อที่มีประสิทธิภาพตํ่า

Page 15: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ฐ

คําศัพท/คํายอ นิยาม

material safety data sheet (MSDS) เอกสารขอมูลความปลอดภัยสารเคมี

mechanical indicators ตัวบงชี้ทางกลไกของเครื่อง mechanical or physical monitoring การตรวจสอบทางกลไก

medical laboratory biosafety and biosecurity management

ระบบบริหารจัดการความมั่นคงและความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย

mode of transmission ชองทางการติดเชื้อ

moist heat ความรอนชื้น

motor blower unit มอเตอรพรอมพัดลมดูดอากาศ

negative pressure แรงดันลบ

NIOSH national institute of occupational safety and health

NIST national institute of standards and technology

nonwoven polypropylene and microporous materials

วัสดุสังเคราะหเทียมผา

nose cup ครอบจมูก occupation health อาชีวอนามัย

original test report ใบรับรองประสิทธิภาพของตูจากบริษัทผูผลิต

outlet valve หรือ exhalation valve ลิ้นทางออก

particulated respirator หนากากกรองอากาศชนิดที่ใชแลวทิ้ง performance การทําใหประสบผลสําเร็จ

personal protective equipment (PPE) อุปกรณปองกันสวนบุคคล

personnel shower หองอาบน้ําฝกบัว pH ความเปนกรดดาง physical and chemical properties คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ

physical testing การทดสอบทางกายภาพ

plastic disposable transfer loops หวงเพาะเชื้อแบบใชแลวทิ้ง powered air purifying respirator (PAPR) เครื่องกรองอากาศที่จัดสงอากาศ

ppm part per million

practice and procedure การปฏิบัติและวิธีการ

Page 16: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ฑ คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

คําศัพท/คํายอ นิยาม

prevalence ความชุกชุมของโรคในพ้ืนที่ primary barrier ปราการดานแรก

push bar มือผลัก

radioactive chemicals สารกัมมันตรังสี recipient organism สิ่งมีชีวิตผูรับ

recycle waste ขยะรีไซเคิล

regulatory information ขอมูลเกี่ยวกับกฎขอบังคับ

reliably นาเชื่อถือ

repetitive strain injuries (RSIs) การทํางานซ้ําซาก

respirator อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ

respiratory protection อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ

risk ความเสี่ยง risk assessment การประเมินความเสี่ยง risk group จุลชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยง risk mitigation การจัดการลดความเสี่ยง safety equipment อุปกรณเครื่องมือเพ่ือความปลอดภัย

safety glasses แวนตานิรภัย

safety goggles ครอบตานิรภัย

safety zone เขตปลอดภัย

safety data sheet (SDS) ขอมูลความปลอดภัยสารเคมี seated workstation สถานีงานที่ตองนั่งทํางาน

self-contained breathing apparatus (SCBA)

เครื่องชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ

severity ความรุนแรงของโรค

shelf-life อายุการเก็บ

site installation assessment test การประเมินการติดตั้ง sit-stand workstation สถานีงานที่ตองนั่งและยืนทํางาน

sonic disruption การทําใหละเอียดดวยเสียงความถี่ต่ํา

Page 17: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข ฒ

คําศัพท/คํายอ นิยาม

standard operating procedure (SOP) เอกสารมาตรฐานการปฏิบัติงาน

special practices ขอปฏิบัติเฉพาะ/ ที่จําเปน

specific chemical indicator ตัวบงชี้ทางเคมีแบบเฉพาะ

spill decontamination การจัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุ stability and reactivity เสถียรและความไวตอการเกิดปฏิกิริยา

standard microbiological practices มาตรฐานการปฏิบัติงานทางจุลชีววิทยา standing workstation สถานีงานที่ตองยืนทํางาน

sterilization การทําใหปราศจากเชื้อ

strip ชิ้น

suit decontamination shower หองฝกบัวลดการปนเปอนชุด

supplied air respirator ชุดจัดสงอากาศ

surgical mask หนากากอนามัย

survival outside host ความสามารถในการอยูรอด

technical biosafety committee (TBC) คณะกรรมการเทคนิคดานความปลอดภัยทางชีวภาพ

the globally harmonized system of classification and labeling of chemicals (GHS)

ระบบการจําแนกและการติดฉลากสารเคมีที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก

toxic chemicals สารเปนพิษ

toxicological information ขอมูลดานพิษวิทยา

transfer ขนสง transport information ขอมูลสําหรับการขนสง UN regulation ขอกําหนดขององคการสหประชาชาติ vector พาหะ

viral vector พาหะยีนที่เปนไวรัส

virulence factors หรือ enhancers ยีนหรือสารควบคุมความรุนแรงของเชื้อ

visor หรือ eyepiece ชองมอง voicemitter อุปกรณถายทอดเสียง work place practices หรือ standard operating procedure

มาตรฐานการปฏิบัติงาน

Page 18: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

ณ คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

คําศัพท/คํายอ นิยาม

workers ผูปฏิบัติงานในขณะทํางาน

working environment สภาพสิ่งแวดลอมของการทํางาน

workspace เนื้อท่ีปฏิบัติงานหรือพ้ืนที่การทํางาน

workstation จุดปฏิบัติงานหรือสถานีงาน

Page 19: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 1

บทนํา ปจจุบันมีการระบาดและแพรกระจายของเชื้อโรคอุบัติใหมรายแรงในภูมิภาคตางๆ ทั่วโลกอยาง

ตอเนื่อง และทวีความรุนแรงขึ้นเปนลําดับ ประเทศสมาชิกองคการอนามัยโลก 196 ประเทศ ไดลงนามปฏิบัติตามกฎอนามัยระหวางประเทศฉบับปรับปรุงป 2548 (International Health Regulation 2005) ซึ่งไดกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบการคนหา การปองกันและตอบสนองตอการระบาดของโรคอุบัติใหมรายแรงรวม 8 ดานหลัก (core capacity) ซึ่งรวมการพัฒนาหองปฏิบัติการใหมีศักยภาพในการตรวจวินิจฉัยใหไดมาตรฐานสากล และมีระบบความปลอดภัยและความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (laboratory biosafety and biosecurity) เพ่ือปองกันอันตรายแกผูปฏิบัติงานและการแพรกระจายของเชื้อหรือสารชีวภาพอันตรายออกสูสิ่งแวดลอม นอกจากนั้นในเดือนกันยายน 2557 ประเทศไทยรวมกับพันธมิตรมากกวา 50 ประเทศไดรวมลงนามความรวมมือในการดําเนินการ “วาระความมั่นคงโลก (Global Health Security Agenda 2014)” ที่จะรวมมือกันพัฒนาตาม 11 แผนปฏิบัติการ (action

package) เพ่ือการเตรียมความพรอม การตรวจจับ การควบคุมและการปองกันเชื้อโรคอุบัติใหมรายแรง ซึ่งในแผนปฏิบัติการหลักวาดวยความมั่นคงและความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety and Biosecurity

Action Package) และ แผนปฏิบัติการหลักวาดวยการพัฒนาระบบหองปฏิบัติการของประเทศ (National Laboratory System Action Package) ไดกําหนดเปาหมายและแผนปฏิบัติการที่ประเทศสมาชิกความรวมมือตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 5 ป

กรมวิทยาศาสตรการแพทย ในฐานะเปนหนวยงานหลักดานการพัฒนาหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขของประเทศ เพ่ือใหเปนไปตามขอกําหนดของกฎอนามัยระหวางประเทศ (International Health Regulation) และเปนประเทศผูนําในการพัฒนาแผนระบบหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุข (GHSA National Laboratory System Action Package) จึงไดแตงตั้งคณะทํางานขึ้น 2 ชุดประกอบไปดวยผูเชี่ยวชาญและผูแทนที่มีความรูและประสบการณในการทํางานกับสารชีวภาพอันตรายทั้งจากหนวยงานในกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย และกรมปศุสัตว เพ่ือจัดทําคูมือ 2 เลม คือ มาตรฐานหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข และมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีวิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข เพ่ือใหหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยที่ทํางานตรวจวิเคราะห วิจัย เกี่ยวกับตัวอยางสิ่งสงตรวจหรือสารชีวภาพอันตรายจากทั้งมนุษยและสัตว ใชเปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพหองปฏิบัติการ และพัฒนาระบบความปลอดภัยและความมั่นคงทางชีวภาพ (biosafety and biosecurity) ของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย เพ่ือใหเกิดความม่ันใจวาหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยในประเทศไทยมีศักยภาพ มีความพรอม และมีระบบความปลอดภัยและความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และมีความพรอมที่จะรองรับการระบาดของเชื้อโรครายแรงตางๆ

มาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุขเลมนี้ ประกอบไปดวยเนื้อหาสาระสําคัญ ที่บุคลากรในทุกหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยควรทราบและนําไป

Page 20: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

2 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

พัฒนาปรับปรุงระบบความปลอดภัยและความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ เพ่ือใหเกิดความมั่นใจวาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการจะมีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโรคหรือสัมผัสสารชีวภาพอันตราย ตลอดจนปองกันการรั่วไหลหรือแพรกระจายของสารชีวภาพอันตรายออกนอกหองปฏิบัติการดวยความพลั้งเผลอหรือโดยเจตนา

คณะทํางานหวังเปนอยางยิ่งวา มาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีวิทยาทางการแพทย และสาธารณสุขเลมนี้ จะเปนประโยชนในการพัฒนาระบบความปลอดภัยและความมั่นคงสําหรับหองปฏิบัติจุลชีววิทยาทางการแพทยของประเทศไทย หากมีขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาปรับปรุงสามารถสงมาที่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

Page 21: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 3

บทที่ 1 หลักความปลอดภัยชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (Laboratory Biosafety)

หองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยทํางานกับสิ่งสงตรวจจากทั้งมนุษยและสัตว และ/หรือสารชีวภาพอันตราย ดังนั้นบุคลากรในหองปฏิบัติการจําเปนตองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (laboratory biosafety) ซึ่งหมายถึง ระบบความปลอดภัยเพ่ือปองกันผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการและผูเกี่ยวของจากการติดเชื้อหรือการสัมผัสกับสารชีวภาพอันตราย และปองกันไมใหสารชีวภาพอันตรายแพรกระจายสูสิ่งแวดลอมนอกหองปฏิบัติการโดยไมไดตั้งใจ

สารชีวภาพอันตราย (biological hazard หรือ biohazard) หมายถึง สารที่มีตนกําเนิดจากสิ่งมีชีวิตและเกิดโทษกับมนุษยและ/หรือสัตว ไดแก จุลชีพกอโรค เชน ไวรัส แบคทีเรีย รา รวมทั้งสารพิษและสารกอภูมิแพที่เปนผลผลิตหรือสรางขึ้นจากจุลชีพ พืชหรือสัตว เชน สารพิษจากปลาปกเปา รวมทั้งขยะติดเชื้อ

1.1 การจําแนกจุลชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยง (Risk group) การจําแนกจุลชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยงมีความจําเปน เพ่ือใชในการจัดระดับความปลอดภัยของหองปฏิบัติการใหเหมาะสมกับการทํางานกับจุลชีพชนิดนั้น จุลชีพกอโรคชนิดเดียวกันอาจจัดระดับความเสี่ยงแตกตางกันในแตละประเทศ ทั้งนี้ข้ึนกับหลักเกณฑ ดังตอไปนี้

1.1.1 คุณลักษณะของตัวเชื้อ เชน ปริมาณของเชื้อที่กอใหเกิดโรค (dose of infection) ชอง ทางการติดเชื้อ (mode of transmission) ระยะฟกตัว (incubation period) ความสามารถในการอยูรอด (survival outside host) ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่สามารถติดเชื้อ (host range) ความรุนแรงของโรค (severity)

1.1.2 วิธีการปองกันและรักษา 1.1.3 ความชุกชุมของโรคในพื้นที่ (prevalence) เชน จุลชีพกอโรคที่พบประจําถิ่น

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง รายการเชื้อโรคที่ประสงคควบคุมตามมาตรา 18 พ.ศ. 2560 (ราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนพิเศษ 74 ง 10 มีนาคม 2560) ไดแบงเชื้อโรคออกเปน 4 กลุม คือ กลุมเสี่ยงนอยหรืออันตรายนอย กลุมเสี่ยงปานกลางหรืออันตรายปานกลาง กลุมเสี่ยงสูงหรืออันตรายสูง และกลุมเสี่ยงสูงมากหรืออันตรายสูงมาก นอกจากนี้คูมือความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (laboratory biosafety manual) ขององคการอนามัยโลก ไดแบงจุลชีพกอโรคออกเปน 4 กลุมเสี่ยงเชนเดียวกัน ดังแสดงในตารางที่ 1.1

Page 22: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

4 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตารางท่ี 1.1 การจําแนกจุลชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยง (Risk group)

กลุมเสี่ยงท่ี 1 (No or low individual and community risk) จุลชีพที่ไมกอโรคในมนุษยและสัตว กลุมเสี่ยงท่ี 2 (Moderate individual risk, low community risk) จุลชีพที่กอโรคในมนุษยหรือสัตว แตไมเปนอันตรายรายแรงตอบุคลากรในหองปฏิบัติการ ชุมชนปศุสัตว หรือสิ่งแวดลอม การติดเชื้อในหองปฏิบัติการอาจทําใหเกิดการติดเชื้อรุนแรง แตมีวิธีรักษาและการปองกันโรคที่มีประสิทธิภาพ และความเสี่ยงในการแพรกระจายของเชื้อโรคอยูในวงจํากัด กลุมเสี่ยงท่ี 3 (High individual risk, low community risk) จุลชีพที่กอโรครุนแรงในมนุษยหรือสัตว แตเชื้อไมติดตอจากคนสูคนโดยตรง มีวิธีรักษาและการปองกันโรคที่มีประสิทธิภาพ

กลุมเสี่ยงท่ี 4 (High individual risk, high community risk) จุลชีพที่กอโรครุนแรงในมนุษยหรือสัตว และเชื้อสามารถแพรกระจายไดงายจากคนสูคน ไดทั้งทางตรงและทางออม ยังไมมีวิธีรักษาหรือการปองกันโรคที่มีประสิทธิภาพ

1.2 หลักความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (Laboratory biosafety) หลักความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ คือ ผูปฏิบัติงานมีความปลอดภัยในการทํางานกับสารชีวภาพอันตราย โดยการควบคุมกักกันสารชีวภาพอันตราย ( containment) ไมใหแพรกระจายสูผูปฏิบัติงานและหลุดรอดออกสูสิ่งแวดลอมนอกหองปฏิบัติการ การควบคุมกักกันสารชีวภาพอันตราย (containment) ทําไดโดยการจัดการควบคุม 4 ดานใหเหมาะสม ดังนี้

1.2.1 การควบคุมดานวิศวกรรม (Engineering control) ไดแก การจัดโครงสรางทางวิศวกรรมและกายภาพของหองปฏิบัติการ ใหเหมาะสมกับระดับความรุนแรงของจุลชีพกอโรค ซึ่งถือวาเปนปราการดานแรก (primary barrier) ในการปองกันการติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เชน การแยกหองปฏิบัติการตามระดับความเสี่ยงของจุลชีพกอโรค ระบบควบคุมการเขาออกหองปฏิบัติการ ระบบไหลเวียนอากาศ ระบบน้ําประปา ไฟฟา รวมถึงการใชเครื่องมือและอุปกรณความปลอดภัย เชน ตูชีวนิรภัย เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง เปนตน

1.2.2 การควบคุมดานการบริหาร (Administrative control) ไดแก การบริหารจัดการในเรื่องนโยบาย การกําหนดแผนการดําเนินการ การจัดหาจัดเตรียม การดําเนินการ เพ่ือสนับสนุนใหเกิดความปลอดภัยและความม่ันคงทางชีวาภาพ

1.2.3 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Work place practices หรือ Standard operating

procedure) ไดแก การจัดทําวิธีการปฏิบัติงานเปนลําดับ ขั้นตอน เพ่ือใหผูปฏิบัติงานและผูที่มีสวนเกี่ยวของถือปฏิบัติ และไดผลลัพธเปนมาตรฐานเดียวกัน ไดผลนาเชื่อถือ (reliably) และมีความสม่ําเสมอ (consistency) เชน ขั้นตอนการใสและถอดอุปกรณปองกันเฉพาะบุคคล ขั้นตอนการปฏิบัติในการเขา

Page 23: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 5

และออกหองปฏิบัติการ วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน เปนตน โดยวิธีปฏิบัติมาตรฐานที่เขียนตองเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน คํานึงถึงความปลอดภัยและลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อเมื่อปฏิบัติงาน

1.2.4 อุปกรณปองกันสวนบุคคล (Personal protective equipment; PPE) การเลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสมจะชวยปองกันผูปฏิบัติงานจากการติดเชื้อ การสัมผัสจุลชีพหรือสารชีวภาพอันตราย โดยตองคํานึงถึง ชนิดวัสดุของอุปกรณปองกัน ชองทางการสัมผัสหรือการเขาสูรางกายของจุลชีพ ระยะเวลาและความถี่ในการปฏิบัติงาน เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยกับผูสวมใส และตองมีขนาดเหมาะสมกับรูปรางของผูสวมใส เพ่ือความสะดวกสบายในการสวมใส และไมขัดขวางการปฏิบัติงาน

การจัดการควบคุมทั้ง 4 ดานดังกลาว นําไปสูการจัดระดับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการออกเปน 4 ระดับ ดังนี้

1. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 (Biosafety level 1, BSL1) 2. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 (Biosafety level 2, BSL2) 3. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 (Biosafety level 3, BSL3) 4. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (Biosafety level 4, BSL4)

รายละเอียดหองปฏิบัติการชีวนิรภัยแตละระดับ โปรดดูรายละเอียดในบทที่ 4 ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย และวิธีการปฏิบัติงาน

Page 24: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

6 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 2 หลักความม่ันคงทางชวีภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (Laboratory Biosecurity)

บุคลากรในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยที่ทํางานกับสิ่งสงตรวจจากผูปวยและ/หรือสารชีวภาพอันตราย นอกจากตองปฏิบัติงานตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (laboratory biosafety) เพ่ือปองกันผูปฏิบัติงานและสิ่งแวดลอมจากการปนเปอน หรือสัมผัสสารชีวภาพอันตราย ยังตองปฏิบัติงานตามหลักความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ ( laboratory

biosecurity) ควบคูไปดวย เพ่ือปองกันการขโมย หรือลักลอบนําสารชีวภาพอันตรายออกนอกหองปฏิบัติการและนําไปใชผิดวัตถุประสงคทําใหเกิดอันตรายตอประชาชนหรือสังคมภายนอก เชน การลักลอบนําไปทําอาวุธชีวภาพ เปนตน ความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ (laboratory biosecurity) หมายถึง ระบบการปองกันและควบคุมกํากับสารชีวภาพอันตรายเพ่ือปองกันการเจตนาหรือจงใจลักลอบนําสารชีวภาพอันตรายออกนอกหองปฏิบัติการ เพ่ือนําไปใชผิดวัตถุประสงคกอใหเกิดอันตรายตอประชาชนและสังคม หลักการความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ คือ การจัดระบบการปองกัน การควบคุมกํากับ และจัดทําบัญชีหรือมอบหมายผูรับผิดชอบสารชีวภาพอันตรายและการเขาถึงขอมูลสําคัญของสารชีวภาพอันตราย

หัวหนาหองปฏิบัติการตองจําแนกสารชีวภาพที่มีอยูในครอบครองหรือใชงานออกเปนกลุมเสี่ยง (risk group) 4 ระดับ ตามนิยามกลุมเสี่ยงขององคการอนามัยโลก (รายละเอียดในบทที่ 1 หลักความปลอดภัยชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการ) เพ่ือจัดหองปฏิบัติการหรือการจัดเก็บสารชีวภาพ ใหมีความปลอดภัยตามนิยามหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1-4 เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน นอกจากนีต้องพิจารณาจําแนกสารชีวภาพที่ครอบครองตามระดับความมั่นคงทางชีวภาพ ซึ่งแบงออกได 5 ระดับ คือ

1. จุลชีพไมกอโรค 2. จุลชีพกอโรคและสารพิษที่มีความเสี่ยงต่ํา หมายถึง จุลชีพกอโรคและสารพิษที่ทําใหคนหรือ

สัตวเกิดโรคและเสียชีวิตได แตอยูในวงจํากัด มีผลตอเศรษฐกิจคอนขางต่ํา 3. จุลชีพกอโรคและสารพิษที่มีความเสี่ยงปานกลาง หมายถึง จุลชีพกอโรคและสารพิษที่ทําใหคน

หรือสัตวเกิดโรคและเสียชีวิต มีผลกระทบตอประชาชน และเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจตั้งแตระดับนอยจนถึงระดับปานกลาง

4. จุลชีพกอโรคและสารพิษที่มีความเสี่ยงสูง หมายถึง จุลชีพกอโรคและสารพิษที่ทําใหคนหรือสัตวเกิดโรคและเสียชีวิต มีผลกระทบตอประชาชน และเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจตั้งแตระดับปานกลางจนถึงระดับสูง กลุมนี้มักถูกนําไปทําเปนอาวุธชีวภาพ

Page 25: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 7

5. จุลชีพกอโรคและสารพิษที่มีความเสี่ยงสูงสุด จุลชีพกอโรคและสารพิษกลุมนี้ถูกจัดเปนกลุมพิเศษ เพราะไมมีในธรรมชาติ แตเปนจุลชีพที่ผานการตัดแตงทางพันธุกรรม และมีแนวโนมความเสี่ยงสูงในการนําไปใชเปนอาวุธชีวภาพ

หัวหนาหองปฏิบัติการตองจัดใหมีระบบบริหารจัดการความมั่นคงดานชีวภาพที่เหมาะสมกับสารชีวภาพที่ครอบครอง โดยบริหารจัดการองคประกอบ ดังนี้

- การควบคุมดานวิศวกรรม

- การจัดทําบัญชีและมอบหมายผูรับผิดชอบ

- การบริหารงานบุคคล

- การขนสงสารชีวภาพ

- การรักษาความปลอดภัยของขอมูล

- แผนปฏิบัติการฉุกเฉิน

2.1 การควบคุมดานวิศวกรรม การควบคุมดานวิศวกรรมสําหรับการปฏิบัติงาน หรือการเก็บรักษาสารชีวภาพตามระดับความเสี่ยงดานความมั่นคงทางชีวภาพแบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้

2.1.1 พ้ืนที่ปกปองทรัพยสิน ไดแก ตัวอาคารที่มีประตูเปดปด มีการควบคุมการเขาออกของบุคคลและยานพาหนะ เปนพ้ืนที่ใชปฏิบัติงานหรือเก็บสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงต่ํา

2.1.2 พ้ืนที่ควบคุม ไดแก หองปฏิบัติการหรือหองที่จัดไวจําเพาะมีประตูปดมิดชิด ตั้งอยูภายในตัวอาคาร (พ้ืนที่ปกปองทรัพยสิน) พ้ืนที่นี้ใชจัดเก็บสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงปานกลาง และ/หรือเอกสารสําคัญ มีการควบคุมการเขาออก อนุญาตใหเขาออกไดเฉพาะเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ มีระบบตรวจสอบหรือบันทึกการเขาออกของบุคคล นอกจากนี้ตองมีการกําหนดเวลาทําการ เมื่อหมดเวลาทําการตอง ปดลอคประตูและหนาตาง เชน หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 หรือ 3 เปนตน

2.1.3 พ้ืนที่หวงหาม ไดแก บริเวณหวงหามที่อยูภายในพ้ืนที่ควบคุม พ้ืนที่นี้ตองมีระบบควบคุมการเขาออก มีระบบปองกันและตรวจจับการบุกรุก เพ่ือใหแนใจวาเฉพาะเจาหนาที่ผูมีอํานาจหนาที่เทานั้นที่เขาถึงได บริเวณนี้เหมาะสําหรับการปฏิบัติงาน หรือเก็บรักษาสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงสูง และความเสี่ยงสูงสุด เชน หองหรือตูเก็บสารชีวภาพหรือตูแชแข็งที่มีกุญแจล็อคในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 เปนตน

เจาหนาที่หรือผูปฏิบัติงานทุกคนตองทราบและปฏิบัติตามระเบียบการรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของหนวยงาน ไดแก การควบคุมการเขาออก การตรวจสอบบุคคลภายนอก การตอนรับผูมาเยือน เชน ญาติ ผูดูงาน ผูฝกงาน นักศึกษาฝกงาน ในสถานที่จัดไวใหหรือในพ้ืนที่ที่ได รับอนุญาตตามวันและเวลาที่กําหนดเทานั้น เจาหนาที่และผูมาเยือนตองติดปายแสดงตน หากไมมีบัตรจะไมไดรับอนุญาตใหเขาพ้ืนที่ การรายงานกรณีพบความผิดปกติหรือบุคคลภายนอก

Page 26: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

8 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

2.2 การจัดทําบัญชีและมอบหมายผูรับผิดชอบ 2.2.1 หัวหนาหองปฏิบัติการตองจัดใหมีพ้ืนที่ปฏิบัติงานหรือเก็บสารชีวภาพใหเหมาะสมกับ

ระดับความเสี่ยงของสารชีวภาพ มีวิธีการควบคุมการเขาถึงหรือใชสารชีวภาพอยางเหมาะสม สารชีวภาพตองมีการติดฉลาก มีการจัดทําบัญชีรายชื่อแยกเปนรายการตามชนิด ระบุจํานวน สารชีวภาพที่ตองควบคุมและตองจัดทําบัญชี ไดแก จุลชีพกอโรคในทุกรูปแบบ สารพิษ ตัวอยางจากผูปวยที่พิสูจนแลววามีจุลชีพกอโรคหรือสารพิษ สารพันธุกรรมที่มียีนเกี่ยวกับจุลชีพกอโรค รวมถึงน้ํายาหรือสารมาตรฐานที่มีสารชีวภาพดวย

2.2.2 หัวหนาหองปฏิบัติการตองจัดใหมีการจัดทําบัญชีการครอบครอง การนําเขา การใช การเก็บรักษา และการสงออกสารชีวภาพ ตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว และมอบหมายผูรับผิดชอบในการครอบครอง การนําเขา การใช การเก็บรักษา และการสงออกสารชีวภาพ กรณีที่มีการเก็บรักษาเชื้อบริสุทธิ์หรือเชื้อที่แยกไดจากตัวอยางผูปวย เพ่ือนําไปใชตอ หัวหนาหองปฏิบั ติการตองดําเนินการใหมีการจัดทําบัญชีการครอบครองเชื้อตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว

การทําบัญชีสารชีวภาพควรมีขอมูลสําคัญอยางนอย ดังนี้ x แหลงที่มา วันเดือนปที่ไดรับ ปริมาณที่ไดรับ

x เอกลักษณของสารชีวภาพ เชน ชนิดของสาร (ของแข็ง ของเหลว หรืออ่ืนๆ) ประวัติสายพันธุ เปนตน

x ระบุระดับความเสี่ยงของสารชีวภาพ เชน กลุมเสี่ยงของจุลชีพ (risk group 1-4) และระดับความเสี่ยงดานความมั่นคงทางชีวภาพ (ความเสี่ยงต่ํา ความเสี่ยงปานกลาง หรือความเสี่ยงสูง)

x การเก็บรักษา ชนิดจํานวนของภาชนะบรรจุ และสถานที่หรือตําแหนงทีเ่ก็บรักษา x ผูรับผิดชอบในการใช การเก็บรักษา การจัดทําบัญชี x บันทึกการใชงาน

x การเคลื่อนยายหรือการแจกจายสารชีวภาพ

x การทําลายขอมูลที่บันทึกในบัญชีตองถูกตอง มีการทําลายเปนระยะ และขอมูลตองเปนปจจุบัน

2.2.3 หัวหนาหองปฏิบัติการมอบหมายหนาที่ในการครอบครอง การนําเขา การใช การเก็บรักษา การสงออกสารชีวภาพ รวมถึงการเขาถึงและการจัดทําบัญชีใหกับเจาหนาที่ที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ระบุไวตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว และใหมีความเหมาะสมกับสารชีวภาพตามระดับความเสี่ยง การบันทึกการทดลองในหองปฏิบัติการ เชน ชนิดการทดลอง ผูทดลอง วันและเวลาที่ทําการทดลอง ใหบันทึกในแฟมหรือสมุดบันทึก และถือเปนเอกสารควบคุม บันทึกที่เกี่ยวกับสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงปานกลางขึ้นไปหามนําออกนอกพ้ืนที่ที่กําหนดไว

Page 27: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 9

2.2.4 หัวหนาหองปฏิบัติการตองจัดสงสําเนาบัญชีการครอบครอง การนําเขา การใช การเก็บรักษา และการสงออกสารชีวภาพ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว

2.2.5 หัวหนาหองปฏิบัติการตองสุมตรวจสอบสารชีวภาพวามีอยูจริง ทั้งชนิดและจํานวนตองถูกตองตรงกับขอมูลในบัญชีการครอบครอง การนําเขา การใช การเก็บรักษา และการสงออกสารชีวภาพอยางนอยปละ 1 ครั้ง และบันทึกการตรวจสอบไวเปนหลักฐาน หากพบความผิดปกติตองรีบรายงานผูอํานวยการสถาบัน/โรงพยาบาล/หนวยงาน เพ่ือสอบสวนหาสาเหตุและดําเนินการแกไขโดยดวน

2.2.6 หัวหนาหองปฏิบัติการตองกําหนดวิธีการทําลายหรือการทําใหสารชีวภาพเสื่อมฤทธิ์ มีการบันทึกวันและวิธีการทําลาย โดยเก็บบันทึกไวอยางนอย 3 ป ทั้งนี้ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว

2.3 การบริหารงานบุคคล 2.3.1 หัวหนาหองปฏิบัติการตองมอบหมายหนาที่ในการครอบครอง การนําเขา การใช การ

เก็บรักษา และการสงออกสารชีวภาพ รวมถึงการเขาถึงและการจัดทําบัญชีใหกับเจาหนาที่ที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ระบุไวในกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว ตองมีหลักเกณฑการคัดเลือกบุคลากร เชน มีการสอบประวัติหรือทดสอบวุฒิภาวะทางอารมณ เจาหนาที่ที่ทํางานกับสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงสูงตองผานการตรวจคัดกรองประวัติอยางละเอียด และมีการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมกับสํานักงานตํารวจแหงชาติ

2.3.2 หัวหนาหองปฏิบัติการตองตรวจสอบการทํางานของเจาหนาที่ทุกระดับ หากพบวามีความบกพรอง หรือพบวาเจาหนาที่มีปญหาครอบครัวหรือปญหาสภาพจิตใจ ควรแกไขหรือเปลี่ยนใหไปปฏิบัติหนาทีอ่ื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งเจาหนาที่ทํางานกับสารชีวภาพความเสี่ยงสูง

2.3.3 หัวหนาหองปฏิบัติการตองใหการอบรมหรือจัดใหมีการอบรมแกเจาหนาที่ทุกระดับ ในเรื่องความปลอดภัยในการทํางานกับสารชีวภาพตามความเหมาะสมกับหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย สําหรับเจาหนาที่ใหมตองไดรับการปฐมนิเทศและฝกอบรมกอนปฏิบัติงานจริง มีการประเมินความรูความสามารถอยางนอยปละ 1 ครั้ง และควบคุมกํากับใหเจาหนาที่ปฏิบัติตามระเบียบเรื่องความปลอดภัยของหองปฏิบัติการอยางเครงครัด

2.3.4 หัวหนาหองปฏิบัติการตองสอดสองไมใหมีบุคคลภายนอกเขามาในหองปฏิบัติการ การตอนรับญาติหรือผูมาเยือน ใหกระทําในสถานที่ท่ีสถาบันจัดไวใหเทานั้น

2.4 การขนสงสารชีวภาพ การนําเขาหรือสงออกสารชีวภาพตองปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว สําหรับการขนสงหรือเคลื่อนยายสารชีวภาพระหวางประเทศใหปฏิบัติตามขอกําหนดหรือกฎระเบียบของเมือง รัฐ หรือประเทศ และตามขอกําหนดของ International Air Transport Association (IATA)

Page 28: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

10 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

2.5 การรักษาความปลอดภัยของขอมูล บัญชีการครอบครอง การนําเขา การใช การเก็บรักษา การสงออกสารชีวภาพ และบันทึกการ

ทดลองในหองปฏิบัติการ ถือเปนเอกสารควบคุม หองปฏิบัติการตองรักษาความมั่นคงของเอกสาร และปฏิบัติตามระเบียบหรือวิธีปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงของเอกสารของหนวยงาน

เอกสารหรือขอมูลสารชีวภาพที่มีระดับความเสี่ยงตั้งแตปานกลางขึ้นไป ถือเปนขอมูลลับ และตองเก็บในพ้ืนที่ควบคุมหรือพ้ืนที่หวงหาม การเขาถึงเอกสารขอมูลไดเฉพาะผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้น หัวหนาหองปฏิบัติการตองมีการตรวจสอบวาไมมีการลักลอบนําเอกสารออกนอกพ้ืนที่ที่กําหนด การเปดเผยหรือเผยแพรเอกสารขอมูลตองไดรับการอนุมัติจากผูอํานวยการสถาบัน/โรงพยาบาล/หนวยงาน

การทําลายเอกสารหรือขอมูลสารชีวภาพมีระดับความเสี่ยงตั้งแตปานกลางขึ้นไป จะตองได รับอนุมัติจากผูอํานวยการสถาบัน/โรงพยาบาล/หนวยงาน มีการบันทึกการทําลายเอกสารเก็บไวเปนหลักฐาน การทําลายเอกสารโดยใชเครื่องตัดยอยกระดาษเปนชิ้นเล็กชิ้นนอย หรือโดยการเผา หากขอมูลเก็บในแผนซีดีหรืออ่ืนๆใหทุบทําลายใหสิ้นสภาพ และการทําลายเอกสารขอมูลกระทําโดยผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้น หัวหนาหองปฏิบัติการตองมีการตรวจสอบใหมั่นใจวามีการทําลายเอกสารจริง และเอกสารไมถูกลักลอบนําออกจากหองปฏิบัติการ

2.6 แผนปฏิบัติการฉุกเฉิน หัวหนาหองปฏิบัติการจะตองประเมินความเสี่ยงทางชีวภาพ (biorisk assessment) การ

ครอบครอง การใช การเก็บรักษา และการสงออกสารชีวภาพ จัดทําแผนลดความเสี่ยงหรือแผนพัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยประจําป และดําเนินการตามแผน แผนปฏิบัติการประจําปตองประกอบดวย อยางนอย ดังนี้

2.6.1 แผนการฝกอบรมบุคลากร บุคลากรทุกคนตองไดรับการอบรมหลักสูตรความมั่นคงและปลอดภัยทางชีวภาพ ใหเหมาะสมกับบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานกับสารชีวภาพระดับความเสี่ยงตางๆ มีการประเมินความรูกอนและหลังการอบรม

2.6.2 แผนทําความสะอาด การบํารุงรักษา และการซอมแซม วัสดุอุปกรณที่เกี่ยวกับระบบความปลอดภัย พ้ืนที่ควบคุมและพ้ืนที่หวงหามตองมีการฝกอบรมตั้งแตกอนเริ่มปฏิบัติหนาที่ และตองมีการอบรมฟนฟปูระจําป

2.6.3 แผนการพัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยหองปฏิบัติการอยางตอเนื่อง 2.6.4 แผนปฏิบัติการในสถานการณฉุกเฉิน เชน ไฟฟาดับ ภัยพิบัติ การโจรกรรม และมีวิธี

ปฏิบัติในสถานการณตางๆ ไดแก การระงับเหตุ การรายงาน และการเก็บรักษาพยานทางคดี เปนตน และตองมีการฝกซอมแผน

Page 29: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 11

บทที่ 3 สัญลักษณและปายเตือนทีเ่กี่ยวของกับความปลอดภัย

(Safety Signs and Labels)

ในบทนี้จะกลาวเฉพาะสัญลักษณและปายเตือนดานชีวภาพและทั่วไปเทานั้น

3.1 สัญลักษณเครื่องหมายชีวภัยสากล การปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย เกี่ยวของกับสารชีวภาพซึ่งอาจเปน

อันตรายตอผูปฏิบัติงาน ดังนั้นหองปฏิบัติการตางตองมีปายสัญลักษณชีวภัยสากล (รูปที่ 3.1) เพ่ือแสดงระดับของการปองกันและควบคุมภายในหอง และแสดงถึงวิธีการดําเนินงานตามระดับของการปองกันและควบคุมของหองปฏิบัติการ โดยหองปฏิบัติการที่มีการปฏิบัติงานกับจุลชีพในกลุมเสี่ยงที่ 2 ขึ้นไปตองติดสัญลักษณชีวภัยสากล ไวที่ตําแหนง ดังนี้

- ประตูทางเขาหองปฏิบัติการ ดูตัวอยางปายติดประตูหองปฏิบัติการจากรูปที่ 3.2

- ตูเย็น/ตูแชแข็ง ที่เกี่ยวของกับจุลชีพ

- ภาชนะหรือเครื่องมือที่สัมผัสกับสารชีวภาพ

รูปที่ 3.1 สัญลักษณชีวภัยสากล ที่มา: http://www.who.int/ihr/training/laboratory_quality/5_c_annex_A-D_sample_manage.pdf?ua=1

ปายสัญลักษณชีวภัยสากล ตองมีขนาดไมนอยกวา 10 ซม. คูณ 10 ซม. และไมใหญกวา 40 ซม. คูณ 40 ซม. เวนแตระบุไวเปนอยางอ่ืนความกวางของสัญลักษณควรมีความกวางประมาณ 1 ใน 4 ของพ้ืนผิวที่ปรากฏ สัญลักษณและพ้ืนหลังตองเปนสีที่แตกตางกันอยางชัดเจน ตัวอยางปายสัญลักษณและขอความดังแสดงในรูปที่ 3.2

Page 30: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

12 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

หนวยงาน ....................................................................................................................

เขาไดเฉพาะผูไดรับอนุญาตเทานั้น

ADMITTANCE TO AUTHORIZED PERSONNEL ONLY

ระดับหองปฏิบัติการชีวนิรภัย/ Biosafety level:

ระบุชื่อจุลชีพอันตราย/ Hazard identity :

ผูรับผิดชอบ/ Responsible investigator:

หมายเลขโทรศัพทติดตอกรณีฉุกเฉิน/ In case of emergency call:

หองปฏิบัติการ/ Daytime phone: ที่พักอาศัย/ Home phone:

รายชื่อผูปฏิบัติงานที่ไดรับอนุญาตใหเขาหองปฏิบัติการ / Authorization for entrance must be obtained from the responsible investigator named above.

1. 2.

3. 4.

หากตองการระบุชื่อใหระบุชื่อทางวิทยาศาสตรของจุลชีพอันตราย ในกรณีมีหลายชนิดอาจระบุชนิดที่มีความเส่ียงสูงสุด

รูปที่ 3.2 ตัวอยางสัญลักษณชีวภัยสากลสําหรับปายติดหนาหองปฏิบัติการ

Page 31: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 13

3.2 ปายเตือนทั่วไป

จัดใหมีปายเตือนที่จําเปนและปายบอกทางออกฉุกเฉินภายในหองปฏิบัติการ ซึ่งเปนปายที่ใชแสดงทางออกฉุกเฉินหรือทางหนีภัย มีไฟสวางในตัว ซึ่งสวางไมนอยกวา 8 แรงเทียน/ตารางเมตร (cd/m2) ตลอดเวลาที่มีคนใชอาคาร โดยปายที่ใชตองเปนไปตามมาตรฐาน เชน สํานักมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ตัวอยางดังนี้

ลักษณะปายเตือน ความหมาย

ปายปฐมพยาบาล

ปายโทรศัพทฉุกเฉิน

ปายที่ลางตาฉุกเฉิน

ปายฝกบัวอาบน้ําฉุกเฉิน

ปายใหตรงไป

ปายทางออก

ปายทางหนีไฟ

ปายตําแหนงถังดับเพลิง

ปายสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม

ปายเตือนภัยจากรังสี สัญลักษณเตือนภัยจากรังสี ที่ใชเปนมาตรฐาน มีรูปเปนใบพัด (Cross-hatched) 3 แฉก มีสีมวงออน มวงเขม หรือดํา (magenta, purple, black) บนพ้ืนสีเหลือง โดยมีขอกําหนด ดังนี้ มีพ้ืนที่สวนที่เปนใบพัด 3 แฉก และวงกลมตรงกลาง เปนสีมวงออน สีมวงเขม หรือสีดํา มีสีพื้นเปนสีเหลือง

Page 32: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

14 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ลักษณะปายเตือน ความหมาย

ปายระวังพื้นลื่น

ปายหามเก็บอาหาร

ปายลางมือใหสะอาด

ปายระวังของรอน

ปายระวังไฟฟาแรงสูง

ปายหามนําสัตวเลี้ยงเขามาในหองปฏิบัติการ

ปายหามสูบบุหรี่

Page 33: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 15

บทที่ 4 ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของหองปฏิบตัิการ จุลชีววิทยาทางการแพทยและวิธีการปฏิบัติงาน

(Biosafety Level and Practice) การจัดจําแนกจุลชีพออกเปนกลุมเสี่ยง (รายละเอียดในบทที่ 1 หลักความปลอดภัยทางชีวภาพ

สําหรับหองปฏิบัติการ) มีประโยชนในการใชเปนขอมูลการดําเนินการจัดการความเสี่ยงในขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยง (risk assessment) เพ่ือวางแผนในการจัดการลดความเสี่ยง (risk mitigation) จากการปฏิบัติงานกับจุลชีพนั้น นํามาซึ่งความปลอดภัยทางชีวภาพทั้งตอผูปฏิบัติงานและสิ่งแวดลอม รายละเอียดการประเมินความเสี่ยงโปรดดูรายละเอียดในบทที่ 10 การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ

ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของหองปฏิบัติการสรางขึ้นเพ่ือเปนมาตรการในการปองกันหรือลดโอกาสการติดเชื้อของผูปฏิบัติงาน ผูเกี่ยวของ และการแพรกระจายเชื้อสูสิ่งแวดลอม สามารถแบงไดเปน 4 ระดับ ดังนี้

1. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 (Biosafety level 1; BSL1) 2. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 (Biosafety level 2; BSL2) 3. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 (Biosafety level 3; BSL3) 4. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (Biosafety level 4; BSL4)

ในแตละระดับความปลอดภัยที่เ พ่ิมขึ้น เปนการเพ่ิมประสิทธิภาพมากขึ้นในการปองกันผูปฏิบัติงาน และสิ่งแวดลอมจากการสัมผัสจุลชีพจากหองปฏิบัติการ โดยมีการเพ่ิมขึ้นของขอกําหนดเกี่ยวกับระเบียบ/วิธีปฏิบัติงาน เครื่องมือ และลักษณะทางกายภาพของหองปฏิบัติการ

4.1 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 (Biosafety level 1; BSL1) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 เหมาะสําหรับการเรียน การสอน และงานวิจัยพ้ืนฐานเกี่ยวกับจุลชีพที่ไมกอโรค ซึ่งมีความเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน และสิ่งแวดลอมนอยมาก อยางไรก็ตามขอกําหนดและแนวทางระเบียบการปฏิบัติงานสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 มีความสําคัญเนื่องจากเปนพ้ืนฐานที่จําเปนสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับที่สูงขึ้นตอไป รายละเอียดที่สําคัญ ดงันี้

ก. มาตรฐานการปฏิบัติงานทางจุลชีววิทยา (Standard microbiological practices) 1. การปฏิบัติงานยึดหลักใชเทคนิคทางจุลชีววิทยาที่ดีหรือ good microbiological

technique (GMT) และเทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic techniques) ขึ้นกับความจําเปนของงาน

2. ไมใชปากดูดสารละลายโดยตรงจากไปเปต

3. หามดื่ม รับประทานอาหาร สูบบุหรี่ ใสคอนแทคเลนส หรือแตงหนาในหองปฏิบัติการ

4. ไมเลนหรือหยอกลอกันขณะปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ

Page 34: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

16 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

5. ไมเก็บอาหารไวในหองปฏิบัติการ

6. ลางมือหลังสัมผัสสารเคมี สิ่งปนเปอนจุลชีพ หรือกอนออกจากหองปฏิบัติการ

7. ผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสม เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ เชน เสื้อคลุมหองปฏิบัติการ (laboratory coat) หรือ เสื้อกาวน (gown) แวนตาปองกัน (safety glasses)

8. ไมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่ใชในหองปฏิบัติการออกนอกหองปฏิบัติการ

9. ตองทําความสะอาดพ้ีนที่ปฏิบัติงาน เพ่ือลดการปนเปอน หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน หลังจากเกิดการหกรั่วไหลของสารเคมีหรือสิ่งปนเปอนจุลชีพ หรืออยางนอยวันละครั้ง ดวยวิธีที่เหมาะสม

10. หัวหนาหองปฏิบัติการตองแนใจวาผูปฏิบัติงานไดรับการฝกอบรมที่เหมาะสม

ข. ขอปฏิบัติเฉพาะ/ ที่จําเปน (Special practices) ไมมี

ค. อุปกรณเครื่องมือเพื่อความปลอดภัย (Safety equipment) ไมมี

ง. การออกแบบและสิ่งอํานวยความสะดวกในหองปฏิบัติการ (Laboratory facilities) 1. หองปฏิบัติการไมจําเปนตองแยกจากพ้ืนที่สาธารณะ

2. หองปฏิบัติการตองถูกออกแบบใหใชวัสดุที่งายตอการทําความสะอาด

3. พ้ืนตองไมลื่น

4. ตองมีประตูซึ่งควรทําจากวัสดุที่มีคุณสมบัติทนไฟ ควรมีชองมองใหสามารถเห็นภายในหองปฏิบัติการได

5. ตองมีพ้ืนที่เพียงพอ เพ่ือความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การทําความสะอาด และการบํารุงรักษา

6. ควรมีแสงสวางเพียงพอตอการปฏิบัติงานและหลีกเลี่ยงการเกิดแสงสะทอนหรือแสงที่จาเกินไป

7. โตะปฏิบัติการตองมีพ้ืนผิวที่สามารถปองกันน้ําซึมผานทนน้ํายาฆาเชื้อกรดดางสารทําละลายอินทรียและความรอนระดับปานกลางได

8. เฟอรนิเจอรในหองปฏิบัติการตองมีความมั่นคง มีพ้ืนที่วางระหวาง ขางใตโตะตูและอุปกรณตางๆ เพ่ือใหสามารถทําความสะอาดไดทั่วถึง

9. ตองมีพ้ืนที่เก็บของเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงาน ไมควรเก็บของบนโตะปฏิบัติการหรือบนทางเดิน ในกรณีที่ตองเก็บของเปนเวลานานและจํานวนมากควรมีหองเก็บของเฉพาะแยกออกจากหองปฏิบัติการ

10. ควรมีพื้นที่สําหรับเก็บสารตัวทําละลาย สารกัมมันตรังสี กาซเหลว และกาซอัดความดัน

Page 35: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 17

11. ควรมี พ้ืนที่ สํ าหรับจัดเก็บ เสื้อผ าและของใชส วนตัวของบุคลากรไวภายนอกหองปฏิบัติการ

รูปที่ 4.1 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1

ที่มา: http://www.biocontencion.com/bioseguridad.php

12. ตองจัดหาพ้ืนที่สําหรับรับประทานอาหาร ดื่มน้ํา หรือบริเวณพักผอนสําหรับบุคลากรไวภายนอกหองปฏิบัติงาน

13. ควรมีอางลางมือ

14. ระบบความปลอดภัยตองครอบคลุมถึงอันตรายจากอัคคีภัยไฟฟา และควรมีฝกบัวอาบน้ํา อางลางตาหรืออุปกรณสําหรับลางตาสําหรับกรณีฉุกเฉิน

15. ควรมีพ้ืนที่หรือหองปฐมพยาบาลและอุปกรณที่จําเปนที่สามารถใชสําหรับการปฐมพยาบาลเบื้องตนกรณีจําเปนได

16. หากมีหนาตางที่สามารถเปดปดได ตองมีการติดตั้งมุงลวดปองกันแมลง 17. หากมีการใชแกส ตองมีการบํารุงรักษาระบบการติดตั้งที่ดีและสม่ําเสมอ

18. หองปฏิบัติการและหองเลี้ยงสัตวทดลองอาจเปนเปาหมายของบุคคลผูไมหวังดี ดังนั้นจึงตองจัดระบบรักษาความมั่นคงทางดานกายภาพ การปองกันอัคคีภัย เชน การมีประตูที่แข็งแรง และการใชกุญแจเฉพาะ เปนตน

19. ตองติดปายสัญลักษณเตือนอันตราย (hazard sign) ที่เก่ียวของอยางเหมาะสม เชน แสงยูวี สารรังสี หนาประตูทางเขาหองปฏิบัติการเครื่องมือ ถังขยะ เปนตน

Page 36: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

18 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

4.2 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 (Biosafety level 2; BSL2) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับที่ 2 เหมาะสําหรับงานวิจัย การตรวจวินิจฉัยและการตรวจวิเคราะหเบื้องตน ที่เกี่ยวกับจุลชีพกอโรคในมนุษยหรือในสัตว แตไมรุนแรงเปนโรคที่สามารถปองกันและรักษาไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ไวรัสหัด, Staphylococcus aureus, Neisseria gonorrhoeae เปนตน หรือเปนการปฏิบัติงานที่ตองเกี่ยวของกับสิ่งสงตรวจจากผูปวย ดังนั้นหองปฏิบัติการชันสูตรโรคและหองปฏิบัติการที่ใหบริการทางการแพทย การสาธารณสุขทางคลินิก หรือหองปฏิบัติการในโรงพยาบาล จึงจําเปนตองมีระดับมาตรการความปลอดภัยชีวนิรภัยระดับ 2 ขึ้นไป เนื่องจากบุคลากรในหองปฏิบัติการสามารถติดเชื้อจากการสัมผัสกับสิ่งสงตรวจจากผูปวยได ซึ่งอาจเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน ขอกําหนดและแนวทางระเบียบการปฏิบัติงานสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 จึงเปนพ้ืนฐานที่จําเปนยิ่งสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับที่สูงขึ้นตอไป รายละเอียดที่สําคัญ ดังนี้

ก. มาตรฐานการปฏิบัติงานทางจุลชีววิทยา (Standard microbiological practices) ใหใชหลักเกณฑการทํางานเชนเดียวกับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 โดยมีเพ่ิมเติม ดังนี้

1. ขณะอยูภายในหองปฏิบัติการผูปฏิบัติงานตองไมนําวัสดุใดๆเขาปาก เชน กัดปากกา 2. ผูปฏิบัติงานตองไมแตงกายท่ีรุมรามหรือสวมเครื่องประดับที่รุงรัง 3. ผูปฏิบัติงานที่มีผมยาวตองรวบผมหรือใสสวมหมวกคลุมผมใหเรียบรอย

4. ผูปฏิบัติงานตองไมจับ ตา จมูก ฯลฯ หรืออุปกรณที่ ไมเกี่ยวของขณะสวมถุงมือปฏิบัติงาน

5. หามแขวนหรือเก็บเสื้อกาวน หรืออุปกรณปองกันสวนบุคคลอ่ืนๆรวมกับเสื้อผาทั่วไป

6. ผูปฏิบัติงานตองลางมืออยางเหมาะสมทุกครั้ง หลังจากการปฏิบัติงานกับจุลชีพหรือสิ่งปนเปอนจุลชีพ หลังถอดชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล และกอนออกจากหองปฏิบัติการ หากไมมีอางลางมือตองทําการถูมือดวยน้ํายาฆาเชื้อหรือแอลกอฮอลเจล และลางมือทันทีท่ีสามารถทําได

7. ตองทําความสะอาดพ้ืนที่ปฏิบัติงาน เพ่ือลดการปนเปอน หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน หลังจากเกิดการหกรั่วไหลของสารเคมีหรือสิ่งปนเปอนจุลชีพ หรืออยางนอยวันละครั้ง ดวยวิธีที่เหมาะสม

8. ควรจํากัดหรือหลีกเลี่ยงการใชเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาใหนอยที่สุด และไมควรใชเข็มฉีดยาดูดของเหลวแทนการใชไปเปต

9. ตองมีมาตรการปองกัน กรณีตองทํากิจกรรมที่อาจทําใหเกิดละอองสิ่งปนเปอนจุลชีพฟุงกระจาย

ข. ขอปฏิบัติเฉพาะ/ ที่จําเปน (Special practices) ใหใชหลักเกณฑการทํางานเชนเดียวกับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 โดยมีเพ่ิมเติมดังนี้

1. ผูบริหารหารหนวยงานตองวางแผนการจัดการและพัฒนาความปลอดภัยทางชีวภาพของหองปฏิบัติการ

Page 37: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 19

2. หัวหนาหองปฏิบัติการควรเปนผูใหคําแนะนําตอผูบริหารหารหนวยงาน ในการจัดการฝกอบรมทีเ่หมาะสมใหกับบุคลากรทั้งนี้ตองจัดใหมีการฝกอบรมอยางสม่ําเสมอ

3. ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการตองไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานตองอานทําความเขาใจและปฏิบัติตามคูมือความปลอดภัยของหนวยงานโดยเอกสารคูมือดานความปลอดภัยตองมีอยูพรอมใชในหองปฏิบัติการ

4. หัวหนาหองปฏิบัติการตองมั่นใจวาผูปฏิบัติงานทุกคนเขาใจเกี่ยวกับอันตรายและความเสี่ยงที่เก่ียวของ ระเบียบปฏิบัติงานตางๆ และคูมือความปลอดภัยของหนวยงาน

5. ตองรายงานหัวหนาหองปฏิบัติการหากเกิดการหกรั่วไหลของจุลชีพหรือเมื่อสัมผัสกับสิ่งปนเปอนจุลชีพ และตองทําการบันทึกอุบัติเหตุดังกลาวไวทุกครั้ง

6. ตองจํากัดการเขาออกหองปฏิบัติการ โดยเจาหนาที่ที่ไดรับอนุญาตเทานั้นที่สามารถเขาหองปฏิบัติการได

7. ประตูหองปฏิบัติการตองปดอยูเสมอ

8. หามเด็กเขาหองปฏิบัติการ

9. หามนําสัตวหรือพืชที่ไมเก่ียวของเขาหองปฏิบัติการ ยกเวนกรณีที่ตองใชเพ่ือการทดลองหรือเฉพาะกรณีไดรับอนุญาตเทานั้น

10. หองปฏิบัติการตองสะอาด เปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอ ไมเก็บสิ่งของที่ไมไดใชในการปฏิบัติงานไวภายในหองปฏิบัติการ

11. ตองทําการลดการปนเปอนพ้ืนผิวการทํางานดวยน้ํายาฆาเชื้อที่เหมาะสมหลังเสร็จงาน และหลังมีการหกรั่วไหลของสิ่งปนเปอนจุลชีพทุกครั้ง

12. ตองปฏิบัติงานในตูชีวนิรภัย (biological safety cabinet; BSC) สําหรับกรณีที่อาจกอใหเกิดการฟุงกระจายของสิ่งปนเปอนจุลชีพไดงาย จุลชีพมีปริมาณมาก หรือมีความเขมขนสูง

13. ผูปฏิบัติงานทุกคนตองไดรับการประเมินดานสุขภาพ การเฝาระวังดานสุขภาพ การปองกันและการรักษากรณีที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานกับจุลชีพกอโรคในหองปฏิบัติการ โดยตองมีการเก็บรักษาบันทึกประวัติสุขภาพของผูปฏิบัติงานที่เหมาะสมเพ่ือตรวจติดตาม และสํารวจโรคในกลุมผูปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเกิดการเจ็บปวยจากการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ควรทํา เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคนี้ ไดแก

13.1 การใหวัคซีน

13.2 การตรวจคนหาโรคที่อาจเกิดจากการปฏิบัติงาน โดยควรทําเปนระยะอยางสม่ําเสมอ

13.3 การแยกผูที่เสี่ยงตอการติดเชื้อจากการปฏิบัติงานที่เสี่ยง (เชน หญิงตั้งครรภ ผูที่มีภูมิคุมกันบกพรอง)

13.4 การตรวจสุขภาพผูปฏิบัติงานกอนรับเขาปฏิบัติงาน โดยเนนการประเมินการเจ็บปวยที่อาจเกิดจากการทํางาน

Page 38: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

20 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

13.5 การใหความรูกับผูปฏิบัติงานที่เปนสุภาพสตรีที่อยูในวัยตั้งครรภเกี่ยวกับจุลชีพกอโรค ซึ่งอาจทําใหเกิดการแทงบุตร เชน ไวรัสหัดเยอรมัน (Rubella virus)

13.6 การจัดหาอุปกรณตลอดจนมาตรการปองกันอันตรายใหเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ

14. ตองมีการจัดการแยกขยะระหวางขยะปนเปอนจุลชีพหรือขยะติดเชื้อและขยะไมติดเชื้อออกจากกันอยางชัดเจนเหมาะสม

15. ตองมีการจัดการเฉพาะสําหรับวัสดุมีคมที่ปนเปอนจุลชีพและไมปนเปอน เชน เข็มฉีดยามีดผาตัด ใบมีดเศษ แกวแตก วัสดุเหลานี้ตองทิ้งในภาชนะเฉพาะที่เหมาะสม และมีการจัดการอยางเหมาะสม

16. ควรมีการทําลายจุลชีพในขยะติดเชื้อกอนออกจากหองปฏิบัติการ ตามวิธีที่หนวยงานกําหนด ซึ่งสอดคลองกับขอกําหนดระดับประเทศหรือระดับนานาชาติ

17. สิ่งปนเปอนจุลชีพตองไดรับการฆาเชื้อกอนทิ้ง ดวยวิธีทางเคมีหรือทางกายภาพที่เหมาะสม

18. ตองมีการทําลายจุลชีพในวัสดุปนเปอนทุกครั้ง กอนนํากลับมาใชใหม ตามวิธีที่หนวยงานกําหนด หรอืขอกําหนดระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

19. การทําลายจุลชีพหรือวัสดุปนเปอนจุลชีพดวยเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง (autoclave) ซึ่งอยูนอกหองปฏิบัติการแตอยูภายในหนวยงาน ผูปฏิบัติงานตองทําการบรรจุในภาชนะท่ีเหมาะสม มีฝาปดมิดชิด สามารถปองกันการรั่วไหล การแทงทะลุไดในระหวางทําการขนยายไปยังเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง

20. การบรรจุและการขนสงวัสดุปนเปอนจุลชีพจากหองปฏิบัติการตองเปนไปตามระเบียบของหนวยงาน หรือขอกําหนดระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

21. เข็มฉีดยาที่ใชแลวหามนํากลับไปสวมปลอกอีกครั้ง ไมถอดเข็มออกจากกระบอกฉีดยาหรือบิดงอเข็ม และตองทิ้งในภาชนะที่ใชทิ้งเฉพาะ โดยตองทิ้งขยะประมาณสามในสี่ของภาชนะ ไมควรบรรจุจนเต็ม แลวนําไปเผาหรืออาจนึ่งฆาเชื้อกอนเผา และหามนําขยะเหลานี้ไปท้ิงในที่ท้ิงขยะสาธารณะ

22. ผูปฏิบัติงานตองสวมใสชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสมทุกครั้ง ขณะปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ รวมถึงการสวมใสและถอดออกตองปฏิบัติดวยวิธีที่ถูกตอง

23. ตองเปลี่ยนถุงมือทุกครั้ง หลังมีการปนเปอน หรือขาด และท้ิงเปนขยะติดเชื้อ

24. หามใสรองเทาเปดปลายนิ้วเทาในหองปฏิบัติการ

25. หองปฏิบัติการตองมีโปรแกรมหรือวิธีการควบคุมหนูและแมลงรบกวน

ค. อุปกรณเครื่องมือเพื่อความปลอดภัย (Safety equipment) การใชเครื่องมือดานความปลอดภัยจะชวยลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานใน

หองปฏิบัติการได เครื่องมือที่ใชตองเหมาะสมกับการปฏิบัติงานมีคุณลักษณะ ไดแก x ตองเปนเครื่องมือที่ปองกันหรือลดโอกาสการสัมผัสจุลชีพของผูปฏิบัติงาน

Page 39: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 21

x ตองทําจากวัสดุที่สามารถปองกันของเหลวซึมผาน และทนตอการกัดกรอนได x ตองไมมีสวนแหลมคมหรือสวนที่อาจเปนอันตรายขณะมีการเคลื่อนที่ x ตองใชงานงาย สะดวกตอการดูแลรักษา การทําความสะอาดขจัดสิ่งปนเปอน ไดรับการ

รับรองคุณภาพ และหลีกเลี่ยงสวนประกอบที่เปนเครื่องแกวหรือวัสดุที่แตกหักได นอกจากนี้ ตองศึกษาคุณลักษณะดานความปลอดภัยของเครื่องมือแตละชิ้นกอนซื้อและกอนการ

ใชงาน เครื่องมือพ้ืนฐานที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 ตัวอยางเชน 1. เครื่องดูดปลอยของเหลว (pipetting aids) เพ่ือหลีกเลี่ยงการใชปากดูด

2. ตูชีวนิรภัย (biological safety cabinet; BSC) ใชในกรณีเชน

x เมื่อตองทํางานกับสิ่งปนเปอนจุลชีพ เชน การปนเหวี่ยงสิ่งปนเปอนจุลชีพในตูนี้เพ่ือปองกันการฟุงกระจาย

x เมื่อมีความเสี่ยงตอการเกิดการติดเชื้อผานทางเดินหายใจ

x เมื่อขั้นตอนการทดลองมีความเสี่ยงตอการฟุงกระจายของละอองของเหลวปนเปอนจุลชีพ เชน การบด การปนเหวี่ยง การผสม การเขยา การทําใหละเอียดดวยเสียงความถี่ต่ํา (sonic disruption) การเปดภาชนะบรรจุวัสดุติดเชื้อที่มีความดันภายในภาชนะแตกตางจากความดันบรรยากาศปกติ เปนตน

3. หวงเพาะเชื้อแบบใชแลวทิ้ง (plastic disposable transfer loops) ภายในตูชีวนิรภัยเพ่ือปองกันการเกิดละอองเชื้อฟุงกระจายแทนการใชตะเกียงไฟฟา สําหรับเผาหวงเพาะเชื้อ

4. หลอดและขวดฝาเกลียว

5. เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง (autoclave) หรือเครื่องมืออ่ืนที่เหมาะสมสําหรับลดการปนเปอน ไมจําเปนตองอยูภายในหองปฏิบัติการ สามารถอยูภายในหนวยงาน ซึ่งสามารถไปใชงานได

6. Pasteur pipettes แบบพลาสติกใชครั้งเดียวแลวทิ้ง เพ่ือหลีกเลี่ยงการใชไปเปตแกว

7. เครื่องมือและอุปกรณตางๆ เชน เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง ตูชีวนิรภัย ตองไดรับการตรวจสอบการใชงานดวยวิธีที่ถูกตอง เหมาะสมกอนใชงาน และเปนประจําอยางนอยปละครั้ง ตลอดอายุการใชงาน โปรดดูรายละเอียดในบทที่ 8 เครื่องมือที่มีผลตอความปลอดภัยทางชีวภาพ

ง. การออกแบบและสิ่งอํานวยความสะดวกในหองปฏิบัติการ (Laboratory facilities) การออกแบบและสิ่งอํานวยความสะดวกของหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 มีสวนที่เพ่ิมเติมจาก

หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 ดังนี้ 1. ผนังเพดานและพ้ืนหองควรมีมีผิวเรียบงายตอการทําความสะอาด ของเหลวไมสามารถ

ซึมผานไดทนตอสารเคม ีและน้ํายาฆาเชื้อท่ีใชในหองปฏิบัติการ 2. ประตูตองสามารถล็อคได 3. ตองมีอางลางมือ กอกน้ําควรเปนแบบชนิดที่ไมใชมือเปดปด เชน แบบปดเปดดวยศอก

เขา หรือเหยียบ เปนตน และควรอยูใกลบริเวณประตูทางออก

Page 40: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

22 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

4. หากมีการออกแบบกอสรางหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 แหงใหม ตองคํานึงถึงการติดตั้งระบบระบายอากาศ โดยอากาศที่ไหลเขาภายในหองปฏิบัติการไมควรเปนอากาศที่ระบายออกจากหองปฏิบัติการแลววนกลับมาใชใหม อากาศในหองปฏิบัติการตองมีการออกแบบใหการไหลของอากาศมีทิศทางการไหลจากพ้ืนที่สะอาดไปยังพ้ืนที่สกปรก และอากาศจากหองปฏิบัติการตองไมไหลเวียนไปยังพ้ืนที่สาธารณะ หากไมมีระบบดังกลาวตองมีหนาตางที่สามารถเปดปดได เพ่ือชวยในการระบายอากาศ และมีมุงลวดกันแมลง

5. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 ขึ้นไป ตองมีเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง โดยไมจําเปนตองติดตั้งภายในหองปฏิบัติการ แตตองมีระบบการจัดการที่ชวยใหสามารถเขาไปใชงานได และมีวิธีการจัดการที่เหมาะสมสําหรับขั้นตอนการขนยาย

6. หองปฏิบัติการที่มีการติดตั้งตูชีวนิรภัย ตองมีการวางแผนตําแหนงการวางตู และการเชื่อมตอตูกับระบบระบายอากาศของอาคารที่เหมาะสม (กรณีจําเปน ขึ้นกับชนิดของตู) เพ่ือใหตูสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดความปลอดภัยและความสะดวกตอการปฏิบัติงาน

7. ตองมีน้ําคุณภาพดีเพียงพอสําหรับใชงาน โดยแหลงน้ําสําหรับใชในหองปฏิบัติการและแหลงน้ําดื่มตองแยกกันอยางชัดเจน เพ่ือลดโอกาสการปนเปอน และตองติดตั้งระบบปองกันน้ําไหลยอนกลับ เพ่ือปกปองการปนเปอนแหลงน้ําสาธารณะ

8. ตองมีแหลงจายไฟและไฟฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เพ่ือใหบุคลากรสามารถออกจากหองปฏิบัติการไดอยางปลอดภัย และควรมีระบบจายไฟฟาสํารองใหกับเครื่องมือที่จําเปน เชน ตูเพาะเชื้อ ตูชีวนิรภัย ตูแชเยือกแข็ง เปนตน

รูปที่ 4.2 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2

ที่มา: http://www.biocontencion.com/bioseguridad.php

Page 41: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 23

9. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 ขึ้นไป อาจเปนเปาหมายของบุคคลผูไมหวังดี ดังนั้นจึงจําเปนตองจัดใหมีระบบรักษาความมั่นคงทางดานกายภาพ การปองกันอัคคีภัย เชน การมีประตูหนาตางที่แข็งแรง และการใชกุญแจเฉพาะหรือเทคโนโลยีในการปองกันไมใหผูไมเกี่ยวของเขาหองปฏิบัติการ เปนตน

10. ตองติดปายเตือนสัญลักษณชีวภัยสากล (biohazard sign) ชื่อและหมายเลขโทรศัพทของผูรับผิดชอบ (รูปที่ 4.3) ไวที่หนาประตูหองปฏิบัติการ และเครื่องมือที่เกี่ยวของกับจุลชีพ หรือสารชีวภาพอันตรายอ่ืนๆ

รูปที่ 4.3 ตัวอยางปายสัญลักษณชีวภัยสากลสําหรับติดหนาประตูหองปฏิบัติการ ที่มา: WHO. 2004. Laboratory biosafety manual 3rd edition.

4.3 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 (Biosafety level 3; BSL3) ระบบความปลอดภัยของหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับที่ 3 เปนหองปฏิบัติการที่เหมาะสําหรับการปฏิบัติงานตรวจวินิจฉัย งานวิเคราะห งานสอน งานคนควาวิจัย เกี่ยวกับจุลชีพเปนสาเหตุกอโรคที่รุนแรง ซึ่งอาจทําใหเสียชีวิต และมักมีการแพรกระจายโรคทางการหายใจ ผูปฏิบัติงานตองไดรับการฝกอบรมเฉพาะสําหรับการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานตองอยูภายใตการควบคุมดูแลของผูที่มีความชํานาญและมีประสบการณการทํางานกับจุลชีพชนิดนั้น

การปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับจุลชีพทุกขั้นตอนตองปฏิบัติภายในตูชีวนิรภัย (biological safety

cabinet; BSC) หรือเครื่องมือที่ชวยสกัดกั้นการแพรกระจายของเชื้อได และใชชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล (personal protective equipment; PPE) ที่เหมาะสม หองปฏิบัติการตองมีการออกแบบทาง

Page 42: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

24 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

วิศวกรรมเฉพาะ ขอกําหนดและแนวทางระเบียบการปฏิบัติงานสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 รายละเอียดที่สําคัญ ดังนี้

ก. มาตรฐานการปฏิบัติงานทางจุลชีววิทยา (Standard microbiological practices) มาตรฐานการปฏิบัติงานทางจุลชีววิทยาของหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 ใหใชหลักเกณฑการ

ทํางานเชนเดียวกับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 และ 2 แตตองปฏิบัติดวยความระมัดระวังและเขมงวดมากยิ่งข้ึน

ข. ขอปฏิบัติเฉพาะ/ ที่จําเปน (Special practices) มีสวนเพิ่มเติมจากของหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1 และ 2 ดังนี้

1. ควบคุมการเขาออกหองปฏิบัติการ ตองเปนบุคคลที่ไดรับอนุญาตเทานั้น โดยตองอยูในดุลยพินิจของหัวหนาหองปฏิบัติการ

2. หัวหนาหองปฏิบัติการตองมีการควบคุมเขาออกหองปฏิบัติการ โดยพิจารณาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่สามารถปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการได และไมอนุญาตบุคคลที่อาจมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ เชน บุคคลที่มีภาวะภูมิคุมกันผิดปกติ ( immunocompromised หรือ immunosuppressed) เปนตน

3. หัวหนาหองปฏิบัติการตองจัดทําคูมือความปลอดภัย หรือระเบียบปฏิบัติงานเฉพาะของหองปฏิบัติการ และผูปฏิบัติงานตองไดรับการแนะนําถึงอันตราย ระเบียบวิธีปฏิบัติตางๆ โดยการสอน และการฝกอบรมอยางเพียงพอ

4. หัวหนาหองปฏิบัติการตองรับผิดชอบสําหรับการประเมินความสามารถของผูปฏิบัติงานจนแนใจ กอนอนุญาตใหผูปฏิบัติงานสามารถเริ่มปฏิบัติงานกับจุลชีพภายในหองปฏิบัติการได เพ่ือใหแนใจวาผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการไดอยางปลอดภัย

5. ผูปฏิบัติ งานตองปฏิบัติตามระเบียบวิธีการเขาและออกหองปฏิบัติการ ตามที่หองปฏิบัติการกําหนดอยางเครงครัด

6. ผูปฏิบัติงาน และเจาหนาที่สนับสนุนหองปฏิบัติการ เชน คนงานหองปฏิบัติการ ตองไดรับการฝกอบรมที่เหมาะสมเกี่ยวกับอันตรายที่อาจไดรับจากการปฏิบัติงาน วิธีปองกันที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติตางๆที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย และตองไดรับการอบรมเพ่ิมเติมที่จําเปนเมื่อระเบียบปฏิบัติมีการเปลี่ยนแปลง

7. ผูปฏิบัติงานตองไดรับวัคซีนที่เหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ

8. ควรมีการจัดเก็บตัวอยางซีรั่มของผูปฏิบัติงานกอนเริ่มการปฏิบัติงาน (baseline serum

samples) กับจุลชีพแตละชนิดอยางเหมาะสม

9. การทํางานทุกขั้นตอนที่เกี่ยวกับจุลชีพ ตองปฏิบัติในตูชีวนิรภัยที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมเทานั้น และควรรองพ้ืนพ้ืนที่ปฏิบัติงานภายในตูดวยกระดาษซับที่มีผิวดานหลังเปนพลาสติก เพ่ือใหงายตอการทําความสะอาดลดการปนเปอนหลังการปฏิบัติงาน

Page 43: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 25

10. หากจําเปนตองปฏิบัติงานนอกตูชีวนิรภัยตองปฏิบัติ โดยใชชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล เครื่องมือและอุปกรณท่ีเหมาะสม เพ่ือชวยใหเกิดความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน

11. ทําความสะอาดลดการปนเปอนพ้ืนที่ปฏิบัติงาน และเครื่องมือหลัง เสร็จการปฏิบัติงานเปนประจํา หรือหลังจากการหกรั่วไหลของสิ่งปนเปอนจุลชีพ ดวยน้ํายาฆาเชื้อโรค (disinfectant) ที่เหมาะสม

12. การลดการปนเปอนและทําความสะอาด กรณีเกิดการหกรั่วไหลของสิ่งปนเปอนจุลชีพตองปฏิบัติ โดยผูที่ไดรับการฝกอบรม และตองมีวิธีการจัดการไวภายในหองปฏิบัติการ

13. เครื่องมือปนเปอนหากตองการนําออกจากหองปฏิบัติการ ตองไดรับการลดการปนเปอนที่เหมาะสมกอน

14. สิ่งปนเปอนทุกชนิดจากหองปฏิบัติการตองไดรับการลดการปนเปอนดวยวิธีที่เหมาะสม กอนนําออกจากหองปฏิบัติการ โดยตองมีการบรรจุในภาชนะที่สามารถปองกันการรั่วไหลไดในระหวางขั้นตอนการจัดเก็บ การทํางาน การขนสงที่เหมาะสมไปยังเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง เพ่ือนึ่งฆาเชื้อกอนนําไปกําจัด

15. หากตองใช vacuum ตองมีการตอ HEPA filter และ liquid disinfectant trap เพ่ือปองกัน vacuum line ปนเปอนจุลชีพ

16. ผูปฏิบัติงานตองรายงานตอหัวหนาหองปฏิบัติการทันที เมื่อมีการหกกระเด็น หรือการรั่วไหลของสิ่งปนเปอนจุลชีพ และอุบัติเหตุ โดยตองมีการเตรียมข้ันตอนสําหรับการประเมินการรักษา การดูแล และการรักษา ตองมีการบันทึกและเก็บรักษาบันทึกนั้นไว

17. ผูปฏิบัติงานตองสามารถใชชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคลไดอยางเหมาะสม โดยตองมีการพิจารณาเลือกจากการประเมินความเสี่ยงของงานในหองปฏิบัติการ

18. ตองใสถุงมือเมื่อตองปฏิบัติงานกับสิ่งปนเปอนเชื้อ เลือกชนิดถุงมือใหเหมาะสมกับงาน ไมใสถุงมือออกนอกหองปฏิบัติการ เปลี่ยนถุงมือเมื่อปนเปอน ขาด หรือเมื่อมีความจําเปนตองไปปฏิบัติกิจกรรมอื่น และตองใสอยางนอย 2 คู

19. วัสดุปนเปอนจุลชีพที่ตองการนํากลับมาใชใหม เชน ภาชนะ เสื้อกาวน ตองผานการลดการปนเปอนและทําความสะอาดดวยวิธีที่เหมาะสมกอนนํากลับมาใช

20. หลีกเลี่ยงการใชเครื่องแกว ของมีคม เครื่องมือมีคมภายในหองปฏิบัติการ หากจําเปนตองใชอยางระมัดระวัง และฝกการใชใหเกิดความชํานาญกอนปฏิบัติจริงกับจุลชีพ

ค. อุปกรณเครื่องมือเพื่อความปลอดภัย (Safety equipment) มีสวนเพิ่มเติมจากของหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 ดังนี้

1. ตูชีวนิรภัย Class I ใชในกรณีงานไมตองการปองกันชิ้นงานปนเปอน หากงานตองการปองกันการปนเปอนทั้งในสวนของชิ้นงาน ผูปฏิบัติงานและสิ่งแวดลอม สามารถเลือกใช Class II หรือ Class III ได

Page 44: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

26 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

2. ชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล เชน เสื้อกาวนตองเปนชนิดที่ปดคลุมดานหนา ไมควรเปนแบบเปดติดกระดุมดานหนา ตองปดคลุมไดทั้งรางกายและสามารถกันของเหลวซึมผานได อยางนอยบริเวณดานหนา ตองเปนชนิดแขนยาวคลุมตลอดแขนจนถึงขอมือ กรณีที่อาจเกิดการกระเด็นของสิ่งปนเปอนจุลชีพไดขณะปฏิบัติงาน ตองใชอุปกรณปองกันใบหนาและดวงตา ในกรณีที่จําเปนตองใชอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ ตองเลือกใหเหมาะสมกับงานและใบหนาของผูปฏิบัติงาน สําหรับการทิ้งอุปกรณปองกันสวนบุคคลตองทิ้งเปนขยะติดเชื้อ หรือหากเปนชนิดที่สามารถนํากลับมาใชใหม ตองทําการลดการปนเปอนดวยวิธีที่เหมาะสมกอนทําความสะอาดแลวนํากลับมาใชใหม

3. เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง (autoclave) สําหรับลดการปนเปอนตองมีพรอมใชภายในหนวยงาน หรืออาจมีอยูภายในหองปฏิบัติการ หากเปนเครื่องนึ่งชนิด double door autoclave จะสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยทางชีวภาพมากขึ้น และตองมีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องใหอยูในสภาพพรอมใชอยูเสมอ

4. เครื่องปนเหวี่ยงชนิดที่มี safety bucket หรือ safety rotor ซึ่งมีลักษณะมีฝาปดสนิทมิดชิด เพ่ือลดความเสี่ยงในการฟุงกระจายของสิ่งปนเปอนจุลชีพขณะปนเหวี่ยง

5. วัสดุวิทยาศาสตรที่ทําจากพลาสติก เพ่ือหลีกเลี่ยงการใชเครื่องแกว เชน ขวด หลอดทดลอง จานเพาะเชื้อ ไปเปต เปนตน

ง. การออกแบบและสิ่งอํานวยความสะดวกในหองปฏิบัติการ (Laboratory facilities) การออกแบบและสิ่งอํานวยความสะดวกของหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 มีสวนที่เพ่ิมเติมจาก

หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 ดังนี้ 1. พ้ืนที่หองปฏิบัติการตองแยกจากพ้ืนที่ อ่ืนที่ไมมีการจํากัดการเขาออก หรือพ้ืนที่

สาธารณะภายในอาคาร 2. พ้ืนผิวของผนัง พ้ืน ฝา ภายในหองปฏิบัติการตองมีพ้ืนผิวเรียบ งายตอการทําความ

สะอาด และการลดการปนเปอน ทนตอการแทรกซึมของของเหลว สารเคมี และน้ํายาฆาเชื้อโรค 3. หองปฏิบัติการตองมีลักษณะปดสนิท (sealable) เพ่ือความสะดวกในการลดการ

ปนเปอนหองปฏิบัติการดวยการอบรมควันฆาเชื้อดวยสารเคมี ซึ่งทําเมื่อเกิดการปนเปอนจุลชีพในปริมาณมากภายในหองปฏิบัติการ เมื่อตองการปดระบบ เพ่ือตรวจเช็คบํารุงรักษา เมื่อตองเปลี่ยนโครงการหรือการใชหอง และเมื่อตองทําการปรับปรุงหองปฏิบัติการ

4. ตองมีการออกแบบควบคุมทิศทางการไหลของอากาศเขาหองปฏิบัติการ โดยทิศทางการไหลเวียนของอากาศภายในหองตองเปนแบบทิศทางเดียว โดยไหลเขาหองปฏิบัติการทางหนึ่งและออกจากหองปฏิบัติการอีกทางหนึ่ง และไหลจากบริเวณสะอาดไปยังบริเวณท่ีปนเปอน

5. ตองควบคุมการระบายอากาศจากหองปฏิบัติการอากาศที่ถูกดูดออกจากหองปฏิบัติการตองไมไหลเวียนไปยังบริเวณอ่ืนภายในอาคาร หรือพ้ืนที่สาธารณะ โดยทอระบายอากาศจากหองปฏิบัติการตองอยูหางจากทอนําอากาศเขาบริเวณอ่ืนภายในอาคาร และหางจากพ้ืนที่สาธารณะ

Page 45: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 27

6. ควรมีระบบการกรองอากาศจากหองปฏิบัติการกอนสงออกสูภายนอกหองปฏิบัติการดวย HEPA filter (exhaust HEPA filter) ขึ้นกับการประเมินความเสี่ยง หากอากาศที่ปลอยออกอาจเกิดอันตรายตอชุมชน และตองมีการทดสอบการรั่ว (leak testing) HEPA filter แตละชิ้นเปนประจํา

7. ตองมีการควบคุมความดันอากาศของหองปฏิบัติการใหต่ํากวาเมื่อเปรียบเทียบกับพ้ืนที่โดยรอบ (negative pressure)

รูปที่ 4.4 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 ที่มา: http://www.biocontencion.com/bioseguridad.php

8. ตองมีอุปกรณสังเกตทิศทางการไหลของอากาศ เพ่ือใหผูปฏิบัติงานสามารถตรวจดูทิศทางการไหลของอากาศได อยางนอยไวบริเวณหนาประตูทางเขา โดยอาจมีสัญญาณเตือนกรณีทิศทางการไหลของอากาศผิดปกต ิ

9. ระบบควบคุมความรอน ระบบถายเทอากาศ และระบบปรับอากาศ (heating,

ventilation and air-conditioning (HVAC) control system) ตองไดรับการออกแบบใหมีระบบปองกันอากาศไหลยอนกลับ และการเกิดความดันอากาศเปนบวกภายในหองปฏิบัติการ ตองมีระบบเตือนภัยชนิดแสงและ/หรือเสียง เพ่ือเตือนเกิดผูปฏิบัติงานกรณีระบบ HVAC ลมเหลว

10. ตองมีประตูทางเขาอยางนอย 2 ชั้น (double door entry) ประตูควรเปนแบบปดเองได และอาจเปนแบบ interlock ซ่ึงชวยทําใหประตูเปดไดเพียงครั้งละหนึ่งบาน

11. ตองมีหองเฉลียง (anteroom) เปนพ้ืนที่ทางผานเขาออกหองปฏิบัติการ มักอยูระหวางประตูทางเขา 2 ชั้น ซึ่งเปนพ้ืนที่ที่ออกแบบมา เพ่ือชวยในการรักษาระดับความดันของปฏิบัติการใหคงที่ พ้ืนที่บริเวณนี้อาจมีหรือไมมีฝกบัวอาบน้ําอยูภายในหองก็ได ขึ้นกับชนิดของจุลชีพที่ตองปฏิบัติงานดวย

Page 46: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

28 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

12. ตองมีสวนเปลี่ยนเสื้อผาใสชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล อาจอยูในบริเวณพ้ืนที่หอง anteroom ซึ่งตองแยกพ้ืนที่ระหวางชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่สะอาดและสกปรก

13. หากมหีนาตาง ทุกบานตองปดสนิท

14. อางลางมือควรติดตั้งอยูใกลบริเวณประตูทางออก ควรมีกอกน้ําชนิดที่ไมตองใชมือปดเปด

15. เฟอรนิเจอรภายในหองปฏิบัติการตองสามารถรับน้ําหนักและเหมาะกับการใชงาน พ้ืนที่ระหวางโตะ ตู และเครื่องมือตองมีเพียงพอสําหรับการเขาไปทําความสะอาด พ้ืนผิวโตะปฏิบัติงานตองปองกันน้ําซึม ทนตอความรอนและสารละลายอินทรีย กรด ดาง และสารเคมีที่ใชในการลดการปนเปอนได เกาอ้ีตองมีพ้ืนผิวเรียบไมเปนรูพรุน หรือขรุขระ เพ่ือใหงายตอการทําความสะอาดดวยน้ํายาฆาเชื้อ

16. การติดตั้งตูชีวนิรภัยตองติดตั้งในตําแหนงที่ไมถูกรบกวนจากแหลงกําเนิดลม เชน ประตู หัวจายหรือหัวดูดอากาศ บริเวณท่ีมีการสัญจรมาก เปนตน

17. อากาศจากตูชีวนิรภัย Class II ซึ่งผานการกรองดวย HEPA filter แลวสามารถปลอยออกสูภายในหองปฏิบัติการได หรือหากเปนตูชนิดตอทอตองทําการตอทออยางถูกตองเหมาะสม ตองมีการตรวจสอบประสิทธิภาพของตูอยางสม่ําเสมอ และตรวจรับรอง (certification) อยางถูกตองเหมาะสมเปนประจําทุกป

18. ตองออกแบบหองปฏิบัติการใหสามารถเขาถึง เพ่ือใชงานเครื่องมือและอุปกรณสําหรับการลดการปนเปอน เชน เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง น้ํายาฆาเชื้อโรค ไดสะดวกเมื่อตองการใชงาน

19. ตองมีระบบที่ชวยในการเฝาดูการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการ เชน ประตูท่ีมีชองกระจก กลองวงจรปด

20. ตองมีระบบสื่อสารระหวางผูปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการกับเจาหนาที่ภายนอกหองปฏิบัติการ เชน โทรศัพท อินเตอรคอม เปนตน

21. ควรมีระบบสงขอมูล เชน แฟกซ คอมพิวเตอรเชื่อมตอเครือขาย เปนตน

22. การออกแบบหองปฏิบัติการตองคํานึงถึงการออกแบบพ้ืนที่สวนงานระบบที่จําเปนตองมีการซอมบํารุงจากชางผูเชี่ยวชาญ ควรออกแบบใหสามารถเขาพ้ืนที่ไดโดยไมตองเขาหองปฏิบัติการ เพ่ือเปนการลดความเสี่ยงการสัมผัสจุลชีพจากหองปฏิบัติการ

23. หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 ทุกแหง ตองมีเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับแบบอาคารและวิธีการใชงานของระบบตางๆ

24. การออกแบบ และการดําเนินการของระบบหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับที่ 3 ตองไดรับการตรวจสอบประสิทธิภาพ ความพรอมใชงานของระบบหองปฏิบัติการกอนเริ่มใชงาน

4.4 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (Biosafety level 4; BSL4) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 หองปฏิบัติการระดับนี้ ตองอยูภายใตการควบคุมกํากับดูแลของ

หนวยงานระดับชาติ เนื่องจากเปนมีความเสี่ยงตอบุคคลและสิ่งแวดลอมสูงมาก ไดรับการออกแบบมาเพ่ือ

Page 47: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 29

การปฏิบัติงานกับจุลชีพกลุมเสี่ยงที่ 4 โดยกอนการลงมือกอสรางหองปฏิบัติการประเภทนี้ จําเปนตองปรึกษาผูเชี่ยวชาญจากสถาบัน หรือหนวยงานที่มีประสบการณ เนื่องจากเปนหองปฏิบัติการที่มีความซับซอนมากทั้งในสวนของระบบการควบคุมการแพรกระจายของเชื้อ เครื่องมือเพ่ือความปลอดภัย ระบบการบริหารจัดการ และระเบียบปฏิบัติตางๆ ดังนั้นจึงตองมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานเฉพาะ

ขอมูลขางลางนี้เปนเพียงขอมูลพ้ืนฐานผูสนใจสามารถปรึกษาและหาขอมูลเพ่ิมเติมไดจากองคการอนามัยโลก

ก. มาตรฐานการปฏิบัติงานทางจุลชีววิทยา (Standard microbiological practices) และขอปฏิบัติเฉพาะ/ ที่จําเปน (Special practices)

ใหใชหลักเกณฑการทํางานเชนเดียวกับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 โดยเพิ่มเติม ดังนี้ 1. ใชกฎการปฏิบัติงานรวมกันสองคน หามทํางานคนเดียวตามลําพัง 2. เปลี่ยนเสื้อผาทุกชิ้น รวมทั้งรองเทาท้ังกอนเขาและออกจากหองปฏิบัติการ

3. ตองอาบน้ํากอนออกจากหองปฏิบัติการ

4. ผูปฏิบัติงานตองไดรับการฝกอบรม เรื่องวิธีการรับมือกรณีฉุกเฉิน เชน เมื่อไดรับบาดเจ็บ หรือเจ็บปวยในหองปฏิบัติการ

5. ตองมีระบบสื่อสารระหวางผูปฏิบัติงานที่กําลังทํางานในหองปฏิบัติการระดับ 4 และเจาหนาที่สนับสนุนที่อยูนอกหองปฏิบัติการ

6. ตองมีการพิจารณาใหถึงวิธีการทดลองวิจัยที่จะทํา รวมทั้งอุปกรณสารเคมี ตลอดจนชนิดของสัตวทดลองที่จะใชในการวิจัย ใหละเอียดถี่ถวนอยางมากเปนพิเศษ กรณีเปนหองปฏิบัติการประเภท suit laboratory เพ่ือใชสําหรับการจัดการความเสี่ยง

ข. อุปกรณเครื่องมือเพื่อความปลอดภัย (Safety equipment) ใชเครื่องมือพ้ืนฐานสําหรับการปฏิบัติงานเชนเดียวกับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 โดยมี

เพ่ิมเติม ดังนี้ 1. ตูชีวนิรภัย Class III

2. เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง แบบ 2 ประตู (double door autoclave) 3. ชุดความดันอากาศเปนบวก (positive pressure suit) ใชในกรณีหองปฏิบัติการใชตู

ชีวนิรภัย Class II

ค. การออกแบบและสิ่งอํานวยความสะดวกในหองปฏิบัติการ (Laboratory facilities) หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 มีลักษณะใกลเคียงกับหองปฏิบัติการระดับ 3 แตลักษณะที่

เพ่ิมเติม ไดแก

1. ระบบควบคุมเชื้อข้ันพื้นฐาน โดยอาจมีลักษณะอยางหนึ่งอยางใดขางลางนี้ หรือมีลักษณะผสม

Page 48: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

30 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

1.1 หองปฏิบัติการชนิดที่ใชตูชีวนิรภัย Class III มีลักษณะเบื้องตน ดังนี้ x ตองมี 2 ประตู โดยตองมีหองเปลี่ยนเสื้อผาพนักงานทั้งกอนเขาและกอนออก

จากหองปฏิบัติการ x มีหองอาบน้ําอยูกลางระหวางหองเปลี่ยนเสื้อผาทั้งสอง x มีเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูงแบบสองประตูหรือชองรมควันสําหรับสงวัสดุและ

อุปกรณเขาหองปฏิบัติการ สําหรับเครื่องนึ่งแบบสองประตูนั้นออกแบบมาใหผูปฏิบัติงานสามารถเปดประตูภายในได ตอเมื่อประตูภายนอกปดสนิทแลวเทานั้น ซึ่งเปนระบบ interlock และประตูไมสามารถเปดออกไดเมื่อเครื่องนึ่งหรือชองรมควันกําลังทํางาน

1.2 หองปฏิบัติการชนิด suit laboratory มีลักษณะเบื้องตน ดังนี้ x เปนหองปฏิบัติการที่ผูปฏิบัติงานมีการใชชุดเสื้อผาปองกันที่มีเครื่องชวยจาย

อากาศสําหรับการหายใจ ทําใหหองปฏิบัติการประเภทนี้แตกตางอยางมากจากหองปฏิบัติการระดับ 4 ที่ใชตูชีวนิรภัย Class III คือ

- ตองมีพ้ืนที่สําหรับใหผูปฏิบัติงานเปลี่ยนเสื้อผาและลดการปนเปอนตามรางกายกอนเขาสูหองปฏิบัติการ

- ตองมีทั้งหองเปลี่ยนเสื้อผาทั้งหองใสและถอดชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล

- ตองมีหองฝกบัวลดการปนเปอนชุด (suit decontamination shower)สําหรับใหผูปฏิบัติงานใชลดการปนเปอนชุดปฏิบัติการกอนออกจากหองปฏิบัติการ

- ตองมีหองอาบน้ําฝกบัว (personnel shower) ซึ่งควรอยูระหวางหองใสและถอดชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคล

- ตองมีระบบจายอากาศเขาชุดที่แยกเฉพาะเปนอิสระ สามารถจายอากาศได 100% และทํางานไดแมเกิดเหตุฉุกเฉิน

- มี ระบบเตื อนภั ยฉุ ก เฉิ นสํ าหรั บผู ปฏิบั ติ ง านที่ กํ าลั งทํ า ง าน ในหองปฏิบัติการที่เหมาะสม

2. ระบบการควบคุมการเขา-ออก

x หองปฏิบัติการควรตั้งอยูในอาคารที่แยกเฉพาะ หรือในบริเวณภายในอาคารที่ตองแยกจากบริเวณอ่ืนอยางชัดเจน

Page 49: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 31

x ทางเขาและทางออกของผูปฏิบัติงานและอุปกรณตองเปนระบบ airlock หรือระบบpass-through

3. ระบบควบคุมอากาศภายในหองปฏิบัติการ ความดันอากาศตองเปนลบตลอดเวลา โดยทั้งอากาศที่ผานเขาและออกจากหองปฏิบัติการ ตองผานการกรองดวยตัวกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) ระบบถายเทอากาศระหวางหองปฏิบัติการที่ใชตูชีวนิรภัย Class III และหองปฏิบัติการชนิด suit laboratory มีขอแตกตาง ดงันี้

3.1 หองปฏิบัติการชนิดที่ใชตูชีวนิรภัย Class III x อากาศที่เขาสูตูชีวนิรภัย อาจถูกดูดจากอากาศภายในหองผาน HEPA filter ที่

ติดตั้งอยูบนตู หรือจากระบบสงอากาศโดยตรงของระบบจายอากาศของหองปฏิบัติการ

x อากาศที่ออกมาจากตูชีวนิรภัยตองผาน HEPA filter สองชั้นกอนปลอยออกสูภายนอก

x ความดันอากาศภายในตูชีวนิรภัยตองเปนลบตลอดเวลา เมื่อเปรียบเทียบกับความดันอากาศรอบภายในหองปฏิบัติการ

x ระบบถายเทอากาศในหองปฏิบัติการตองเปนชนิดที่ไมนําอากาศเกาวนกลับมาใชซํ้า

3.2 หองปฏิบัติการชนิด suit laboratory

x ตองมีระบบจายอากาศเขาและระบบดูดอากาศออก โดยตองสมดุล และชวยทําใหเกิดการไหลของอากาศจากบริเวณที่มีความเปนอันตรายนอยที่สุดไปยังบริเวณท่ีเสี่ยงตออันตรายมากที่สุด

รูปที่ 4.5 หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 ที่มา: http://www.biocontencion.com/bioseguridad.php

Page 50: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

32 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

x ตองมีการติดตั้งพัดลมระบายอากาศ ใหสามารถแนใจไดวาจะรักษาความดันอากาศของหองปฏิบัติการใหเปนลบตลอดเวลา

x ตองมีระบบที่ชวยในการตรวจสอบความดันอากาศทั้งภายในและบริเวณใกลเคียงกับหองปฏิบัติการ รวมทั้งตองมีการตรวจสอบการไหลเวียนของอากาศทั้งของระบบจายอากาศเขาและระบบดูดอากาศออก และตองมีระบบควบคุม เพ่ือควบคุมระบบความดันภายในหองปฏิบัติการ

x ตองมี HEPA filter สําหรับระบบจายอากาศเขาหองปฏิบัติการ รวมทั้งหองอาบน้ําฝกบัวลดการปนเปอน (decontamination shower) และ decontamination airlock หรือ chamber

x อากาศที่ออกจากหองปฏิบัติการตองผาน HEPA filter สองชั้นกอนปลอยออกสูภายนอกและตองไมถูกดึงไปใชใหมในบริเวณอ่ืน

HEPA filter ทุกชิ้นตองไดรับการทดสอบและตรวจรับรองเปนประจํา สําหรับ HEPA ที่ผานการใชงานแลวตองทําการลดการปนเปอนแลวเผาทิ้ง โดยในการทําการถอดและเคลื่อนยายตองปฏิบัติดวยวิธีที่เหมาะสม

4. ระบบการขจัดสิ่งปนเปอนในของเสีย

ตองมีระบบลดการปนเปอนของเสียทุกประเภทจากหองปฏิบัติการกอนปลอยออกจากหองปฏิบัติการ โดยนิยมใชระบบการใชความรอน (heat treatment) บางครั้งตองมีการปรับความเปนกรดดาง (pH) ของของเสียใหเปนกลางกอนทิ้ง สําหรับน้ําจากหองอาบน้ําฝกบัวทั่วไปและสวมอาจทิ้งไดโดยตรง โดยไมตองผานการลดการปนเปอนฆาเชื้อ

5. ระบบการทําใหปราศจากจุลชีพสําหรับขยะและวัสดุปนเปอน

หองปฏิบัติการตองมีเครื่องนึ่งฆาเชื้อแบบสองประตู และตองมีวิธีการขจัดสิ่งปนเปอนแบบอ่ืนสําหรับอุปกรณหรือสิ่งของที่ไมสามารถใชวิธีนึ่งฆาเชื้อได

6. ระบบสงของเขาหองปฏิบัติการ ตองเปนชองสงของที่มีระบบ airlock

7. ระบบไฟสํารอง ตองติดตั้งระบบไฟฟาสํารองกรณีฉุกเฉิน

8. ระบบระบายน้ําทิ้ง ตองติดตั้งระบบระบายน้ําเสียที่เหมาะสม

Page 51: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบตัิการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 33

ตารางท่ี 4.1 สรุปความสัมพันธระหวางระดับชีวนิรภัย ชนิดของหองปฏิบัติการ วิธีปฏิบัติ เครื่องมือดานความปลอดภัย

ระดับชีวนิรภัย

Biosafety level ชนิดของหองปฏิบัติการ

Laboratory type

วิธีปฏิบัติ

Practices

เคร่ืองมือดาน

ความปลอดภัย Safety equipment

BSL1 หองปฏิบัติการพื้นฐาน:- สําหรับการเรียน การสอน การศึกษาวิจัย ระดับพื้นฐาน

� เทคนิคท่ีดีทางจุลชีววิทยา(Good Microbiological

Techniques; GMT) และ/หรือ

� เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic

techniques)

ไมตองการเครื่องมือพิเศษ สามารถปฏิบัติงานบนโตะปฏิบัติการได

BSL2 หองปฏิบัติการพื้นฐาน:- สําหรับการบริการสาธารณสุขมูลฐาน การบริการตรวจวินิจฉัยโรค และการศึกษาวิจัย ระดับพื้นฐาน

เพิ่มเตมิจาก BSL1;

� จํากัดการเขาหองปฏิบัติการ � สวมใสชุดอุปกรณปองกันสวน

บุคคล

� ติด Biohazard sign

� วิธีการปฏิบัติงานกับของมีคม

� วิธีการลดการปนเปอน

� วิธีการขนสงขยะตดิเช้ือ

เพิ่มเตมิจาก BSL1;

� Autoclave ที่สามารถใชงานได

� BSC กรณีอาจเกิดละอองของเหลวปนเปอนเช้ือฟุงกระจาย

BSL3 หองปฏิบัติการปองกันการแพรกระจายเช้ือ:- สําหรับการวินิจฉัยโรคเฉพาะทางและการการศึกษาวิจัย

เพิ่มเตมิจาก BSL2;

� ควบคุมการเขาออก

� วิธีการลดการปนเปอนขยะติดเชื้อ

� วิธีการลดการปนเปอน การทําความสะอาด การกําจดัวัสดุปนเปอนเชื้อทุกชนิด

เพิ่มเตมิจาก BSL2;

� อุปกรณพื้นฐานอ่ืนๆสําหรบัการปฏิบัติงาน เพื่อความปลอดภัยลดโอกาสการสมัผสัเชื้อในทุกกิจกรรมเชน safety

centrifuge

� อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ (ถาจําเปน)

BSL4 หองปฏิบัติการปองกันการแพรกระจายเช้ือข้ันสูงสุด:- สําหรับการปฏิบัติงานกับเช้ือโรคอันตรายรายแรง

เพิ่มเตมิจาก BSL3;

� เปลี่ยนเสื้อผากอนเขาหองปฏิบัติการ

� อาบนํ้ากอนออกจากหองปฏิบัติการ

� วิธีการลดการปนเปอนขยะ และวัสดุปนเปอนเช้ือทุกชนิดกอนออกจากหองปฏิบัติการ

เพิ่มเตมิจาก BSL3;

� BSC Class III หรือ BSC Class II ใชรวมกับ positive

pressure suit ซึ่งประกอบดวยอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจชนิด supplied air respirator

� Double door autoclave

Page 52: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

34 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตารางท่ี 4.2 สรุปสิ่งจําเปนสําหรับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับตางๆ

ก แยกพื้นที่ใชงานออกจากทางเดินทั่วไป ข WHO แนะนําวาสามารถมีหรือไมมีการติดตั้งตัวกรองอากาศออกจากหองปฏิบัติการ (exhaust HEPA filter) ขึ้นกับความเปนอันตรายของจุลชีพ และตําแหนงของ exhaust หากไมมี exhaust HEPA filter ปลายทอที่ปลอยอากาศออกตองปลอยในบริเวณที่หางจากอาคารและพื้นที่อื่นที่มีการดึงอากาศกลับไปใชได ในขณะที่ Canada biosafety standard กําหนดวาอากาศที่ออกจากหองปฏิบัติการตองผานการกรองดวย HEPA filter ดังน้ันหองปฏิบัติการใดประเมินความเสี่ยงแลวพบวา อากาศที่ปลอยออกอาจเกิดอันตรายตอชุมชน ควรพิจารณาการติดตั้ง exhaust HEPA filter เพิ่ม ทั้งน้ีควรมีการพิจารณาและวางแผนการใชงานกับชนิดของจุลชีพหรือเช้ือตั้งแตกอนการสรางหองปฏิบัติการ ค ขึ้นกับจุลชีพในหองปฏิบัติการ ง ตัวอยาง เชน ชองกระจกใหสามารถมองเห็นภายในหองไดโทรทัศนวงจรปด และระบบการสื่อสารสองทาง (โทรศัพท, อินเตอรคอม)

ระดับหองปฏิบัติการชีวนิรภัย

1 2 3 4

x การแยกพื้นที่ก หองปฏิบัติการจากพื้นที่สวนอื่นๆ ไม ไม ใช ใช

x หองสามารถปดสนิทไมรั่วซึม เพื่อการขจัดสิ่งปนเปอน

ไม ไม ใช ใช

x การระบายอากาศ

--การคุมควบการไหลเขาของอากาศ ไม ควรม ี ใช ใช --ระบบควบคุมการระบายอากาศ ไม ควรม ี ใช ใช --กรองอากาศระบายออกดวยตัวกรองอากาศ ประสิทธิภาพสูง (HEPA filter)

ไม ไม ใช/ไมข ใช

x ประตูทางเขา 2 ช้ัน ไม ไม ใช ใช

x Airlock ไม ไม ไม ใช x Airlock พรอมฝกบัวอาบนํ้า ไม ไม ไม ใช x หอง anteroom ไม ไม ใช -- x หอง anteroom พรอมฝกบัวอาบนํ้า ไม ไม ใช/ไมค ไม

x การบําบัดนํ้าเสียจากหองปฏิบัติการ ไม ไม ใช/ไมค ใช

x เครื่องน่ึงฆาเช้ือ (autoclave) --ภายในบริเวณหนวยงาน (on site) ไม ควรม ี ใช ใช --ภายในหองปฏิบัติการ (in laboratory room)

ไม ไม ควรม ี ใช

--แบบ2 ประตู (double-ended) ไม ไม ควรม ี ใช x ตูชีวนิรภัย (Biological safety cabinet; BSC) ไม ควรม ี ใช ใช

x ระบบตรวจติดตามความปลอดภัยของพนกังานง ไม ไม ควรม ี ใช

Page 53: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 35

การจะตัดสินวาการปฏิบัติงานเกี่ยวกับจุลชีพกลุมเสี่ยงใดควรปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับใดนั้น จําเปนอยางยิ่งที่ตองทําการประเมินความเสี่ยงตอชนิดของงาน การประเมินดังกลาวจะพิจารณากลุมเสี่ยงของจุลชีพและป จจัยอ่ืน เพ่ือการจัดระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ ตัวอยางเชน เชื้อที่อยูในกลุมเสี่ยงที่ 2 โดยทั่วไปมักตองใชอาคาร สถานที่ รวมถึงอุปกรณและมาตรการปฏิบัติการ ในระดับความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 2 อยางไรก็ตามในกรณีที่ตองทําการทดลองเฉพาะทาง ซึ่งเปนวิธีที่มีความเสี่ยงสูง อาจตองทํางานในหองปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 3 ทั้งนี้เพ่ือการควบคุมการฟุงกระจายของเชื้อ และลดความเสี่ยง ดังนั้นการพิจารณาระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ เพ่ือปฏิบัติงาน จึงขึ้นกับการประเมินความเสี่ยงของผูเกี่ยวของและตองพิจารณาเปนกรณีไป

นอกจากนี้กรณี Mycobacterium tuberculosis เปนเชื้อกลุมเสี่ยงที่ 3 เมื่อทําการประเมินความเสี่ยงตามชนิดของงานสามารถเลือกระดับหองปฏิบัติการได ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง รายการเชื้อโรคที่ประสงคควบคุมตามมาตรา 18 พ.ศ. 2560 (ราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนพิเศษ 74 ง 10 มีนาคม 2560) ดังนี้

1. งานตรวจวินิจฉัยโรคในโรงพยาบาลทั่วไปสามารถดําเนินการไดในหองปฏิบัติการ BSL2 โดยปฏิบัติตาม good microbiological practices โดยเครงครัด

2. งานเพาะเลี้ยงเชื้อ เพ่ือผลิตเชื้อในปริมาณมาก ควรดําเนินการในหองปฏิบัติการ BSL3 หรือเทียบเทา (BSL2 enhanced)

Page 54: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

36 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 5 ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับ

อาคารเลี้ยงดูแลสัตวทดลอง (Animal Biosafety Level, ABSL) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร อาจมีความจําเปนที่ตองดําเนินการในสัตวทดลอง ทั้งนี้มีปจจัยที่ตอง

คํานึงถึงหลายประการ ตัวอยาง เชน พันธุกรรมของสัตว สุขภาพอนามัยของสัตว เปนตน เพ่ือไมใหเปนตัวแปรที่สงผลกระทบตอผลการทดลอง ดังนั้นหลักการเลี้ยงดูแลใหสัตวทดลองไมเกิดความเครียด มีความเปนอยูที่ดี การปฏิบัติการตอสัตวที่สอดคลองกับจริยธรรม และพระราชบัญญัติสัตวเพ่ืองานทางวิทยาศาสตร พ.ศ. 2558 จึงเปนสิ่งที่ตองตระหนัก นอกจากนี้องคประกอบอ่ืนๆ เชน อาคารเลี้ยงดูแลสัตวทดลอง เปนสวนประกอบสําคัญในการที่ปองกันไมใหสัตวติดเชื้อ หรือเกิดการแพรกระจายของเชื้อไดโดยงาย

อาคารเลี้ยงดูแลสัตวทดลองตามระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ หมายถึง อาคารและอุปกรณ รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกที่ใชสําหรับเลี้ยงและดูแลสัตว เพื่อการวินิจฉัยและการทดลองทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวกับเชื้อจุลชีพ เพ่ือใหสัตวทดลองไดรับการปฏิบัติอยางมีมนุษยธรรม ลดความเจ็บปวดความทรมานใหมากที่สุด โดยตองเปนสถานที่ที่สะอาด มีการระบายอากาศมีน้ําและอาหารอยางพอเพียง ในดานของความปลอดภัยอาคารเลี้ยงดูแลสัตวควรตั้งอยูอยางอิสระไมอยูติดกับสถานที่อ่ืน หองเลี้ยงสัตวหองทดลองและหองพักพนักงานควรแยกออกจากกัน เพ่ือปองกันการติดเชื้อระหวางมนุษยและสัตว และเพ่ือความสะดวกในการขจัดสิ่งปนเปอน การฆาเชื้ออยางมีประสิทธิภาพ และสามารถปองกันการแพรกระจายเชื้อออกสูภายนอกได

ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับสัตวทดลองของอาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ตองไดรับการประเมินความเสี่ยง โดยคํานึงถึงกลุมเสี่ยงของเชื้อจุลชีพเชนเดียวกับหองปฏิบัติการจุลชีว วิทยา ซึ่งใชศึกษาเกี่ยวกับเชื้อจุลชีพกอโรคในมนุษย ดังนั้นจึงแบงความปลอดภัยของอาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตวทดลองเปนระดับ 1, 2, 3 และ 4 ตามตารางท่ี 5.1

ปจจัยท่ีตองคํานึงถึงเกี่ยวกับเชื้อจุลชีพท่ีใชทดลองในสัตว ไดแก 1. ชองทางที่สามารถติดเชื้อไดตามสภาวะปกติ 2. ปริมาณและความเขมขนของเชื้อ

3. วิธีการนําเชื้อเขาสูรางกายสัตว 4. วิธีหรือชองทางที่เชื้อถูกขับออกจากรางกายสัตว

Page 55: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 37

ปจจัยท่ีตองคํานึงถึงเกี่ยวกับสัตวทดลอง ไดแก 1. อุปนิสัยและพฤติกรรมของสัตว เชน ความกาวราว ความเสี่ยงตอการโดนกัดหรือขวน

2. ปรสิตทั้งภายในและภายนอกท่ีอาจพบในตัวสัตว 3. โรคติดตอระหวางสัตวและมนุษย ความไวของสัตวตอการติดโรคนั้น

4. การแพรกระจายของสารกอภูมิแพจากสัตวทดลองมายังผูปฏิบัติงาน

ตารางท่ี 5.1 หองเลี้ยงสัตวทดลองแบงตามระดับความปลอดภัยมาตรการ และอุปกรณที่จําเปน

กลุมเสี่ยง ระดับความปลอดภัย มาตรการและอุปกรณ 1 ABSL1 เขตหวงหาม, เสื้อผาและถุงมือปองกัน

2 ABSL2 เชนเดียวกับ ABSL1 รวมกับเครื่องหมายเตือนอันตราย, ตูชีวนิรภัย Class I หรือ II สําหรับกิจกรรมที่อาจเกิดการฟุงกระจาย ,

การฆาเชื้อขยะและกรงเลี้ยงสัตวหลังใชงาน

3 ABSL3 เชนเดียวกับ ABSL2 รวมกับการควบคุมการเขาออก ตูชีวนิรภัย และชุดปองกันสวนบุคคลเฉพาะสําหรับทุกกิจกรรม

4 ABSL4 เชนเดียวกับ ABSL3 รวมกับการควบคุมการเขาออกแบบเขมงวด การเปลี่ยนเสื้อกอนเขา ตูชีวนิรภัย Class III หรือชุดความดันบวก (Positive pressure suit) การอาบน้ํากอนออกการฆาเชื้อขยะทุกชนิดกอนนําออกไปทิ้ง

ขอกําหนดเกี่ยวกับการลักษณะการออกแบบอาคาร เครื่องมือ และระเบียบปฏิบัติของ ABSL มีรายละเอียด และมาตรการเพ่ิมข้ึนตามระดับความปลอดภัยที่เพ่ิมข้ึน ดังนี้

5.1 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 1 (ABSL1) เหมาะสําหรับการดูแลรักษาสัตวสวนใหญหลังการกักกันโรค (ยกเวนสัตวจําพวก nonhuman

primates ขึ้นกับระเบียบของแตละประเทศ) และสัตวที่ไดรับการฉีดเชื้อกลุมเสี่ยงที่ 1 ผูปฏิบัติงานตองปฏิบัติงานตามหลัก GMT ผูรับผิดชอบอาคารเลี้ยงดูแลสัตวทดลองตองจัดทําคูมือการปฏิบัติการและตองมีการเฝาระวังทางการแพทยใหกับบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ตองจัดทําคูมือความปลอดภัยหรือคูมือการดําเนินงานดานความปลอดภัยและมีการนําไปใชอยางเหมาะสม

Page 56: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

38 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

5.2 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 2 (ABSL2) เหมาะสําหรับการปฏิบัติงานกับสัตวทดลองที่ไดรับเชื้อกลุมเสี่ยงที่ 2 โดยมีขอควรคํานึงหรือระมัดระวังดานความปลอดภัย ดังนี้

1. ขอกําหนดพ้ืนฐานเชนเดียวกับอาคาร และอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 1

2. ตองติดสัญลักษณชีวนิรภัยสากล (ดูรูปที ่1 บทที่ 3) ไวที่ประตู หรือบริเวณท่ีเหมาะสม

3. สถานที่เลี้ยงสัตวมีลักษณะเปนโรงเรือนปด ตองงายตอการดูแล และการทําความสะอาด

4. ประตูตองเปนแบบที่เปดเขาดานใน และสามารถปดไดเอง 5. มีอุณหภูมิความชื้น แสงสวางในหองเลี้ยงสัตวทดลองตองเหมาะสม และมีการถายเทอากาศที่ดี 6. หากใชเครื่องควบคุมระบบถายเทอากาศตองเปนเครื่องที่ทําใหเกิดการไหลของอากาศเขาสูหอง

เลี้ยงสัตวชองระบายอากาศออกตองไมเกิดการไหลของอากาศกลับไปสูบริเวณอ่ืนในตัวอาคาร

7. หามบุคคลภายนอกที่ไมไดรับอนุญาตเขาหองเลี้ยงสัตวทดลอง 8. หามนําสัตวอ่ืนเขาหองเลี้ยงสัตวทดลอง ยกเวนสัตวที่ใชเพื่อการทดลองเทานั้น

9. ตองมีโปรแกรมควบคุมสัตวพาหะ

10. หนาตางตองแข็งแรง ปองกันแสงเขาจากภายนอกอาคาร กันแรงกระแทก หากเปนหนาตางที่เปดไดตองมีมุงลวดกันแมลง

11. พ้ืนที่ปฏิบัติงานตองไดรับการทําความสะอาด และฆาเชื้อดวยน้ํายาฆาเชื้อที่เหมาะสมทุกครั้งหลังเสร็จงาน

12. หากตองปฏิบัติงานที่อาจกอใหเกิดการฟุงกระจายของเชื้อ ตองดําเนินการในตูชีวนิรภัยหรือกรงแบบ isolator ที่มตีัวกรองอากาศประสิทธิภาพสูง

13. ควรมีเครื่องนึ่งฆาเชื้อในหองหรือใกลกับพ้ืนที่เลี้ยงสัตวทดลอง 14. วัสดุรองนอนตองถูกเปลี่ยนทิ้งในลักษณะที่ไมทําใหเกิดฝุนหรือละอองฟุงกระจาย

15. ขยะและของเสียรวมทั้งวัสดุรองนอนตองไดรับการฆาเชื้อกอนนําไปทิ้ง 16. ควรหลีกเลี่ยงการใชวัสดุมีคม หากจําเปนตองใชตองทิ้งในภาชนะที่จัดไวเฉพาะ โดยขยะเหลานี้

ถือเปนขยะติดเชื้อ

17. การขนยายวัสดุ เพ่ือการนึ่งฆาเชื้อและการเผาทําลายตองทําอยางระมัดระวัง โดยขนยายในภาชนะท่ีมีฝาปดสนิท

18. พ้ืนที่หรือกรงเลี้ยงสัตวตองไดรับการทําความสะอาด และฆาเชื้อทุกครั้งภายหลังการใชงาน

19. ซากสัตวตองไดรับการเผาทําลาย

20. หามนําเสื้อผา หรืออุปกรณปองกันสวนบุคคลที่ใชใสในพื้นที่ทดลองสัตวไปใสภายนอก

21. ตองมีบริเวณที่จัดไวสําหรับลางมือและผูปฏิบัติงานทุกคนตองลางมือกอนออกพ้ืนที่เลี้ยงสัตว

Page 57: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 39

22. ตองบันทึกและทํารายงานการบาดเจ็บของผูปฏิบัติงานทุกครั้ง แมเปนการบาดเจ็บเล็กนอย

23. หามบริโภคอาหารเครื่องดื่มสูบบุหรี่หรือใชเครื่องสําอางภายในหองเลี้ยงสัตวทดลอง 24. ผูปฏิบัติงานทุกคนตองผานการฝกอบรมการปฏิบัติงานอยางเหมาะสม

5.3 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 3 (ABSL3) เหมาะสําหรับการปฏิบัติงานกับสัตวทดลองที่ไดรับเชื้อกลุมเสี่ยงที่ 3 ระบบรวมถึงมาตรการทุกอยาง

ตองไดรับการประเมินและตรวจรับรองทุกป โดยมีขอควรคํานึงหรือระมัดระวังดานความปลอดภัย ดังนี้ 1. ขอกําหนดพ้ืนฐานเชนเดียวกับอาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ1

และ 2

2. การเขาออกตองถูกควบคุมอยางเขมงวด

3. หองเลี้ยงสัตวทดลองตองแยกจากหองปฏิบัติการและสวนเลี้ยงสัตวอ่ืน ตองมีประตู 2 ชั้น โดยมีพ้ืนที่ระหวางประตูเปนหองเล็ก (anteroom) กอนถึงหองเลี้ยงสัตวทดลอง

4. ตองมีอางหรืออุปกรณลางมือในหอง anteroom

5. ควรมีหองอาบน้ําหรือฝกบัวอาบน้ําในหอง anteroom

6. ตองมีระบบการถายเทอากาศ เพ่ือควบคุมการไหลเวียนของอากาศภายในหองเลี้ยงสัตวใหมีอยางตอเนื่องและท่ัวถึง อากาศเสียที่จะถูกปลอยออกตองผานแผนกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) กอนปลอยออกและตองไมถูกนํากลับมาใชใหม และมีระบบปองกันการเกิดอากาศไหลยอนกลับ ซ่ึงอาจกอใหเกิดความดันบวกภายในหองเลี้ยงสัตว

7. ตองมีเครื่องนึ่งฆาเชื้ออยูภายในพ้ืนที่ทดลองสัตว โดยวางไวในตําแหนงที่สะดวกตอการใชงาน ขยะติดเชื้อตองนึ่งฆาเชื้อกอนเคลื่อนยายไปยังสถานที่อ่ืน

8. ควรมีเตาเผาสําหรับกําจัดซากสัตวทดลองหรือมีระบบการจัดการอ่ืน ตัวอยางเชน มอบหมายใหหนวยงานอื่นที่ไดรับการประเมินแลววามีการจัดการที่ถูกตองและเหมาะสมมาดําเนินการ

9. สัตวทดลองที่ไดรับเชื้อกลุมที่ 3 ตองถูกเลี้ยงในกรง isolator หรือในหองที่มีทอระบายอากาศติดตั้งทีก่รง

10. วัสดุรองนอนควรเปนชนิดที่ไมทําใหเกิดฝุน

11. ตองฆาเชื้อเสื้อผาและอุปกรณปองกันสวนบุคคลทุกชนิดกอนนําไปซักลาง 12. หนาตางตองปดสนิทอยูเสมอและไมแตกหักงาย

13. ผูปฏิบัติงานควรไดรับการฉีดวัคซีนหรือไดรับการสรางภูมิคุมกันโรคอยางเหมาะสม

Page 58: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

40 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

5.4 อาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 4 (ABSL4) การปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการระดับนี้สัมพันธกับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการปองกันการ

แพรกระจายเชื้อขั้นสูงสุด ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 4 โดยตองปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับของประเทศในการปฏิบัติงานเสมอ หากตองปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ suit laboratory ตองมีวิธีและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้

1. ตองปฏิบัติตามขอกําหนดทั้งหมดของอาคารและอุปกรณเลี้ยงสัตว ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 1, 2 และ 3

2. มีการควบคุมการเขาออกของผูปฏิบัติงานอยางเขมงวด จํากัดเฉพาะเจาหนาที่ที่ไดรับอนุญาตจากหัวหนาหนวยงานเทานั้น

3. หามปฏิบัติงานตามลําพัง ตองใชกฎการปฏิบัติงานสองคนรวมกันเสมอ

4. ผูปฏิบัติงานตองไดรับการฝกอบรมดานเทคนิคทางจุลชีววิทยาเปนอยางดี และตองมีความรูเกี่ยวกับอันตรายและขอควรระวังที่เก่ียวของกับการปฏิบัติงาน

5. พ้ืนที่เลี้ยงดูแลสัตวที่ไดรับเชื้อในกลุมเสี่ยงที่ 4 ตองมีมาตรการควบคุมจุลชีพเชนเดียวกับหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (BSL4)

6. การเขาออกตองผานหอง anteroom ที่เปน air locked area โดยตองแยกพ้ืนที่สะอาดเปนบริเวณเปลี่ยนเสื้อผาและฝกบัวอาบน้ํา

7. ผูปฏิบัติงานตองเปลี่ยนเสื้อผาเมื่อจะเขาหองเลี้ยงสัตว โดยตองสวมเสื้อผาและอุปกรณปองกันสวนบุคคลชนิดพิเศษที่จัดเตรียมใชเฉพาะภายในพ้ืนที่ เมื่อปฏิบัติงานเสร็จตองถอดเสื้อผาและอุปกรณปองกันสวนบุคคลทุกชิ้นออกเพ่ือนําไปนึ่งฆาเชื้อ และตองอาบน้ํากอนออกทุกครั้ง

8. หองเลี้ยงสัตวตองไดรับการออกแบบใหมีระบบกรองอากาศกอนปลอยออกสูภายนอกดวยแผนกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA filter)

9. ระบบถายเทอากาศตองถูกออกแบบใหแนใจวาความดันอากาศภายในหองเปนลบ อากาศมีทิศทางการไหลเขาภายในหองเลี้ยงสัตวเทานั้น มีระบบปองกันการไหลยอนกลับของอากาศ เพ่ือปองกันมิใหความดันอากาศภายในเปนบวก

10. มีเครื่องนึ่งฆาเชื้อชนิด 2 ประตูติดตั้งในบริเวณที่ประตูดานหนึ่งสามารถเปดในบริเวณพ้ืนที่สะอาด ซึ่งอยูภายนอกหองเลี้ยงสัตว

11. มีชองสงของชนิด pass-through airlock สําหรับสงของที่ไมสามารถนึ่งฆาเชื้อได โดยติดตั้งระหวางหองเลี้ยงสัตว และพ้ืนที่สะอาดภายนอกกับหองเลี้ยงสัตว

12. ทุกกิจกรรมที่ปฏิบัติกับสัตวที่ไดรับเชื้อกลุมเสี่ยงที่ 4 ตองปฏิบัติภายใตการปองกันการแพรกระจายเชื้อขั้นสูงสุด ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 4 (BSL4)

Page 59: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 41

13. สัตวทุกตัวตองถูกเลี้ยงใน isolators

14. วัสดุรองนอน และของเสียทุกประเภทตองถูกฆาเชื้อกอนนําออกมาจากบริเวณหองเลี้ยงสัตว 15. ตองมีการดูแลทางการแพทยใหกับบุคลากร

Page 60: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

42 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 6 การจัดการลักษณะทางกายภาพของหองปฏิบัตกิาร (Laboratory Design)

โครงสรางของหองปฏิบัติการจัดเปนการควบคุมดานวิศวกรรม (engineering control) ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงสุดในการควบคุมความเสี่ยงทางชีวภาพและสนับสนุนใหเกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ โดยทั่วไปหองปฏิบัติการมักแบงพ้ืนที่การใชงานออกเปน 3 สวน คือ 1) พ้ืนที่สําหรับการปฏิบัติ งานทางวิทยาศาสตร เชน พ้ืนที่ทําการทดลอง 2) พื้นที่สําหรับปฏิบัติงานดานเอกสารและบริหาร เชน พ้ืนที่งานธุรการ งานคอมพิวเตอรบันทึกขอมูล และบริเวณจัดเก็บเอกสาร 3) พ้ืนที่สนับสนุนหองปฏิบัติการ เชน หองเก็บวัสดุอุปกรณ หองเย็น หองน้ํา หองลาง เปนตน อยางไรก็ตามหากจัดแบงพ้ืนที่ปฏิบัติงานตามระดับของความปลอดภัย สามารถแบงได ดังนี้

1. เขตปลอดภัย (safety zone) เปนพ้ืนที่ที่สะอาดปลอดภัยสําหรับผูปฏิบัติงาน เขตนี้ควรมีการเขาออกที่สะดวก ไมมีสิ่งกีดขวาง ไมวางเครื่องมือหรืออุปกรณที่เปนอันตราย ไดแก ประตูทางเขาออก หองพักเจาหนาที่ หองสํานักงาน หองเก็บอุปกรณ เปนตน

2. เขตอันตรายนอย (low-hazard zone) เปนพ้ืนที่ปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงจากอันตรายในระดับนอย โดยควรอยูระหวางเขตปลอดภัยกับเขตอันตรายมาก ลักษณะงานในเขตนี้ ไดแก การทดลองที่มีอันตรายนอย การเตรียมตัวอยาง การทํางานกับสารเคมีที่ไมระเหยงาย เปนพ้ืนที่ในการจัดวางสารเคมีที่อันตรายนอยหรือปานกลาง และเปนพ้ืนที่สําหรับการชําระลางเครื่องแกวและอุปกรณการทดลอง

3 เขตอันตรายมาก (high-hazard zone) ควรเปนพ้ืนที่ที่อยูดานในสุดของหองปฏิบัติการ หางจากบริเวณประตูเขาออก เปนเขตที่ตองปองกันการผานเขาออกของผูที่ไมเกี่ยวของ ลักษณะงานในเขตนี้ ไดแก การทดลองที่มีอันตรายมาก การทํางานกับสารเคมีที่ไวไฟและระเหยงาย การทํางานกับจุลชีพที่เปนอันตรายตอสุขภาพ ดังนั้นเขตนี้ตองมีสัญลักษณ เพ่ือใหบุคคลภายนอกไดรูวาเปนเขตจํากัด ควรมีอุปกรณที่ไวใชปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน เชน ตูชีวนิรภัย ตูดูดควัน ตูเก็บสารเคมีไวไฟ เปนตน

อยางไรก็ตาม การจัดสรรพ้ืนที่ตามระดับความปลอดภัยดังกลาวตองคํานึงถึง การบริหารพ้ืนที่ที่มีอยูใหเกิดความปลอดภัย โดยมีพ้ืนที่พอเพียงสําหรับปฏิบัติงาน ซึ่งตองอาศัยปจจัยในการพิจารณา ไดแก

1. ลักษณะและขอบขายงานที่ปฏิบัติ ตองพิจารณาวางานที่ทําอยูในหองปฏิบัติการนั้นเปนงานที่เกี่ยวของกับอะไรบาง เชน เปนการทดลองเกี่ยวกับพืช การทดลองเกี่ยวกับสัตว การทดลองเกี่ยวกับเชื้อจุลชีพ การทดลองที่ตองสัมผัสกับสิ่งสงตรวจ เปนตน เพ่ือที่จะไดจัดสรรและออกแบบพื้นที่ใหเหมาะสมสําหรับปฏิบัติงาน

Page 61: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 43

2. อุปกรณและเครื่องมือ เครื่องมือนับเปนสิ่งที่สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ การจัดวางเครื่องมือใหเหมาะสมกับพ้ืนที่ตองคํานึงถึงความจําเปนและความถี่ในการใชงาน กําลังไฟฟาที่เครื่องมือนั้นตองการ ขนาดและน้ําหนักของเครื่องมือที่โครงสรางอาคารสามารถรองรับได ความสะดวกในการขนยายหรือทําความสะอาด

3. จํานวนผูปฏิบัติงาน ควรจัดสรรพ้ืนที่ใหเหมาะสมและพอเพียงตอผูปฏิบัติงาน โดยตองแบงพ้ืนที่ของเจาหนาที่ท่ีทําการทดลองใหมากกวาพื้นท่ีของเจาหนาที่ที่ทํางานดานธุรการและเอกสาร

ลักษณะโครงสรางหลักของหองปฏิบัติการ ควรประกอบดวยดังนี้ 1. ทางเขาออก หากมีผูปฏิบัติงานคอนขางมากควรกําหนดและจัดระเบียบการเขาออก ควรแยกกัน

ระหวางประตูเขาและประตูออก อาจจัดพ้ืนที่สําหรับผูมาติดตอที่ไมมีสวนเกี่ยวของ โดยประตูควรปดตลอดเวลาในขณะปฏิบัติงาน อาจจัดหนวยรักษาความปลอดภัยเพ่ือดูแลการเขาออก หรืออาจใชระบบการเขาออกโดยระบบคียการด

2. ขนาดประตู ประตูหองปฏิบัติการตองมีขนาดกวางพอที่จะสามารถนําเครื่องมือขนาดใหญเขาออกไดสะดวก และสามารถเปดกวางเพ่ือใหผูคนเขาออกไดอยางสะดวกในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ประตูหองปฏิบัติการที่ดีควรเปนแบบ door and half คือเปนประตู 2 บาน โดยมีบานหนึ่งใหญอีกบานหนึ่งมีขนาดเล็ก บานที่มีขนาดใหญจะถูกใชเปดปดประจํา สวนบานเล็กจะถูกใชในกรณีมีการขนยายอุปกรณ

3. พื้นหองปฏิบัติการ พ้ืนหองตองสามารถรองรับเครื่องมืออุปกรณที่มีน้ําหนักมากได ควรผลิตดวยวัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทานตอสารเคมีที่เปนกรดและดางไดดี พ้ืนผิวตองไมลื่น สามารถทําความสะอาดไดงาย โดยทั่วไปมักเปนพื้นคอนกรีตหรือพ้ืนหินขัดที่ปูทับดวยแผนยางประเภท polyvinyl อีกชั้นหรือปูทับดวยพรมน้ํามันที่ไมมีรอยตอ สามารถลดอุบัติเหตุจากการสะดุดลมได

4. โตะปฏิบัติการ มีทั้งชนิดติดตั้งถาวรและชนิดเคลื่อนยายได ความสูงมาตรฐานของโตะ ประมาณ 29-30 นิ้ว (หากนั่งทํางาน) และ 36-37 นิ้ว (หากยืนทํางาน) ผลิตจากวัสดุที่คงทน ทนตอความรอน ทนตอการกัดกรอนของสารเคมี และทําความสะอาดงาย โดยที่นิยมสวนมากจะทําจากไมเนื้อแข็ง หินขัด ปูนซีเมนต และปูทับพ้ืนโตะดวยแผนฟอรมิกา (Formica) แผนโลหะ หรือ แผนพลาสติกชนิดพิเศษ พ้ืนโตะตองเรียบไรรอยตอเพ่ือปองกันการสะสมของสารพิษและเชื้อโรค

5. ระบบถายเทอากาศ ระบบการถายเทอากาศที่ดีจะชวยลดระดับของไอหรือควันจากสารเคมี ควรติดตั้งระบบดูดอากาศเสียจากภายในออกสูภายนอก เพ่ือปองกันการหมุนเวียนอากาศเสียภายในหองปฏิบัติการ ตําแหนงชองนําอากาศเขาตองหางจากที่เกิดอากาศเสียและชองระบายอากาศทิ้งไมนอยกวา 5 เมตร และอยูสูงไมนอยกวา 3 เมตร หองปฏิบัติการควรติดตั้งอุปกรณชวยลดอันตรายจากสารเคมีและเชื้อจุล

Page 62: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

44 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ชีพ (Local Exhaust Ventilation, LEV) เชน พัดลมดูดอากาศ ตูดูดควัน ตูชีวนิรภัยที่มีแผนกรอง HEPA ในการดักจุลชีพ ตลอดจนติดตั้งระบบดูดอากาศเสียจากภายในออกสูภายนอก เพ่ือปองกันการหมุนเวียนอากาศเสียภายในหองปฏิบัติการ

6. ระบบสาธารณูปโภค ซึ่งประกอบไปดวย ระบบน้ําประปา ไฟฟา แกส และระบบสื่อสาร ซึ่งมีความสําคัญสําหรับหองปฏิบัติการ จึงควรมีการวางแผนผังใหเหมาะสม เจาหนาที่ทุกคนควรทราบตําแหนงที่ตั้งและวิธีการเปดปดวาวลน้ํา แกส และแผงควบคุมวงจรไฟฟา เพ่ือสามารถเปดปดไดทันทีในกรณีเหตุฉุกเฉิน การออกแบบทอน้ํา ทอแกส หรือของเหลวประเภทอ่ืนไปตามทอ ควรมีการระบุลูกศรแสดงทิศทางการไหล รวมทั้งระบุชื่อในแตละทอวาเปนทอสําหรับสงผานสิ่งใด โดยกําหนดสีของตัวอักษรตามชนิดของสาร เชน สารเคมีอันตรายสูง (สารไวไฟสารที่มีแรงดันสูง สารเคมีที่ เปนพิษสูง สารกัมมันตภาพรังสี) ควรใชอักษรสีดําบนพ้ืนหลังสีเหลือง สารเคมีอันตรายนอย (เชน แกสหรือของเหลวผสม) ควรใชอักษรสีขาวบนพ้ืนหลังสีเขียวสารที่ใชดับเพลิง (น้ํา กาซคารบอนไดออกไซด) ควรใชอักษรสีขาวบนพ้ืนหลังสีแดง การติดตั้งระบบแกสควรเปนระบบนําสงตามทอจากหนวยกลาง ไมควรใชระบบแกสเปนถังยอย และควรมีการติดตั้งระบบตัดแกสอัตโนมัติ เพ่ือปองกันการเกิดแกสรั่วและการระเบิด

7. อางน้ํา หองปฏิบัติการควรมีอยางนอย 2 แหง ซึ่งแยกจากกัน โดยกําหนดจุดหนึ่งเปนอางลางมือเทานั้น อีกจุดหนึ่งใชสําหรับลางวัสดุอุปกรณ อางน้ําควรทํามาจากวัสดุที่ทนทานตอสารเคมี เชน สแตนเลส (stainless) โพลีโพรพิลีน (polyethylene) เปนตน ทอน้ําทิง้ควรแยกออกจากทอน้ําเสียทั่วไป ปลายทอน้ําทิ้งควรตอไปยังระบบบําบัดน้ําเสียกอนการสงออกไปยังภายนอก

8. ความสวาง ควรมีแสงสวางเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงาน เพ่ือปองกันความผิดพลาด และอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน หากเปนไดควรออกแบบอาคารใหรับแสงอาทิตยที่เพียงพอ เพ่ือประหยัดพลังงานโดยอาจมีหนาตางบานใหญ เพ่ือรับแสงอาทิตยไดเต็มที่ ความสวางที่เหมาะสมในหองปฏิบัติการไมควรนอยกวา 500-1,000 ลักซ ปริมาณแสงสวางอาจขึ้นอยูกับประเภทหองและจุดประสงคของการใชงาน เชน หองเก็บของอาจไมตองการแสงสวางมากเทากับหองปฏิบัติการ เพราะสารเคมบีางชนิดหามโดนแสง เปนตน

9. อุณหภูมิและความชื้น ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพ่ือใหมีอุณหภูมิที่เหมาะสมแกผูปฏิบัติงานและเครื่องมือ หองปฏิบัติการควรมีอุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 21-24 องศาเซลเซียสความชื้น 50 + 10% RH

10. ตูชีวนิรภัย (Biological safety cabinet) เปนอุปกรณควบคุมการไหลของอากาศที่ใหการปกปองสามประการ ไดแก ปกปองผูใชงาน ปกปองชิ้นงาน และปกปองสิ่งแวดลอม อาศัยการทํางานของอุปกรณที่สําคัญ 2 ชนิด ไดแก 1) มอเตอรพัดลมสําหรับควบคุมแรงลมและทิศทางการไหลของอากาศ และ

Page 63: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 45

2) แผนกรองประสิทธิภาพสูง (High efficiency particulate air filter; HEPA) สําหรับกรองอนุภาค เชน จุลชีพหรือฝุนผงที่ไมตองการใหปนเปอน แผนกรอง HEPA สําหรับใชในตูชีวนิรภัยจะตองมีประสิทธิภาพในการกรองอนุภาคขนาด 0.3 ไมครอนไดมากกวา 99.99% แผนกรอง HEPA ไมสามารถกรองไอระเหยสารเคมีได ตูชีวนิรภัยแบงยอยเปน 3 ประเภท ไดแก 1) ตูชีวนิรภัย Class I 2) ตูชีวนิรภัย Class II และ 3) ตูชีวนิรภัย Class III โดยตูชีวนิรภัยที่นิยมใชในหองปฏิบัติการมากที่สุด ไดแก ตูชีวนิรภัยชนิด Class II รายละเอียดของตูชีวนิรภัยแตละชนิดโปรดดูรายละเอียดในบทที่ 8 เครื่องมือที่มีผลตอความปลอดภัยทางชีวภาพ

ในบทนี้จะกลาวถึงเฉพาะตูชีวนิรภัยชนิด Class II ซึ่งแบงยอยออกไดอีก 4 ชนิด คือ Type A1, Type

A2, Type B1, และ Type B2 ซึ่งสรุปความแตกตางของแตละชนิดไวในตารางที่ 6.1

ตารางท่ี 6.1 คุณลักษณะและการใชงานที่เหมาะสมของตูชีวนิรภัย Class II

ตูชีวนิรภัย Class II Type

A1 A2 B1 B2

ความเร็วลมเขาหนาตู (ฟุตตอนาที)

75 100 100 100

ระบบหมุนเวียนอากาศใชภายในตู

ระบายออก 30%

ใชในตู 70%

ระบายออก 70%

ใชในตู 30%

ไมมีการหมุนเวียนระบายออกทั้งหมด

ลักษณะพิเศษภายนอก

- (อาจมี) ทอระบายอากาศแบบชุดฝาครอบดูดควัน (canopy) เปนระบบระบายอากาศเฉพาะจุด

จําเปนตองตอกับระบบระบายอากาศของอาคาร และเปนการเชื่อมตอแบบปดเทานั้น ตองมีระบบ interlock ซึ่งเปนกลไกปองกันในกรณีท่ีพัดลมระบายอากาศของอาคารระบายอากาศลดลงเกิน 20%

ใชสารเคมีท่ีมีไอระเหย สารเคมีอันตราย สารเคมีไวไฟ หรือ สารกัมมันตรังสี

ไมควรใช ใชไดปริมาณนอยแตตองเชื่อมกับระบบระบายอากาศผานฝาครอบดูดควัน

ใชไดปริมาณนอย ใชไดปริมาณมาก

Page 64: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

46 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

11. ตูดูดควัน (Fume hood) เปนเครื่องมือที่มีความจําเปนมากในหองปฏิบัติการ หากตองปฏิบัติงานกับสารเคมีหรือสารพิษ ตูดูดควันสวนใหญติดตั้งเขากับระบบระบายอากาศของตัวอาคาร ตูดูดควันสวนใหญประกอบดวยพัดลมดูดอากาศในทอดูดอากาศเสีย โดยใชระบบ negative pressure เพ่ือปองกันไมใหอากาศที่ปนเปอนเล็ดลอดไปได โดยทั่วไปมักใชกับการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับกรด ดาง สารทําละลาย ประตูตูอาจเปดแนวตั้ง (vertical sash) หรือประตูเปดแนวนอน (horizontal sash) การทํางานของตูดูดควันขึ้นกับคา face velocity ซึ่งเปนคาของอัตราความเร็วโดยเฉลี่ยของอากาศตอหนวยนาทีที่ไหลเขาไปในตูแบบตั้งฉากกับ hood face โดยอัตราที่เหมาะสม คือ 100-150 ฟุตตอนาที สําหรับการปฏิบัติงานกับสารเคมีที่มีอันตรายและความเปนพิษสูง สวนการปฏิบัติงานกับสารเคมีที่มีความเปนพิษนอยถึงปานกลาง อาจใชความเร็วที่อัตรา 80-100 ฟุตตอนาทีก็เพียงพอ และควรติดตั้งตูดูดควันไวบริเวณดานในสุดของหอง และตองหางจากประตู หนาตางหรือทางเดิน เพ่ือปองกันการเคลื่อนที่ของอากาศบริเวณประตู หนาตาง ซึ่งอาจรบกวนระบบไหลเวียนอากาศของตูดูดควันได และขณะใชตูดูดควันควรยืนหางจากตูอยางนอยประมาณ 6 นิ้ว ควรสวมถุงมือ แวนตานิรภัย และเสื้อคลุม ขณะปฏิบัติงานกับสารเคมีในตูดูดควัน และไมควรใชตูดูดควันเปนที่เก็บสารเคมีทุกชนิด

12. ตูเก็บสารเคมี วัสดุที่ใชทําตูสวนใหญ คือ โลหะชนิด epoxy-coated steel และพลาสติกชนิดpolyethylene แตสวนใหญมักนิยมกลุม epoxy-coated steel เพราะทนตอการกัดกรอนของสารเคมี ประตูตูอาจมีทั้งประตูเดี่ยวและประตูคู และตองมีการติดสัญลักษณใหทราบวาเปนสารเคมีประเภทใด หากตองเก็บสารเคมีประเภทไวไฟ ตูเก็บอาจทําดวย epoxy-coated steel แบบมีผนังหนาสองชั้นและบุดวยฉนวนกันไฟ หามเก็บสารเคมีโดยเรียงตามตัวอักษร ควรเก็บสารเคมีตามหลักการการเขากันได (compatible) การจัดเก็บสารเคมีไวไฟสามารถวางรวมกับสารกลุมเดียวกันไดแตไมเกิน 5 ขวด (ขวดละ 1 แกลลอน) และควรวางหางจากแหลงกําเนิดความรอน เชน ตูเย็น เครื่องใชไฟฟา ตําแหนงที่ตั้งของตูเก็บสารเคมีไมควรอยูใกลประตู ภาชนะบรรจุที่เปนแกวควรวางไวชั้นลางสุดของตู

13. อุปกรณลางตาฉุกเฉิน (Emergency eye wash) ควรติดไวประจําที่และจําเปนตองมีวางอยูหางจากที่ปฏิบัติงานประมาณ 25-50 ฟุต หรือใชเวลาสามารถเขาถึงจุดไดภายใน 10 วินาที และระหวางทางไมควรมีสิ่งกีดขวาง การเปดน้ําอาจใชระบบเปดดวยเทา (foot paddle) หรือใชมือผลัก (push bar) ควรใหน้ําพนเขาตาผานทางฐานจมูก โดยไมใหน้ําพุงเขาลูกตาโดยตรง และใชนิ้วบังคับเปลือกตาเพ่ือใหน้ําลางตาไดทั่วถึง หัวพนน้ําควรที่จะมีฝาครอบปองกันฝุนละอองและควรทําความสะอาดอยางสม่ําเสมอโดยการ flush น้ําทิ้งอยางนอยสัปดาหละครั้ง

Page 65: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 47

14. ฝกบัวฉุกเฉิน (Deluge shower) ควรติดตั้งในบริเวณเดียวกันกับเครื่องลางตาหรือตําแหนงที่สามารถเขาถึงไดภายใน 10 วินาที ฝกบัวควรสูงจากพ้ืนประมาณ 7-8 ฟุต หางจากกําแพงอยางนอย 25 นิ้ว การเปดฝกบัวอาจใชตัวผลัก (paddle) หรือใชการดึงโซ ฝกบัวฉุกเฉินมีอยู 3 แบบ คือ

14.1 แบบยึดติดกับฝาผนัง (ceiling / wall type) โดยน้ําจะไหลลงศีรษะอยางตอเนื่อง 14.2 แบบที่เปนสายยางฉีดตัวรวมกับฝกบัว (wall-mounted drench hose) โดยการใช

งานสามารถฉีดลางเฉพาะบริเวณท่ีเปอนได 14.3 แบบฝกบัวฉุกเฉินที่ติดตั้งคูกับเครื่องลางตา ( floor-mounted emergency

combination) สามารถชําระลางไดทั้งตา ใบหนา และลําตัวในเวลาเดียวกัน

15. ระบบเตือนภัย ตองมีการติดตั้งระบบเตือนภัยคูกับถังดับเพลิงในหองปฏิบัติการ ระบบเตือนภัยที่ดีตองสงเสียงดังไดทั่วอาคาร อาจเปนเสียงกระดิ่งหรือเสียงระฆัง และอาจมีไฟสีแดงกระพริบ โดยระบบเตือนภัยประกอบดวย 2 สวนที่สําคัญ คือ

15.1 กลองกระตุนใหกระดิ่งหรือสัญญาณทํางานที่เรียกวา“pullstation” จะมีสีแดงมีทั้งลักษณะเปนรูปตัวที (T) กระตุนการทํางาน โดยดึงกานตัวทีลงมาตรงๆ หรืออีกแบบจะมีลักษณะเปนตัวที แตจะมีกระจกกั้น ตองใชคอนหรือโลหะทุบกระจกกอนถึงจะสามารถดึงตัวทีได

15.2 สวนที่สองเปนสวนที่เปนกระดิ่งหรือระฆังเตือนภัย จะมีสีแดงหรือสีน้ําเงิน ติดตั้งไวบนกําแพงเหนือกลอง pullstation โดยสามารถสงเสียงและมีไฟกระพริบในขณะที่กระดิ่งดัง

16. ชุดอุปกรณดับเพลิง ในหองปฏิบัติการมีอยูสองแบบ คือ ชนิดติดตั้งถาวร ไดแก น้ําพุเพดานแบบอัตโนมัติ และชนิดเคลื่อนยายได ประกอบดวย ชุดทอประปาดับเพลิง (fire hose) และถังดับเพลิง ทั้งสองชนิดควรเก็บไวในตูที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนและไมควรล็อคตู สายทอประปาตองมีความยาวอยางนอย 100 ฟุต สวนถังดับเพลิงมีอยูหลายประเภท ขึ้นอยูกับตนกําเนิดของเพลิง ซึ่งควรจัดหาชนิดของถังดับเพลิงที่เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ ประเภทของเพลิงสามารถแบงได ดังนี้

16.1 ไฟประเภท A ไดแก เพลิงที่เกิดข้ึนจากวัสดุติดไฟทั่วไป เชน ผา กระดาษ และพลาสติก ไฟประเภทนี้ดับไดดวยการใชน้ําฉีดเปนฝอย

16.2 ไฟประเภท B ไดแก เพลิงที่เกิดจากของเหลวหรือแกส เชน น้ํามัน แกส จาระบี และสิ่งที่ใชสําหรับลางละลายทําความสะอาด ดับไดดวยวิธีปองกันไมใหอากาศเขาไปรวมกับเชื้ อ เพลิ ง หรื อลดอุณหภูมิ ของ เชื้ อ เพลิ ง โดยใช โฟมผง เคมีฮาลอน หรื อคารบอนไดออกไซด

Page 66: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

48 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

16.3 ไฟประเภท C ไดแก เพลิงที่เกิดจากอุปกรณเครื่องมือไฟฟา การดับไฟตองพยายามตัดวงจรไฟฟาเสียกอน เพ่ือลดอันตรายลง การดับไฟตองใชสารเคมีที่ไมเปนสื่อไฟฟา เชนฮาลอน คารบอนไดออกไซด หรือเคมีแหง

16.4 ไฟประเภท D ไดแก เพลิงที่เกิดจากวัสดุจําพวกโลหะติดไฟ เชน แมกนีเซียม โซเดียมโปตัสเซียม ลักษณะการลุกไหมใหความรอนสูงรุนแรงมาก การดับเพลิงประเภทนี้ใหใชสารเคมีจําพวกเกลือแกง หรือทรายแหง

ตารางท่ี 6.2 รายละเอียดของถังดับเพลิงแตละชนิด

ถังดับเพลิง รายละเอียด

ถังดับเพลิงชนิด BF2000 การฉีดออกเปนแกสเหลวระเหย สามารถใชไดกับไฟชนิด A B และ C

เหมาะสําหรับสถานที่ที่ใชอุปกรณคอมพิวเตอร และอุปกรณสื่อสารในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส เรือ เครื่องบิน และรถถัง

ถังดับเพลิงชนิดแกคารบอนไดออกไซด (CO2)

ลักษณะน้ํายาที่ออกมาเวลาฉีดจะเปนหมอกหิมะที่ไลความรอนและออกซิเจน สามารถใชกับไฟชนิด B และ C เหมาะสําหรับใชภายในอาคาร ไฟที่เกิดจากแกส น้ํามัน และไฟฟา

ถังดับเพลิงชนิด HCFC–123 ลักษณะการฉีดออกเปนแกสเหลวระเหย น้ํายาชนิดนี้สามารถใชกับไฟชนิด A B และ C เหมาะสําหรับใชกับสถานที่ที่ใชอุปกรณคอมพิวเตอร และอุปกรณสื่อสารในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส เรือ เครื่องบิน และรถถัง

17. ทางหนีไฟ การกําหนดขนาดและจํานวนของประตูหนีไฟ ขึ้นกับสถานที่ตั้ง ขนาดของอาคาร และจํานวนผูปฏิบัติงาน ในแตละชั้นควรมีทางหนีไฟอยางนอยสองทางที่แยกกัน ทางหนีไฟควรมีระยะทางที่สั้นที่สุดที่สามารถนําออกไปสูภายนอกอาคารไดเร็วที่สุด และปายแสดงทางหนีไฟควรมีโคมไฟสวางในตัว ในเวลาปกติตลอดเวลาที่มีคนใชอาคาร โดยปายที่ใชควรเปนไปตามมาตรฐาน เชน สมอ. หากเปนหองปฏิบัติการที่ตั้งอยูในอาคารที่มีมากกวา 2 ชั้น ประตูหองปฏิบัติการตองสามารถเปดไปสูโถงทางเดินกลางได และสามารถนําไปยังประตูหนีไฟไดทันที ตามพ้ืนทางเดินและฝาผนังควรมีการแสดงสัญลักษณลูกศรนําทางเพ่ือใหผูปฏิบัติงานทราบวาประตูหนีไฟอยูในทิศทางใด ประตูหนีไฟควรทําจากวัสดุทนไฟ หรือเปนโลหะที่ทนไฟไดดี และควรปดอยูเสมอ รวมทั้งแสดงสัญลักษณบริเวณประตูหนีไฟวา “ทางออก” หรือ “Exit” จัดใหมีปายบอกทางออกฉุกเฉินภายในหองปฏิบัติการ ซึ่งเปนปายที่ใชแสดงทางออกฉุกเฉินหรือทางหนีภัย

Page 67: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 49

บทที่ 7 ระบบบรหิารจัดการความม่ันคงและความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย (Medical Laboratory

Biosafety and Biosecurity Management) ระบบบริหารจัดการความมั่นคงและความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย ตอง

ประกอบดวย 4 องคประกอบ ดังนี้ 1. นโยบายความปลอดภัย 2. แผนบริหารจัดการความปลอดภัย

3. การมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบ 4. การฝกอบรม

7.1 นโยบายความปลอดภัย ผูบริหารระดับสูงขององคกรตองกําหนด อนุมัติ ลงนาม และประกาศนโยบายความมั่นคงและความ

ปลอดภัยของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย เพ่ือแสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นที่จะสนับสนุนการบริหารจัดการใหเกิดความปลอดภัยตอบุคลากรผูปฏิบัติงาน หนวยงานที่เกี่ยวของ ชุมชนและสิ่งแวดลอม นโยบายความปลอดภัยตองกลาวถึง วัตถุประสงค แผนงานหรือยุทธศาสตรที่ตรงเปาและชัดเจน ดําเนินการไดจริง และมีการกํากับดูแลความปลอดภัยในทุกระดับใหเปนไปในทิศทางเดียวกันจนบรรลุเปาหมาย ทั้งนี้ตองเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย โดยนโยบายจะตองระบุวัตถุประสงคอยางชัดเจนในหัวขอ ดังตอไปนี้

1. หองปฏิบัติการมีการบริหารจัดการความเสี่ยง ในการทํางานกับสารชีวภาพอันตรายที่มีประสิทธิภาพ สามารถปกปองบุคลากร ผูเกี่ยวของ ผูมาใชบริการ ชุมชนและสิ่งแวดลอมจากสารชีวภาพอันตรายที่จัดเก็บหรือดําเนินการภายในหองปฏิบัติการ

2. ลดความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากการหลุดรอดของสารชีวภาพอันตรายออกจากหองปฏิบัติการโดยไมตั้งใจ หรือ ถูกลักลอบขโมยออกจากหองปฏิบัติการ

3. ปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมายทั้งหมดที่เก่ียวของกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 4. มีการสื่อสารความเสี่ยงดานชีวภาพใหกับบุคลากรทุกระดับอยางมีประสิทธิภาพ

5. มีการปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความปลอดภัยดานชีวภาพอยางตอเนื่อง

Page 68: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

50 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

7.2 แผนบริหารจัดการความปลอดภัย ผูบริหารระดับสูงขององคกรตองดําเนินการใหมีการจัดทําแผนและอนุมัติแผนการพัฒนาระบบบริหาร

ความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการขององคกร อาจจัดทําเปนแผนระยะยาว 3 หรือ 5 ป แตตองมีแผนปฏิบัติการประจําปทุกป

การจัดทําแผนพัฒนาระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการขององคกร เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค ดังนี้

1. ขอกําหนดที่ประเทศไทยตองดําเนินการตามกฎอนามัยระหวางประเทศ (International health

regulation) และกฎหมายอ่ืน

2. พัฒนาหองปฏิบัติการสูมาตรฐานสากล

3. นํานโยบายความปลอดภัยขององคกรไปสูการปฏิบัติที่บรรลุวัตถุประสงคของนโยบาย

4. ลดความเสี่ยงอันตรายกับการทํางานกับสารชีวภาพอันตราย

5. แกไขขอบกพรองที่ไดรับจากการถูกตรวจติดตามจากองคกรภายนอก

6. พัฒนาองคกรอยางตอเนื่องและยั่งยืน

แผนพัฒนาระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการประจําปจะตองระบุ: กิจกรรม วัตถุประสงค ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม ผูรับผิดชอบ และงบประมาณดําเนินการ

นอกจากการจัดทําแผนพัฒนาระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการขององคกร หองปฏิบัติการและหนวยงานสนับสนุนที่เกี่ยวของตองจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปในสวนที่เกี่ยวของของตนเอง เพ่ือใหมั่นใจวาแผนพัฒนาระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการขององคกรบรรลุวัตถุประสงคและดําเนินการครบถวนตามแผน

7.3 การมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบ ผูบริหารระดับสูงขององคกรมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยใหแกเจาหนาที่

ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ (laboratory safety officer) หัวหนาหองปฏิบัติการ เจาหนาหองปฏิบัติการ เจาหนาที่บริหารทั่วไป และเจาหนาที่ทุกระดับ เพ่ือใหบุคลากรทุกคนตระหนักและมีสวนรวมในการพัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยขององคกร

7.3.1 เจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ (Laboratory safety officer) ผูบริหารระดับสูงขององคกรตองแตงตั้งเจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ อาจแตงตั้งเปน

รายบุคคลหรือกลุมบุคคล ตามความเหมาะสมกับขนาดและภารกิจของหนวยงาน หรืออยางนอยจํานวน 1 คน เจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการตองมีคุณสมบัติ

Page 69: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 51

(1) มีประสบการณทํางานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยอยางตอเนื่องมาไมนอยกวา 2 ป มีความรูและความชํานาญในการทํางานกับสารชีวภาพอันตราย

(2) มีความรู ประสบการณ และผานการอบรมเรื่องความปลอดภัยดานชีวภาพหรือการปฏิบัติงานกับสารชีวภาพอันตราย หนาที่ของเจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ มีดังนี้

7.3.1.1 ประสานงาน และขับ เคลื่ อนการดํ า เนินงานดานความมั่ นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการใหบรรลุผลสําเร็จตามนโยบายของหนวยงาน และเพ่ือใหเปนไปตามขอกําหนดกฎหมายและมาตรฐานสากล

7.3.1.2 จัดทําแผนการพัฒนาระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการขององคกร และขับเคลื่อนใหมีการดําเนินการตามแผน

7.3.1.3 ใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติดานความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ การจัดทําเอกสารหรือมาตรฐานวิธีปฏิบัติงาน ในสวนที่เกี่ยวของกับวิธีปฏิบัติดานความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ

7.3.1.4 สนับสนุนและใหความรวมมือกับเจาหนาที่หองปฏิบัติการในการประเมินความเสี่ยงหองปฏิบัติการ (laboratory risk assessment)

7.3.1.5 ประสานงานจัดการฝกอบรม และการตรวจประเมินความปลอดภัยของหองปฏิบัติการ

7.3.1.6 รับแจงเหตุ ดําเนินการจัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุฉุกเฉินเรงดวน ที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยของหองปฏิบัติการ ประสานงานสืบสวนหาสาเหตุ ติดตามการปองกันแกไข และรายงานผลตรงตอผูอํานวยการหรือหัวหนาหนวยงาน

7.3.2 หัวหนาหองปฏิบัติการ หนาที่ ดังนี้ 7.3.2.1 ประสานงานกับเจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ เพ่ือขับเคลื่อนการ

ดําเนินงานบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการใหบรรลุผลสําเร็จตามนโยบายและแผนการพัฒนาระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยหองปฏิบัติการขององคกร และใหเปนไปตามขอกําหนดกฎหมายและมาตรฐานสากล

7.3.2.2 จัดทําแผนพัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยของหองปฏิบัติการประจําป และขับเคลื่อนใหมีการดําเนินการตามแผน

7.3.2.3 บริหารจัดการ ควบคุม กํากับ ตรวจสอบ ติดตามผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ภายในหองปฏิบัติการ ใหเปนไปตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเรื่องความปลอดภัยของหนวยงาน ตามขอกําหนดของกฎหมายและมาตรฐานสากล

Page 70: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

52 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

7.3.2.4 ประเมินความเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในการทํางานกับสารชีวภาพอันตราย และจัดทําแผนลดความเสี่ยงและบริหารความเสี่ยง

7.3.2.5 จัดทําวิธีปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการทํางานกับสารชีวภาพอันตราย เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน

7.3.2.6 ฝกอบรมวิธีปฏิบัติเรื่องความปลอดภัยแกเจาหนาที่ในหองปฏิบัติการ กอนอนุญาตใหลงมือปฏิบัติงานจริง และติดตามประเมินผลการปฏิบัติอยางสม่ําเสมอเปนประจํา

7.3.2.7 สนับสนุนและอํานวยความสะดวกในการตรวจประเมินความปลอดภัยหองปฏิบัติการตามระยะเวลาที่กําหนดในแผนของหนวยงาน

7.3.2.8 ดําเนินการจัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุฉุกเฉินเรงดวน ที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยของหองปฏิบัติการ ประสานงานสืบสวนหาสาเหตุ ติดตามการปองกันแกไข และรายงานผลตรงตอผูอํานวยการหรือหัวหนาหนวยงาน

7.3.3 เจาหนาที่หองปฏิบัติการ หนาที่ ดังนี้ 7.3.3.1 ปฏิบัติตามระเบียบ วิธีการ มาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับ

สารชีวภาพอันตราย 7.3.3.2 ใหความรวมมือและปฏิบัติตามแผนพัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยประจําป

ของหองปฏิบัติการ และของหนวยงาน

7.3.3.3 รายงานความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในหองปฏิบัติการตอหัวหนาหองปฏิบัติการ

7.3.4 เจาหนาที่บริหารทั่วไปและนายชางเทคนิค

ผูบริหารระดับสูงขององคกร มอบหมายเจาหนาที่บริหารทั่วไป และ/หรือนายชางเทคนิค เพ่ือรับผิดชอบหนาที่เรื่องระบบบริหารความปลอดภัย ดังนี้

7.3.4.1 ประสานงานกับเจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการและหัวหนาหองปฏิบัติการ เพ่ือบริหารจัดการและขับเคลื่อนระบบความปลอดภัยหองปฏิบัติการตามนโยบายและแผนของหนวยงาน

7.3.4.2 บริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยอาคารสถานที่ การควบคุมการเขาออก และการปองกันอัคคีภัย โจรภัย และอุทกภัย

Page 71: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 53

7.3.4.3 จัดระบบสาธารณูปโภค (น้ําประปา ไฟฟา และโทรศัพท) กํากับดูแล และตรวจสอบ ใหพรอมใชงาน

7.3.4.4 จัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุฉุกเฉินเรงดวน

7.4 การฝกอบรม บุคลากรทุกคนของหนวยงานตองไดรับการฝกอบรมเรื่องความปลอดภัยในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับหนาที่ความรับผิดชอบ กอนอนุญาตใหเริ่มปฏิบัติงานจริง และตองไดรับการฝกอบรมซ้ําทุกป เพ่ือสรางจิตสํานึกในเรื่องความปลอดภัยใหแกผูปฏิบัติงาน และเพ่ือใหมั่นใจวาจะทํางานไดอยางถูกตองปลอดภัย

หัวหนาหองปฏิบัติการ หัวหนาหนวยงานสนับสนุน และเจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการ รวมกันพิจารณาและจัดทําแผนการฝกอบรม โดยพิจารณา ดังนี้

1. ประเมินความตองการเรื่องที่ตองอบรม โดยกําหนดและจําแนกภาระงานที่เกี่ยวของ จัดลําดับความสําคัญของงาน และรายละเอียดของขั้นตอนที่จําเปนหรือตองระวังเปนพิเศษ

2. การกําหนดวัตถุประสงคการฝกอบรม วัตถุประสงคอาจตอบรับสภาวการณภายใตกิจกรรมที่ระดับปฏิบัติและระดับความชํานาญตองการ

3. การกําหนดเนื้อหาและสื่อการฝกอบรม ใหเหมาะสมกับลักษณะงานหรือประเภทของกลุมผูรับการอบรม ตัวอยางหัวขอการอบรมความปลอดภัย เชน

x ชนิดหรือประเภทอันตราย (กายภาพ เคมี รังสี สารชีวภาพ) x ความรูเบื้องตนระบบความมั่นคงและความปลอดภัยทางชีวภาพ

x ระเบียบปฏิบัติเรื่องความปลอดภัย

x ความปลอดภัยในการทํางานกับตัวอยางจากผูปวยและจุลชีพกอโรค

x การเลือกชนิดและวิธีการสวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคล

x วิธีทําลายเชื้อ

x การเลือกและใชน้ํายาฆาเชื้อ

x การจัดการขยะและของเสียจากหองปฏิบัติการ

x การขนสงวัตถุตัวอยางอันตราย

x การใชเครื่องมือ

x การจัดการสารเคมี สารชีวภาพอันตราย และตัวอยางผูปวย แตกหักหรือหกหลน

Page 72: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

54 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

4. การประเมินผลการฝกอบรม ตองมีการประเมินความเขาใจของบุคลากรและประเมินผลการฝกอบรม เพ่ือชวยในการตัดสินไดวาการฝกอบรมบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม การประเมินผลการฝกอบรมสามารถทําได 4 รูปแบบ คือ

x วัดการตอบสนองของผูเขารับการฝกอบรมตอการสอน

x การวัดความจํา และ/หรือการปฏิบัติงานของผูเขารับการฝกอบรม

x การประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน

x การวัดผลที่เปนรูปธรรมในแงของวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคกร

ตองจัดทําบันทึกและเก็บขอมูลประวัติ ผลการฝกอบรมไว เ พ่ือยืนยันและแสดงใหเห็นถึงระดับของความสามารถของบุคลากร

5. การทบทวนการฝกอบรม เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการสอนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือการใชเทคนิคการสอนอื่น หรือการเลือกผูสอนที่มีความสามารถมากขึ้น

เจาหนาที่หองปฏิบัติการ และเจาหนาที่เก็บตัวอยาง รับตัวอยาง และขนสงตัวอยางผูปวยโรคอันตรายรายแรง ตองไดรับการอบรมความปลอดภัยในการทํางานเชื้อโรคอันตรายรายแรง และตองมีการประเมินความรู ความสามารถในเรื่องความปลอดภัยในการทํางานกอนปฏิบัติงานจริง หากไมผานการประเมินตองไดรับการอบรมซ้ํา

เจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการและหัวหนาหองปฏิบัติการ ตองไดรับการอบรมเรื่องความปลอดภัยอยางตอเนื่อง อยางนอยปละครั้ง โดยเฉพาะเจาหนาที่ความปลอดภัยหองปฏิบัติการตองไดรับการอบรมตามกรอบเนื้อหาสาระที่กรมวิทยาศาสตรการแพทยกําหนด ภายใตกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว

Page 73: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 55

บทที่ 8 เครื่องมือที่มีผลตอความปลอดภัยทางชีวภาพ

(Safety Equipment) เครื่องมือถือเปนสวนหนึ่งของการควบคุมดานวิศวกรรมวัตถุประสงค เพ่ือกักกันจุลชีพกอโรคในหองปฏิบัติการไมใหหลุดรอดและเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน ผูรวมงานและสิ่งแวดลอม การหลุดรอดของ จุลชีพ ขณะใชเครื่องมือมักเกิดจากสาเหตุ ดังนี้

1. การใชเครื่องมือผิดประเภท ไมเหมาะสม

2. การใชเครื่องมือผิดวิธี 3. การใชเครื่องมือที่มีความบกพรอง

เครื่องมือที่เก่ียวของกับความปลอดภัยในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยที่ใชกันมาก ไดแก 1. ประเภทที่ใชการควบคุมแรงลม ไดแก ตูดูดควัน (fume hood) ตูชีวนิรภัย (biological safety

cabinet; BSC) 2. ประเภทที่ใชความรอน ไดแก เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง (autoclave) ตูอบความรอน (hot air

oven)

ในคูมือนี้ขอกลาวเฉพาะตูดูดควัน ตูชีวนิรภัย และเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง

8.1 ตูดูดควัน เปนอุปกรณควบคุมการไหลของอากาศที่ออกแบบมาสําหรับใชงานกับสารเคมีอันตราย สารเคมีไอระเหย หรือสารเคมีไวไฟ เพ่ือปกปองผูใชงาน ตูดูดควัน มี 2 ชนิด คือ

1. ชนิดที่ตอกับทอระบายอากาศของอาคาร ซึ่งอาศัยการดูดไอระเหยสารเคมีออกจากพ้ืนที่ปฏิบัติงานผานระบบระบายอากาศของอาคาร ไอระเหยสารเคมีจะถูกเจือจางโดยอากาศภายนอก ขอควรระวังของตู ดูดควันแบบนี้ คือ ตองมั่นใจวาระบบระบายอากาศของอาคารมีประสิทธิภาพเหมาะสม

2. ชนิดที่ดูดซับไอระเหยสารเคมีดวย activated charcoal จึงไมตองตอทอเขากับระบบระบายอากาศ

ขอควรระวังของตูดูดควัน คือ ไมควรใชตูดูดควันกับงานท่ีตองการความสะอาด หรือการปฏิบัติงานกับจุลชีพกอโรค เพราะไมมีระบบปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค หรือปองกันการปนเปอนชิ้นงาน

8.2 ตูชีวนิรภัย เปนอุปกรณที่ควบคุมการไหลของอากาศ ที่อาศัยหลักการทํางานของมอเตอรพัดลมและแผนกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (High Efficiency Particulate Air; HEPA) ซึ่งมอเตอรพัดลมจะเปนตัวดูดและควบคุมแรงดันลมภายในตูใหอยูในสภาวะที่เหมาะสม สวนแผนกรอง HEPA จะชวยกรองไมใหเชื้อจุลชีพจากการ

Page 74: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

56 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ปฏิบัติงานภายในตูหลุดออกสูภายนอก ซึ่งเปนการปองกันอันตรายใหกับตัวผูปฏิบัติงาน ผูรวมงาน และสิ่งแวดลอม แผนกรองอากาศมีพับซอนกันและบรรจุไวในกรอบแข็ง มีคุณสมบัติในการกรองอนุภาค แผนกรองโดยทั่วไป เชน แผนกรองอากาศสําหรับ clean room จะมีประสิทธิภาพในการกรองอนุภาคขนาด 0.3 ไมครอนได 99.97 % แตสําหรับแผนกรองอากาศที่ใชกับตูชีวนิรภัยจะตองมีคุณสมบัติในกรองอนุภาคขนาด 0.3 ไมครอนไดถึง 99.99 % ตูชีวนิรภัย มี 3 ประเภท คือ Class I, Class II, และ Class III ซึ่งรายละเอียดในแตละ Class สรุปได ดังนี้

8.2.1 ตูชีวนิรภัย Class I ตูชนิดนี้อากาศจากภายนอกตูจะไหลผานเขามาภายในตูกอนระบายออกสูดานนอก ทําใหไมสามารถปกปองชิ้นงานและปองกัน cross contamination แตสามารถปกปองผูใชงาน และปกปองสิ่งแวดลอมได โดยอากาศที่ออกจากตูจะผาน HEPA filter กอนปลอยออก สามารถใชปฏิบัติงานกับจุลชีพในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1-3 ที่มีลักษณะงานไมตองการการปกปองชิ้นงานจากการปนเปอน และไมใชกับสารเคมี ความเร็วอากาศผานเขาตู อยางนอย 75 ฟุตตอนาที

รูปที่ 8.1 ตูชีวนิรภัย Class I ที่มา http://ehs.uky.edu/

Page 75: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 57

8.2.2 ตูชีวนิรภัย Class II เปนตูชีวนิรภัยชนิดที่นิยมใชในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยมากที่สุด เนื่องจากสามารถปกปองผูใชงาน ชิ้นงาน และสิ่งแวดลอม โดยอากาศที่ไหลเขาดานหนาตู (inward

airflow) จะถูกดูดลงตรงตะแกรงดานหนา ซึ่งเปนการสรางมานอากาศ เพ่ือปองกันไมใหจุลชีพภายในตูแพรกระจายออกไปสูผูใชงาน สวนการปกปองชิ้นงานนั้น อากาศที่ไหลลงสูพ้ืนที่ปฏิบัติงาน (downward

airflow) เปนอากาศสะอาดที่ถูกกรองดวยแผนกรอง HEPA และไหลแยกเปนสองกระแสลงทางตะแกรงดานหนาและดานหลัง เพ่ือปองกันชิ้นงานจากการปนเปอนและปองกัน cross contamination ระหวางชิ้นงาน ในดานการปกปองสิ่งแวดลอม อากาศที่ปนเปอนจากพ้ืนที่ปฏิบัติงานจะถูกกรองดวยแผนกรอง HEPA

กอนถูกปลอยออกสูสิ่งแวดลอม ตูชนิดนี้สามารถใชปฏิบัติงานกับจุลชีพในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 1-3 และ ใชในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 อยางมีเงื่อนไข

รูปที่ 8.2 ตูชีวนิรภัย Class II ที่มา http://ars.usda.gov/sp2userfiles/

Page 76: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

58 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตูชีวนิรภัย Class II แบงออกได 4 ชนิด คือ Class II Type A1, Class II Type A2, Class II Type

B1 และ Class II Type B2

8.2.2.1 ตูชีวนิรภัย Class II Type A1 มีความเร็วลมผานเขาหนาตูอยางนอย 75 ฟุตตอนาที ระบายอากาศออก 30% หมุนเวียนอากาศภายในตู 70% BSC Class II

Type A1 ที่ผลิตหลังป พ.ศ. 2551 จะมีการเพ่ิมชองความดันอากาศลบลอมรอบทางเดินอากาศรวมที่ปนเปอน เพ่ือปองกันการรั่วไหลของจุลชีพหากมีรอยรั่วที่ตูชีวนิรภัย ไมควรใชตูชนิดนี้กับงานดานจุลชีพที่มีการใชสารเคมีอันตราย สารเคมีไอระเหย หรือสารกัมมันตรังสีรวมดวย

8.2.2.2 ตูชีวนิรภัย Class II Type A2 มีความเร็วลมผานเขาหนาตูเพ่ิมขึ้นจาก Type A1 เปนอยางนอย 100 ฟุตตอนาที ระบายอากาศออก 30% หมุนเวียนอากาศภายในตู 70% BSC Class II Type A2 ตองมีชองความดันอากาศลบลอมรอบทางเดินอากาศรวมที่ปนเปอน เพ่ือปองกันการกระจายของจุลชีพหากตูรั่ว ตูชนิดนี้สามารถตอกับระบบระบายอากาศผานชุดฝาครอบดูดควัน (canopy) ได จึงสามารถใชกับงานดานจุลชีพที่มีการใชสารเคมีไอระเหย สารเคมีอันตราย สารเคมีไวไฟ หรือสารกัมมันตรังสีรวมดวย แตตองในปริมาณนอยเทานั้น และถาตองใชงานดังกลาวตูจะตองตอกับระบบระบายอากาศของอาคาร เพ่ือระบายไอระเหยสารเคมีออกไปนอกตัวอาคาร การเชื่อมตอตองใชชุดฝาครอบดูดควันเทานั้น หามเชื่อมตอแบบปดเด็ดขาด โดยชุดฝาครอบดูดควันจะมีชองเปด เพ่ือดูดเอาอากาศภายในหองเขาไปในทอระบายอากาศ ซึ่งทําหนาที่เปนเหมือนกลไกในการปองกันไมใหไอระเหยสารเคมีหลุดออกไปในหองปฏิบัติการ และมีกลไกปองกันในกรณีที่ระบบระบายอากาศของอาคารไมทํางาน เพ่ือใหตูชีวนิรภัยยังสามารถปองกันการรั่วไหลของจุลชีพได ตูชีวนิรภัย Class II Type B มีความเร็วลมผานเขาหนาตูอยางนอย 100 ฟุตตอนาที พัดลมภายในตูชีวนิรภัย ทําหนาที่ในการดูดอากาศเขามาในตูหรือหมุนเวียนอากาศในตู แตไมมีหนาที่ในการระบายอากาศออกจากตู การระบายอากาศออกจากตัวตูตองอาศัยพัดลมอีกตัว ไดแก พัดลมระบายอากาศของอาคาร ทําใหตูชีวนิรภัยชนิดนี้จําเปนตองตอกับระบบระบายอากาศของอาคาร และเปนการเชื่อมตอแบบปดเทานั้น ซึ่งตองมีระบบ interlock ซึ่งเปนกลไกปองกัน ในกรณีที่พัดลมระบายอากาศของอาคารระบายอากาศลดลงเกิน 20% ระบบ interlock จะตัดการทํางานของพัดลมภายในตูชีวนิรภัย เพ่ือปองกันไมใหเกิดการ

Page 77: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 59

เปาลมจากพ้ืนที่ปฏิบัติงานออกทางชองเปดดานหนาตูกอใหเกิดจุลชีพรั่วไหล ตูชนิดนี้แบงยอยออกเปน 2 ชนิด คือ Class II Type B1 และ Class II Type B2

8.2.2.3 ตูชีวนิรภัย Class II Type B1 เปนตูชีวนิรภัยที่มีการนําอากาศมาไหลเวียนภายในตู30% และระบายอากาศออก 70% อากาศที่นํากลับมาไหลเวียนภายในตูและอากาศที่ระบายออกจากตูจะถูกกรองดวยแผนกรอง HEPA กอน สามารถใชกับงานดานจุลชีพที่ตองมีการใชสารเคมีที่มีไอระเหย สารเคมีอันตราย สารเคมีไวไฟ หรือสารกัมมันตรังสีรวมดวยได แตควรใชเพียงปริมาณนอย ถาหากมีการใชงานดานสารเคมีหรือสารกัมมันตรังสีในปริมาณมากควรใชตูชีวนิรภัยชนิด Class II

Type B2

8.2.2.4 ตูชีวนิรภัย Class II Type B2 เปนตูชีวนิรภัยที่ไมมีการหมุนเวียนอากาศกลับมาใชภายในตู อากาศที่ไหลเขาตูจะถูกระบายออก 100% และอาศัยพัดลมระบายอากาศของอาคารในการระบายอากาศออกจากตู จึงตองตอกับระบบระบายอากาศและเปนการเชื่อมตอแบบปดเทานั้น ตูชนิดนี้เหมาะสําหรับใชกับงานดานจุลชีพที่มีการใชสารเคมีหรือสารกัมมันตรังสีรวมดวยในปริมาณมาก หรือมีการใชสารเคมีกับงานจุลชีพบอย

8.2.3 ตูชีวนิรภัย Class III เปนตูชีวนิรภัยที่เปนระบบปด มีวัสดุแข็งกั้นกลางระหวางผูใชงานกับชิ้นงาน เชน กระจก สามารถติดตั้งในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยไดทุกระดับ

การปฏิบัติงานกับตูชีวนิรภัย เปนสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึง เพราะหากปฏิบัติงานอยางไมถูกตองนอกจากจะทําใหชิ้นงานปนเปอน อาจทําใหเชื้อจุลชีพรั่วไหลออกมาภายนอก ซึ่งอาจเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน ผูรวมงานและสิ่งแวดลอม เราสามารถแบงระยะในการปฏิบัติงานกับตูชีวนิรภัยไดเปน 3 ระยะ คือ กอนการใชงาน ขณะใชงาน และหลังการใชงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

กอนการใชงาน

1. พิจารณาเนื้องานของตนเองวาตองใชงานตูประเภทใด

2. ตรวจสอบวาตูไดรับการตรวจรับรอง และอยูในชวงของการรับรอง 3. ประเมินความเสี่ยงของงาน 4. ทราบวิธีการจัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุ (spill decontamination) 5. สวมใส PPE ที่เหมาะสมขณะปฏิบัติงาน

6. ตรวจสอบ drain valve ใหอยูในตําแหนงปด

7. การเปดตูใชงาน

Page 78: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

60 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

7.1 เปดกระจกสูงตามที่กําหนด 7.2 เปดพัดลม ไวกอนอยางนอย 5 นาที 7.3 ตรวจสอบสัญญาณเตือนตางๆ 7.4 ตรวจสอบทิศทางการไหลของอากาศ 7.5 ตรวจสอบ magnehelic gauge

7.6 ทําความสะอาดฆาเชื้อผิวภายในตูทุกดาน ดานหนา ดานหลัง ดานขางทั้งสองดาน และพ้ืนที่ปฏิบัติงาน

7.7 จัดเตรียมงานและอุปกรณที่จําเปน 7.8 ควรมีตารางจองการใชงานเครื่องและปายเตือนวากําลังใชเครื่องแขวนไวหนาหอง

ขณะใชงาน

1. ทําความสะอาดลดการปนเปอนเชื้อวัสดุอุปกรณทุกชนิดกอนนําเขาตู 2. แบงพ้ืนที่ทํางานออกเปนสามสวน คือ สวนของสะอาด สวนทํางาน และ สวนของปนเปอน/ขยะ

3. อุปกรณขนาดใหญใหวางคอนไปทางดานหลังตู 4. เคลื่อนมือเขาออกตูอยางตรงๆ ใหชิดตะแกรงดานหนา ไมกวาดมือเขาออก

5. หามวางสิ่งของเชน สมุดโนต หรือ blue pad ทับบริเวณตะแกรงดานหนา 6. ไมควรใชตะเกียงบุนเสน

7. ปฏิบัติงานตามหลักปลอดเชื้อ

8. ทิ้งขยะปนเปอนรวมทั้งถุงมือภายในตู 9. ไมใชตูชีวนิรภัยเปนที่เก็บของ 10. หากเกิดสัญญาณหรือความผิดปกติกับตู ใหปดภาชนะทุกอยางในตู และแจงผูเกี่ยวของ หามปดการ

ทํางานของตูโดยเด็ดขาด

หลังการใชงาน

1. ปดฝาภาชนะทุกชนิด 2. ทิ้งขยะไมมีคมและถอดถุงมือทิ้งถุงขยะติดเชื้อภายในตู 3. รวบปดปากถุงแลวพนน้ํายาฆาเชื้อภายนอกถุงขยะ กอนนําออกมาจากตูเพ่ือทําลาย

4. ฆาเชื้ออุปกรณทุกชิ้นกอนนําออกจากตู 5. อุปกรณท่ีปนเปอน และขยะควรไดรับการฆาเชื้ออยางถูกตองตามวิธีปฏิบัติของหนวยงาน

6. ทําความสะอาดฆาเชื้อพ้ืนผิวภายในตู 7. ปดไฟ ปดกระจกนิรภัย ปดพัดลม

Page 79: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 61

สําหรับการฆาเชื้อดวยหลอด UV นั้น ไมสามารถนํามาใชแทนการทําความสะอาดพ้ืนผิวการทํางานไดหากตองการใชงานหลอด UV ตองมีการทําความสะอาดหลอดและตรวจวัดความเขมแสงเปนประจําทุกสัปดาห โดยความเขมแสง UV ตองไมนอยกวา 40 ไมโครวัตตตอตารางเซนติเมตร และเนื่องจากแสง UV อาจกอใหเกิดอันตรายตอผูใชได หากไมระมัดระวัง จึงควรปดพัดลมและปดกระจกนิรภัยกอนใชงานหลอดยูวี รวมทั้งควรเปดใชงานเมื่อไมมีผูอื่นอยูในหอง

การตรวจรับรองตูชีวนิรภัย เปนการดําเนินการทดสอบทางกายภาพ (physical testing) ของตูชีวนิรภัย ซึ่งทําภายใตขอกําหนดมาตรฐานการผลิตตูนั้น เชน NSF / ANSI 49, EN12469 เปนตน โดยเปรียบเทียบผลการทดสอบกับใบรับรองประสิทธิภาพของตู (original test report) จากบริษัทผูผลิต ผูใหบริการตรวจรับรองตองมีประสบการณและผานการอบรมหลักสูตรการตรวจรับรองตูตามขอกําหนดและใชเครื่องมือที่ไดรับการสอบเทียบตามมาตรฐาน เชน มาตรฐาน National Institute of Standards and Technology (NIST) เปนตน

การตรวจรับรองตูควรดําเนินการเมื่อ

1. หลังติดตั้งเสร็จ (กอนเริ่มใชงาน) 2. หลังการซอม หรือเปลี่ยน HEPA filter

3. หลังเคลื่อนยายไปที่อ่ืน

4. ตามระยะเวลาที่กําหนด หรืออยางนอยทุก 1 ป

สําหรับพารามิเตอรที่ตองใชในการตรวจสอบหรือตรวจรับรองตูชีวนิรภัย ตองประกอบไปดวยหัวขอสําคัญ ดังตอไปนี้

1. การวัดความเร็วลมผานพื้นที่ปฏิบัติงาน (Down flow velocity test) 2. การวัดความเร็วลมเขาหนาตู (Inflow velocity test) 3. การทดสอบหารอยรั่วของ HEPA Filter (HEPA filter leak test) 4. การทดสอบรูปแบบการไหลของอากาศ (Airflow smoke patterns test) 5. การประเมินการติดตั้ง (Site installation assessment Test) 6. การทดสอบหารอยรั่วของตู ทําเฉพาะตูชีวนิรภัย Class II A1 หลังการเปลี่ยน HEPA หรือการ

ซอมแซมขนาดใหญ (Cabinet integrity)

สําหรับพารามิเตอรอ่ืน อาจดําเนินการเพ่ิมเติมได แตไมมีผลตอการทํางานของตูอยางปลอดภัย ซึ่งประกอบดวย การตรวจไฟรั่ว ความเขมแสง ความสั่นสะเทือน หรือความดัง

อยางไรก็ตาม คูมือการใชงานของตูชีวนิรภัยที่ใชงานเปนสิ่งสําคัญและจําเปนสําหรับการดําเนินการทดสอบของชางหรือผูทําการตรวจสอบ และใชประกอบการตัดสินใจวาตูชีวนิรภัยที่ผานการตรวจรับรองนั้น

Page 80: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

62 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

สามารถใชงานไดอยางปลอดภัยหรือไม นอกเหนือไปจากคุณสมบัติของชางหรือผูมาทําการทดสอบและเครื่องมือที่ใชในการทดสอบ

การเชื่อมตอตูชีวนิรภัยเขากับระบบระบายอากาศของอาคารมี 2 วิธี 1. การตอผานชุดฝาครอบดูดควัน (canopy connection) เปนอุปกรณสําหรับเชื่อมตอตูชีวนิรภัย

Class II Type A2 เขากับระบบระบายอากาศของอาคาร เพ่ือใชดูดไอระเหยสารเคมีที่ใชภายในตูชีวนิรภัย ออกไปเจือจางดวยอากาศนอกอาคาร ชุดฝาครอบดูดควันมีลักษณะพิเศษ คือ มีชองเปดสําหรับใหอากาศจากภายนอกเขาไปรวมกับอากาศที่ระบายออกจากตูชีวนิรภัย สรางเปนมานอากาศกันไมใหไอระเหยสารเคมี เล็ดรอดออกสูอากาศภายในหองปฏิบัติการ ชุดฝาครอบดูดควันจะมีกลไกที่ชองเปด สําหรับปองกันการไหลยอนกลับของอากาศ เมื่อระบบระบายอากาศเกิดขัดของ เชนเมื่อพัดลมดูดอากาศไมทํางาน อากาศที่ระบายออกจากตู จะไมถูกดูดออกทางทอระบายอากาศ และไหลยอนกลับลงมาทางตัวตู กลไกที่ชองเปดจะปลอยอากาศที่ไหลยอนนี้ออกมาสูหองปฏิบัติการ เปนการปองกันไมใหอากาศไหลยอนทิศลงมาในตูและออกมาทางชองเปดดานหนาตู แมวาไอระเหยสารเคมีอาจกระจายสูอากาศในหองปฏิบัติการ แตอันตรายจากการเกิดจุลชีพฟุงกระจายยังถูกกักกันใหอยูภายในตูชีวนิรภัย

2. การตอกับระบบระบายอากาศแบบปด (hard duct) เปนการเชื่อมตอตูชีวนิรภัยClass II Type B

เขากับระบบระบายอากาศของอาคาร อากาศที่ระบายออกจากตูชีวนิรภัยจะถูกดูดออกไปเจือจางนอกอาคารโดยพัดลมดูดอากาศที่อยูในระบบระบายอากาศของอาคาร ดังนั้นหากพัดลมระบายอากาศไมทํางาน อากาศที่ระบายออกจากตูจะไหลยอนกลับเขาไปทางตัวตู และหากตูชีวนิรภัยไมมีกลไกตัดระบบพัดลมภายในตู ก็จะเกิดการเปาอากาศที่ปนเปอนจุลชีพภายในตูชีวนิรภัยออกมาทางชองเปดดานหนาตู แพรกระจายสู ผูใชงานและสิ่งแวดลอม ดังนั้นการเลือกซื้อตูชีวนิรภัย Class II Type B ที่ตองตอแบบปดกับระบบระบายอากาศ ผูซื้อตองมั่นใจวาระบบระบายอากาศของอาคารมีความพรอมรองรับตูชีวนิรภัย และในการตรวจรับรองตู จะตองมีการตรวจสอบระบบการตัดพัดลมภายในตู และระบบการเตือนภัยเมื่อแรงลมในทอระบายอากาศลดลงเกินกําหนด

สถานที่ติดตั้งตูชีวนิรภัย

ขอควรคํานึงถึงเก่ียวกับสถานที่ติดตั้งตูชีวนิรภัย ไดแก 1. ควรวางใหหางจากแหลงกําเนิดลม เชน หัวจายเครื่องปรับอากาศ พัดลม เครื่องปรับอากาศ

หนาตางประตู ดานบนของตูควรหางจากเพดาน อยางนอย 30-36 เซนติเมตร (รูปที่ 8.3ก) เพ่ือใหมีชองวางในการตรวจรับรองและการซอมแซมตู ควรวางใหดานหลังตูหางจากกําแพงอยางนอย 30 เซนติเมตร (รูปที่ 8.3ข) และวางใหดานขางของตูหางจากอุปกรณอ่ืนอยางนอย 15 เซนติเมตร (รูปที่ 8.3ค) แตหากจะวางไวขางตูชีวนิรภัย หรืออุปกรณควบคุมลมอ่ืนควรวางใหหางกันอยางนอย 30 เซนติเมตร (รูปที่ 8.3ง)

Page 81: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 63

รูปที่ 8.3 ตําแหนงการวางตูชีวนิรภัย

2. อากาศไหลเวียนในหองปฏิบัติการตองมีปริมาณมากพอ ไมควรติดตั้งตูชีวนิรภัยประเภทที่ตองตอกับระบบระบายอากาศในหองที่มีขนาดเล็กและการไหลเวียนของอากาศเขาสูหองไมดีพอ รวมไปถึงหองที่ตองควบคุมความดันอากาศ เชน หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 หรือ clean room เปนตน เนื่องจากขณะใชงานตูชีวนิรภัย ระบบระบายอากาศจะทํางานและดูดอากาศภายในหองออกตลอดเวลา จึงตองมั่นใจวาภายในหองปฏิบัติการนั้นมีอากาศเขาสูหองมากเพียงพอ

3. ตูชีวนิรภัยควรตอตรงเขากับเบรกเกอรและแยกจากเครื่องใชไฟฟาชนิดอ่ืน และควรตอกับอุปกรณสํารองไฟเพ่ือกันไฟกระชาก ไฟตก หรือ ไฟดับ

8.3 เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง โดยทั่วไป การทําใหปราศจากเชื้อดวยความรอนสามารถทําได 2 วิธีหลัก คือ ใชความรอนแหง (dry

heat) และความรอนชื้น (moist heat) เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูงเปนเครื่องมือที่ใชทําลายจุลชีพดวยความรอนชื้น ซึ่งในการทําใหปราศจากเชื้อดวยวิธีนี้ มีปจจัยสําคัญท่ีตองคํานึงถึง 4 ประการ คือ เวลา อุณหภูมิ ความดัน ความชื้น หากอุณหภูมิสูงขึ้น ความดันสูงขึ้น ระยะเวลาที่ใชในการทําใหปราศจากเชื้อจะสั้นลง

การใชความรอนชื้นในการกําจัดจุลชีพเปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด เนื่องจากคุณสมบัติของน้ําที่สามารถนําความรอนไดดีกวาอากาศ ดังนั้นการทําใหปราศจากเชื้อโดยอาศัยความรอนชื้น จึงสามารถทําใหวัตถุนั้นปราศจากเชื้อที่อุณหภูมิที่ต่ํากวาการใชความรอนแหงและใชเวลาสั้นกวา ผลของการใชความรอนชื้น

ก ข

ค ง

Page 82: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

64 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

จะทําใหโปรตีนของจุลชีพเกิดการจับเปนกอน (coagulation) และเกิดการสลายตัว (denaturation) ทําใหโปรตีนที่เปนองคประกอบภายในเซลลถูกทําลายอยางถาวร ดังนั้นแบคทีเรียและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กจึงไมสามารถมีชีวิตอยูได

อุณหภูมิขั้นต่ําในการกําจัดแบคทีเรียและสปอรไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดันที่ 15 ปอนดตอตารางนิ้วนั้น สามารถจะฆาเชื้ออยางมีประสิทธิภาพที่เวลาเพียง 15 นาที แตถาใชอุณหภูมิ 132 ถึง 135 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 27 ถึง 30 ปอนดตอตารางนิ้ว ตองใชเวลา 10 ถึง 25 นาท ีระยะเวลาที่ใชขึ้นกับขนาด ชนิด ปริมาณของสิ่งที่ตองการฆาเชื้อ ซึ่งตองมีการประเมินความเสี่ยงรวมดวย

สิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงในการใชงานเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง คือ ปริมาณการใสของในเครื่องนึ่ง ปริมาณน้ําตองเพียงพอ และเครื่องตองไมมีการรั่วซึม ดังนั้นในการใชงานจึงควรปฏิบัติ ดังนี้

1. ควรตอผาน breaker โดยตรง 2. ตรวจสอบปริมาณน้ําภายในเครื่องใหไดตามกําหนด

3. นําสิ่งของที่ตองการทําลายเชื้อใสลงไป รัดปากถุง biohazard bag หรือกรณีใชภาชนะฝาปดตองคลายเกลียวหรือเปดฝา

4. ติด autoclave tape ที่ภาชนะบรรจุ หลังการนึ่งตองสังเกตการณเปลี่ยนสีของเทปกอนการนําไปดําเนินการตอ

5. ปดฝาและตรวจสอบลิ้นความดัน

6. ดําเนินการตามคูมือ/ SOP

7. ควรจัดทําและบันทึกการใชงาน

8. เครื่องควรไดรับการตรวจสอบเทียบ (certification) อยางนอยปละ 1 ครั้ง

ขอพึงระวัง คือ การทํางานของเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูงตองการความบริสุทธิ์ของไอน้ํา ดังนั้นการใชน้ําที่ไมบริสุทธิ์เติมในเครื่อง อาจทําใหสารที่ปนเปอนอยูในน้ําสะสมในหองนึ่งและพ้ืนผิวภายในหองนึ่งอาจเสียหาย ดังนั้นจําเปนตองใชน้ําจากแหลงที่เชื่อถือได เชน น้ํา RO (reverse osmosis) หรือ น้ํากรอง เปนตน

นอกจากนี้การบรรจุวัตถุปนเปอนที่ตองการทําลายจุลชีพ ตองใสในวัสดุที่สามารถใหไอน้ําแทรกผานได และปองกันไมใหมีจุลชีพเขาไปปนเปอนเครื่องมือในภายหลังได ซึ่งอาจจะเปนกระดาษ ผา หรือพลาสติกที่ออกแบบมาสําหรับใชในวัตถุประสงคนี้โดยเฉพาะ การหอวัตถุในถุงพลาสติกที่ปดแนนจนไอน้ําไมสามารถเขาไปสัมผัสกับวัตถุได จะทําใหประสิทธิภาพการฆาเชื้อลดลง เนื่องจากภายในถุงจะมีอากาศแหงอยู จึงเปรียบเหมือนเรากําลังทําการฆาเชื้อ โดยใชความรอนแหง ซ่ึงตองการอุณหภูมิที่สูงกวาและเวลาที่นานขึ้น

Page 83: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 65

เครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูงจัดเปนเครื่องมือที่เกี่ยวกับความปลอดภัยดานชีวภาพเชนเดียวกับตูชีวนิรภัย โดยสามารถชวยกักกันไมใหจุลชีพกอโรคแพรกระจายออกสูภายนอกได ดังนั้นเครื่องตองไดรับการดูแลและการตรวจสอบเพ่ือใหมั่นใจวาเครื่องยังสามารถใชงานไดดี

กระบวนการในการตรวจสอบประสิทธิภาพการทําใหปราศจากเชื้อโดยเครื่องนึ่งไอน้ํา มี 3 วิธี ดังนี้ 1. การตรวจสอบทางกลไก (Mechanical or Physical monitoring) 2. การตรวจสอบทางเคมี (Chemical monitoring) 3. การตรวจสอบทางชีวภาพ (Biological monitoring) การตรวจสอบทั้ง 3 วิธีมีวัตถุประสงคในการดําเนินการที่แตกตางกัน กลาวคือ mechanical

monitoring แสดงใหเห็นถึงการทํางานของเครื่องวาสมบูรณหรือไม chemical monitoring แสดงใหเห็นวาหออุปกรณไดผานกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อแลว และ biological monitoring ชี้ใหเห็นวาเชื้อจุลชีพและสปอรของเชื้อแบคทีเรียถูกทําลาย แสดงใหเห็นวาหออุปกรณปราศจากเชื้อแลว

1. การตรวจสอบทางกลไก (Mechanical or Physical monitoring) เปนการตรวจสอบการทํางานของเครื่องโดยดูจากตัวบงชี้ทางกลไกของเครื่อง (mechanical indicators) ซึ่งไดแก มาตรวัดอุณหภูมิ มาตรวัดความดัน สัญญาณไฟตางๆ แผนกราฟท่ีบันทึกการทํางานของเครื่องในแตละขั้นตอน สิ่งเหลานี้เปนสิ่งแรกที่บอกใหทราบวาเครื่องทํางานปกติหรือไม แตถึงแมวาการตรวจสอบจะพบวาเครื่องทํางานเปนปกติ ก็ไมสามารถยืนยันไดอยางมั่นใจวาหออุปกรณที่อยูภายในหองนึ่งที่ผานกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อแลวนั้นมีสภาพปราศจากเชื้อจริง จําเปนตองดูผลจากตัวบงชี้ทางเคมี และทางชีวภาพประกอบการพิจารณาดวย

2. การตรวจสอบเคมี (Chemical monitoring) เปนการตรวจสอบวาไอน้ําไดสัมผัสและแทรกซึมเขาไปในหองนึ่งหรือไม ซึ่งสามารถตรวจสอบโดยดูจากการเปลี่ยนสีของตัวบงชี้ทางเคมี (chemical indicators) ซ่ึงติดอยูภายนอกและใสไวภายในหองนึ่ง

ตัวบงชี้ทางเคมีแบงออกไดเปน 3 ชนิด ตามวัตถุประสงคในการใชงาน ดังนี้ 2.1 ตัวบงชี้ทางเคมีภายนอก (External chemical indicator) มีลักษณะเปนแถบกระดาษ

กาวที่มีสีหรือสารเคมีเคลือบไวเปนแนวเสนบนกระดาษ เรียกวา เทปทดสอบเคมี ( indicator tape หรือ

autoclave tape) มักใหกับการติดหออุปกรณ เพ่ือมิใหหลุดลุย และบงชี้ ใหทราบวา หออุปกรณไดผาน

กระบวนการทําใหปราศจากเชื้อแลวเทานั้น เนื่องจากเทปทดสอบทางเคมีที่ติดภายนอกหออุปกรณไมสามารถบอกไดวาไอน้ําสามารถผานเขาไปในหออุปกรณไดอยางทั่วถึง ดังนั้นตัวบงชี้ทางเคมีภายนอก จึงไมสามารถใชเปนสิ่งยืนยันไดวาอุปกรณท่ีอยูภายในหอจะปราศจากเชื้อ

Page 84: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

66 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

รูปที่ 8.4 ตัวอยาง autoclave tape

ที่มา: http://www.servi-dent.com/product/autoclave-indicator-tape/ http://ic.getinge.com/

2.2 ตัวบงช้ีทางเคมีภายใน (Internal chemical indicator) ตัวบงชี้ทางเคมีภายในที่นิยมใชมีลักษณะเปนชิ้น (strip) หรือเปนแผนกระดาษแข็ง (card) จะใสไวภายในหออุปกรณ เพ่ือใหทราบวาไอน้ําสามารถเขาไปภายในหอและสัมผัสกับอุปกรณภายในหอหรือไม ควรใสตัวบงชี้ทางเคมีภายในตรงกลางหออุปกรณ หรือในสวนของหออุปกรณท่ีคาดวาไอน้ําผานเขาไดยากที่สุด

รูปที่ 8.5 ตัวอยางตัวบงชี้ทางเคมีภายใน ที่มา: http://www.manochasurgicals.com/chemical-indicators.html

http://oriendentalsupplies.com.au/

2.3 ตัวบงชี้ทางเคมีแบบเฉพาะ (Specific chemical indicator) ไดแก Bowie-Dick test

ซึ่งเปนผลงานของ J.H. Bowie และ J. Dick จาก Department of Microbiology, Royal Infirmary, Edinburgh ประเทศสกอตแลนด โดยเปนตัวบงชี้ทางเคมีชนิดหนึ่งที่บงชี้วาการไลอากาศออกจากหองนึ่งของเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง ชนิดเครื่องดูดสุญญากาศ ( pre-vacuum steam sterilizer) ที่อุณหภูมิ 132-134

องศาเซลเซียส เปนไปอยางสมบูรณหรือไม กอนที่จะนําหออุปกรณไปทําใหปราศจากเชื้อ โดยใชเครื่องชนิดนี้ตองทดสอบการไลอากาศออกจากเครื่องโดยใช Bowie-Dick test กอนทุกครั้ง

Page 85: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 67

รูปที่ 8.6 ตัวอยาง Bowie-Dick test ที่มา: https://www.blowoutmedical.com/1233lf.html

https://consteril.com/bowie-dick-test/

3. การตรวจสอบทางชีวภาพ (Biological Monitoring) เปนวิธีการตรวจสอบการทําใหปราศจากเชื้อที่เชื่อถือไดมากที่สุดและเปนที่ยอมรับอยางกวางขวาง วิธีการตรวจสอบใชตัวบงชี้ทางชีวภาพ (biological

indicator) เรียกโดยทั่วไปวา spore test เปนการใชสปอรของเชื้อ Bacillus steamothermophilus หรือGeobacillus stearothermophilus ซึ่งเปนจุลชีพทนความรอน และยังมีชีวิต เปนตัวชี้วัดหากสปอรของเชื้อนี้ถูกทําลายยอมชี้ใหเห็นวาจุลชีพอ่ืน จะถูกทําลายระหวางอยูในกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อดวย

รูปที่ 8.7 ตัวอยาง Biological indicator

การตรวจสอบทําโดยการใส spore test ลงไปในหองนึ่งแลวปลอยใหเครื่องทํางานตามปกติ หลังจากนั้นจึงนําออกมาบมในตูบมเชื้อเพ่ือดูการเปลี่ยนสีในเวลาที่กําหนด หากไมมีการเปลี่ยนแปลง แสดงวาเครื่องยังสามารถทําลายจุลชีพไดตามปกติ โดยทั่วไปนิยมวางหลอดทดสอบตามตําแหนงที่มักใชใสวัสดุที่ปนเปอนจุลชีพกอโรคหรือสิ่งสงตรวจจากผูปวยเพื่อทําลาย แตหากเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูงมีขนาดใหญ หรือมีโหลดของวัสดุที่ตองการทําลายดวยตูดังกลาวสูงอาจตองเพ่ิมจํานวนหลอดมากขึ้น เชน วางที่ดานลาง ตรงกลาง และดานบน เปนตน การทดสอบควรทําสม่ําเสมอ หรืออยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง

สิ่งที่ตองระวังคือ ควรใส spore test และดําเนินการรวมไปกับการนึ่งทําลายจุลชีพตามปกติ หลังจากเสร็จสิ้นการทํางานตองเก็บวัสดุที่ทําลายชุดนี้ไวในที่ที่เหมาะสม เพ่ือรอใหหลอดทดสอบแสดงผลวาผานหรือไมกอนดําเนินการจัดการกับวัสดุนั้นตอไป

ผลไมผาน สีเปลีย่นเปนสีเหลือง

ผลผาน สไีมเปลี่ยน

Page 86: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

68 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 9 อุปกรณปองกันสวนบุคคล (Personal Protective Equipment; PPE)

ในบทนี้จะกลาวถึงเฉพาะอุปกรณที่เกี่ยวของดานสารชีวภาพเทานั้น อุปกรณปองกันสวนบุคคล เปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยโดยเฉพาะผูปฏิบัติงานในหองชันสูตรโรคเพราะเปนอุปกรณที่สามารถชวยในการปองกันและลดความเสี่ยงของผูปฏิบัติงานจากการสัมผัสจุลชีพรวมทั้งอันตรายทางกายภาพตางๆการเลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคลนั้นจะขึ้นอยูกับลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ตองมีการประเมินความเสี่ยงของงานภายในหองปฏิบัติการนั้นๆ (โปรดดูรายละเอียดเรืองการบริหารจัดการความเสี่ยงในบทที่ 10 การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ) เพ่ือเปนแนวทางการเลือกใชอุปกรณ ดังนี้

1. ตองทราบชนิด ขอมูลตางๆของสิ่งที่เปนที่เปนอันตราย

2. ตองทราบถึงความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในหองปฏิบัติการจากอันตรายนั้น

3. ตองทราบโอกาสและความรุนแรงของความเสี่ยงกับอันตรายนั้นที่อาจจะเกิดขึ้น

จากแนวทางดังที่กลาวมา สามารถนํามาเปนขอมูลชวยพิจารณากําหนดชนิดของอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสมกับงานในหองปฏิบัติการนั้นไดซึ่งชนิดอุปกรณปองกันสวนบุคคลสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย ไดแก

9.1 เสื้อคลุมหองปฏิบัติการ เสื้อกาวน ชุดคลุมทั้งตัว ผากันเปอน (Laboratory coat,

Gown, Coverall, Apron) เปนอุปกรณที่ใสเพื่อปองกันรางกายของผูปฏิบัติงานไมใหสัมผัสกับจุลชีพโดยตรง โดยเสื้อคลุมที่ใชใน

หองปฏิบัติการ มีอยู 3 ชนิดหลัก คือ

9.1.1 เสื้อคลุมหองปฏิบัติการ (laboratory coat) คือ เสื้อคลุมที่มีลักษณะเปดดานหนา ปดโดยการติดกระดุม เทปสําเร็จรูป หรือผูกเชือก อาจมีแขนยาวหรือแขนสั้นก็ได แตสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยควรตองใสชนิดแขนยาวคลุมถึงบริเวณขอมือ

9.1.2 เสื้อกาวน (gown) คือเสื้อคลุมที่มีลักษณะเปดดานหลัง ปดโดยการติดกระดุม เทปสําเร็จรูป หรือผูกเชือก มีแขนเสื้อยาวปลายแขนอาจเย็บยางยืดไวชวยชายแขนเสื้อแนบกระชับกับขอมือ

9.1.3 ชุดคลุมทั้งตัว หรือ ชุดหมี (coverall) คือ เสื้อคลุมที่มีลักษณะคลุมทั้งตัว เปนเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวติดกันเปนชิ้นเดียว บางชนิดอาจเย็บติดกับสวนถุงหุมรองเทา และ/หรือหมวกคลุมผมดวย

Page 87: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 69

โดยทั่วไปหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 2 (BSL2) ควรใชเสื้อคลุมแบบเสื้อกาวนและควรเปนชนิดแขนยาว สวนหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 3 (BSL3) ควรใชเสื้อคลุมเปนแบบเสื้อกาวน หรือแบบชุดหมีในกรณีการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงสูง เพ่ือชวยปองกันลดโอกาสการปนเปอนจุลชีพจากการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการไดดีกวาเสื้อกาวน โดยสามารถเลือกใชเปนเสื้อคลุมชนิดที่ใชแลวทิ้ง หรือชนิดที่ใชแลวสามารถทําการลดการปนเปอนแลวนํากลับมาใชใหมได ขึ้นกับความสะดวกและความเหมาะสม นอกจากนี้เสื้อคลุมยังมีความหลากหลายในเรื่องของวัสดุที่ใชผลิต ซึ่งมักจะเกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการปองกันการซึมผานของกาซ และของเหลว สามารถเลือกใชตามความเหมาะสม

รูปที ่9.1 เสื้อผาปองกันสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย

การใชผากันเปอน (Apron) อาจใสเพิ่มเติมปดคลุมเสื้อกาวน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันการหกกระเด็นของสิ่งปนเปอนเชื้อจุลชีพที่เปนของเหลว เชน เลือด น้ําเลี้ยงเซลล เปนตน

รูปที ่9.2 ตัวอยางผากันเปอนสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย

นอกจากนี้บริเวณที่ใชสําหรับการซักทําความสะอาดเสื้อคลุม ควรอยูภายในหองปฏิบัติการ หรือใกลหองปฏิบัติการ และหากตองจําเปนตองขนยายเสื้อคลุมจากหองปฏิบัติการไปยังหองที่ทําการลดการปนเปอน หรือทําการซักลางตองมีระเบียบวิธีปฏิบัติในการขนยายที่เหมาะสม เพ่ือปองกันและลดโอกาสการสัมผัสเชื้อของบุคลากรและการแพรกระจายเชื้อจากหองปฏิบัติการสูสิ่งแวดลอม

ขอควรระวังสําหรับการใชงาน คือ ตองไมใสเสื้อคลุมหองปฏิบัติการ เสื้อกาวน ผากันเปอนออกนอกหองปฏิบัติการ

Coverall Gown Lab coat

Page 88: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

70 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

9.2 แวนตานิรภัย ครอบตานิรภัย กระบังปองกันใบหนา (Safety glasses, Safety

goggles, Face shield) เปนอุปกรณที่ใสเพ่ือปองกันดวงตา และ/หรือใบหนาของผูปฏิบัติงานไมใหสัมผัสกับจุลชีพโดยตรง

จากการหกกระเด็นของสารละลายปนเปอนจุลชีพ และสารชีวภาพอันตรายที่อาจมากระทบ ขึ้นกับลักษณะของกิจกรรมที่ทํา

9.2.1 แวนตานิรภัย (safety glasses) เปนอุปกรณที่ชวยปกปองดวงตาของผูปฏิบัติงานจากจุลชีพ โดยแวนทําจากวัสดุที่ปองกันการแตกละเอียด ไมสามารถปองกันการกระเด็นดานขางรอบดวงตาไดอยางสมบูรณ ผูที่ใสแวนสายตาสามารถใชแวนตานิรภัยที่มีกรอบแวนชนิดพิเศษ สามารถนําเลนสเฉพาะมาวางที่กรอบบริเวณดานหนาของแวนได

รูปที ่9.3 ตัวอยางแวนตานิรภัยสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย 9.2.2 ครอบตานิรภัย (safety goggles) เปนอุปกรณที่ชวยปกปองดวงตาของผูปฏิบัติงานจากจุล

ชีพใชใสปองกันการกระเด็นและการกระแทก ครอบตานิรภัยที่ดีตองสามารถปองกันการกระเด็นโดนดวงตาไดทุกทิศทางและตองแนบกับใบหนาไดสนิท ซึ่งผูปฏิบัติงานที่ใสแวนสายตาหรือคอนแทคเลนส สามารถใสแวนชนิดนี้ครอบไวอีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถใสรวมกับกระบังปองกันใบหนา กรณีหากตองทํางานกับจุลชีพกอโรคที่รุนแรง

รูปที ่9.4 ตัวอยางครอบตานิรภัยสําหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย 9.2.3 กระบังปองกันใบหนา (face shield) เปนอุปกรณที่ชวยปองกันทั้งใบหนา บางรุนสามารถ

ปกปองไดถึงบริเวณลําคอ และติดกับศีรษะดวยสายรัดหรือหมวก กระบังปองกันใบหนาที่ดีควรทําจากวัสดุที่ปองกันการแตกละเอียด มีลักษณะใส แข็งแรง มีน้ําหนักเบาสวมใสสบาย สามารถบังไดทั้งใบหนา โดยทั่วไปหากในการปฏิบัติงานกับจุลชีพนั้นมีโอกาสในการเกิดการกระเด็นของแข็งหรือของเหลวสูง อาจพิจารณาใสครอบตานิรภัยรวมกับกระบังปองกันใบหนา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันและลดโอกาสการสัมผัสจุลชีพเพ่ิมข้ึน

Page 89: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 71

รูปที ่9.5 กระบังปองกันใบหนาสาํหรับการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย

ขอควรระวังสําหรับการใชงาน คือ ตองไมใสแวนตานิรภัยครอบตานิรภัย และกระบังปองกัน ใบหนาออกนอกหองปฏิบัติการ

9.3 อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ (Respirator) อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจอาจใชเมื่อตองปฏิบัติงานที่มีอันตรายหรือความเสี่ยงสูง เชน การ

ทําความสะอาดจุลชีพกอโรคที่หกรั่วไหล การเลือกใชอุปกรณชนิดนี้ขึ้นกับชนิดของอันตรายที่อาจไดรับ ควรเลือกใชใหเหมาะสมกับแตละบุคคล ควรเขาไดพอดีกับใบหนาของผูสวมใสควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ และตองไดรับการทดสอบความเหมาะสมกอนนํามาใช จึงจะสามารถปองกันไดอยางมีประสิทธิภาพโดยทั่วไปอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจมีอยูดวยกัน 2 ประเภทหลัก คือ

9.3.1 หนากากกรองอากาศ (Air-purifying respirator) ทําหนาที่กรองอนุภาคที่แขวนลอยในอากาศ (airborne particles หรือ aerosol) เชน ฝุนควันละอองและเชื้อโรคออกจากอากาศที่ผูสวมสูดหายใจเขาไป แตไมสามารถกรองกาซและไอของสารเคมีอันตรายตอรางกายหรือปองกันกลิ่นได ไดแก

9.3.1.1 หนากากอนามัย (Surgical mask) เปนหนากากชนิดกรองอนุภาคไดขนาดเล็กสุด 5

ไมครอนเทานั้น จึงไมไดถูกออกแบบมาใชสําหรับปองกันทางเดินลมหายใจของผูสวมจากการสูดหายใจเอาอนุภาคของจุลชีพกอโรคเขาสูปอด เดิมแพทยและพยาบาลใชสวมขณะผาตัดเพ่ือปองกันไมใหละอองหรือของเหลว ซึ่งเปนสารคัดหลั่งของผูปวยเขาปาก และชวยปองกันเสมหะหรือน้ําลายของแพทยและพยาบาลไมใหกระเด็นเขาแผลผูปวย ปจจุบันใหผูปวยดวยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจสวม เพ่ือปองกันไมใหเสมหะน้ํามูกน้ําลาย แพรกระจายไปสูผูอ่ืน โดยเฉพาะในขณะไอหรือจาม หนากากอนามัยนิยมทําดวยวัสดุสังเคราะหเทียมผา(nonwoven polypropylene and microporous materials) สําหรับใชครั้งเดียวแลวทิ้ง (disposable) ไมตองทําความสะอาด ผูผลิตบางรายอาจติดแถบโลหะออนไวที่ขอบบนสําหรับบีบใหแนบกับสันจมูก เพ่ือใหสวมไดแนบสนิทยิ่งขึ้น มีสายใชผูกรัดเหนือใบหูและใตใบหู หรืออาจทําเปนหวงสําหรับคลองใบหู (ear loop) แตละขาง เพ่ือตรึงหนากากใหแนบติดกับใบหนาผูสวม

Page 90: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

72 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

รูปที ่9.6 หนากากอนามัย

ขอดี คือ มีน้ําหนักเบาสวมถอดงายราคาถูกหาซื้อไดทั่วไป

ขอเสีย คือ ไมสามารถกรองจุลชีพไดทุกชนิดสวมได ไมแนบสนิทอากาศสามารถเล็ดลอดเขาทางชองวางบริเวณขอบหนากากโดยรอบได

9.3.1.2 หนากากกรองอากาศชนิดที่ใชแลวทิ้ง (Particulate respirator) สามารถกรองอนุภาคท่ีแขวนลอยในอากาศ เชน ฝุนควันละอองและเชื้อโรค เมื่อสวมแลวจะแนบกับใบหนารอบบริเวณจมูกและปาก ดังนั้นจึงสามารถใชสวม เพ่ือปองกันไมใหสูดหายใจเอาอนุภาค ซึ่งรวมถึงจุลชีพบางชนิดเขาสูปอด ทําดวยวัสดุที่สามารถกรองอนุภาคขนาดเล็กไดถึง 0.3 ไมครอน มีสายรัด 2 เสนทําดวยวัสดุยืดหดไดสําหรับคาดเหนือและใตใบหู เพ่ือตรึงใหหนากากแนบกับใบหนาผูสวมและมีแถบโลหะออนที่ขอบบนของตัวหนากากสําหรับบีบใหแนบกับสันจมูกเวลาสวม เพ่ือใหสวมไดแนบสนิทยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีหนากากแบบมีลิ้นทางออก (exhalation valve) ซึ่งจะยอมใหลมหายใจออกไหลออกสูบรรยากาศภายนอกเมื่อผูสวมหายใจออก แตจะปดสนิทเมื่อผูสวมหยุดหายใจหรือสูดหายใจเขา โดยไมยอมใหอากาศภายนอกไหลเขาทางลิ้นนี้ได ดังนั้นอากาศที่ผูสวมหายใจเขาจึงตองผานการกรองดวยวัสดุที่ใชทําตัวหนากากเสมอ แบบมีลิ้นทางออกจึงสามารถชวยใหผูสวมหายใจไดสะดวกกวาแบบธรรมดาที่ไม มีลิ้นทางออก ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับผูที่ตองปฏิบัติงานติดตอกันเปนเวลานานหรือตองออกแรงมากขณะปฏิบัติงาน หนากากกรองอนุภาคใชแลวทิ้งแบบธรรมดาที่ไมมีลิ้นทางออก มีแรงตานการหายใจทําใหหายใจลําบากมากกวาเนื่องจากทั้งลมหายใจเขาและออกอากาศจะตองไหลผานวัสดุกรองที่ใชทําตัวหนากาก ดังนั้นหญิงตั้งครรภ ผูที่เปนโรคหอบหืดโรคปอด โรคความดัน โรคหัวใจ และโรคทางเดินลมหายใจจึงไมควรใช ขอดี คือ ไมจําเปนตองดูแลรักษาหลังการใชงาน ใชแลวทิ้งเมื่อเสียรูปทรง หรือมีสิ่งบงชี้วาไมเหมาะสมที่จะใชงานตอไป มีน้ําหนักเบา สวมถอดงาย ขอเสีย คือ มักไมสามารถสวมใหแนบสนิทได 100% ตลอดเวลาของการสวมใส เพราะในการทํากิจกรรมขณะสวมใส เชน พูด เดิน เคลื่อนยาย ใบหนามีโอกาสสูงที่จะทําใหหนากากเกิดความไมแนบสนิทกับใบหนา ทําใหอากาศท่ีอาจปนเปอนจุลชีพเล็ดลอดเขาได นอกจากนี้ยังเปนหนากากชนิดที่ไมมีวางจําหนายทั่วไป และราคาแพงกวาหนากากอนามัย

Page 91: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 73

รูปที ่9.7 ตัวอยางหนากากกรองอากาศชนิดใชแลวท้ิง (Particulate respirator)

สําหรับมาตรฐานของหนากากกรองอากาศชนิดที่ใชแลวทิ้งนั้น National institute of

occupational safety and health (NIOSH) ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดกําหนดคุณภาพการกรองอนุภาคของหนากากชนิดที่ใชแลวทิ้งไว 9 ชั้นคุณภาพ ระบุในตารางที่ 9.1

ตารางท่ี 9.1 ตารางแสดงชนิดของหนากากกรองอากาศชนิดใชแลวทิ้ง ตามมาตรฐาน NIOSH

ประสิทธิภาพการกรอง

ต่ําสุด (%)

อนุภาคที่ใชทดสอบ

N Class (No oil) อนุภาคที่ไมใชน้ํามัน

(ทดสอบดวย NaCl)

R Class (Oil resistant)อนุภาคที่ใชและไมใชน้ํามัน

(ทดสอบดวยละออง DOP)

P Class (Oil proof) อนุภาคที่ใชและไมใชน้ํามัน

และใชเปนเวลานาน

(ทดสอบดวยละออง DOP) 95 N95 R95 P95

99 N99 R99 P99

99.97 N100 R100 P100

สัญลักษณตัวอักษร หมายถึง ชนิดอนุภาพที่สามารถกรองได ตัวเลข หมายถึง ประสิทธิภาพในการกรอง เชน N95 หมายถึง หนากากนั้นมีประสิทธิภาพการกรองอนุภาคที่ไมใชน้ํามันที่มีขนาดใหญกวา 0.3

ไมครอน ไดไมต่ํากวา 95% หนากากกรองอนุภาคใชแลวทิ้งในชนิด R และ P อาจไมจําเปนสําหรับผูปฏิบัติงานสอบสวนปองกันและควบคุมโรค เนื่องจากสวนใหญสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานไมไดมีละอองน้ํามัน สําหรับการปฏิบัติงานกับเชื้ออันตรายที่มีการติดตอทางระบบทางเดินหายใจแนะนําควรใชหนากากที่มีประสิทธิภาพการกรองอนุภาคไดที่ N95 เปนอยางนอย ซึ่งในทองตลาดมีขายหลายรูปแบบควรเลือกใชใหเหมาะสมกับผูปฏิบัติงานแตละคน

9.3.1.3 หนากากพรอมเครื่องกรองอากาศแบบครอบครึ่งใบหนา และเต็มใบหนา (Half-face or full-face elastomeric respirator) เปนหนากากที่สามารถกรองอนุภาค และ/หรือดูดซับกาซและ

Page 92: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

74 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ไออันตรายได ขึ้นอยูกับชนิดของเครื่องกรองอากาศที่เลือกใช ตัวหนากากเปนอุปกรณที่ใชแลวนํากลับมาใชใหมได ภายหลังการฆาเชื้อและทําความสะอาด มีอายุการเก็บรักษาและใชงานคอนขางยาวนานจนกวาจะชํารุดระบบการทํางานของหนากากเปนแบบ “แรงดันลบ” (negative pressure) หมายความวา อากาศภายนอกจะไหลเขาสูภายในหนากากในจังหวะที่ผูสวมสูดหายใจเขา เพราะเปนภาวะที่ความดันภายในหนากากต่ํากวาความดันบรรยากาศภายนอก และเม่ือผูสวมหายใจออกอากาศภายในหนากากจึงจะไหลออกสูบรรยากาศ

รูปที ่9.8 หนากากปองกันแบบครอบคร่ึงใบหนาและเต็มใบหนา ที่มา: http://solutions.3mthailand.co.th/

ชิ้นสวนหลักของหนากากชนิดนี้ ไดแก (1) ตัวหนากาก (facepiece) มีหลายขนาด มีแบบครอบครึ่งใบหนา (half facepieceหรือครอบ

เต็มใบหนา (full facepiece) ใหเลือกใช ซึ่งชวยปองกันผิวหนังอวัยวะบริเวณที่ตัวหนากากครอบอยู หนากากทําดวยวัสดุออนนุม เชน ยางเทียม หรือซิลิโคน สวมสบายและแนบสนิทกับใบหนา ตัวหนากากอาจเปนแบบที่มีเครื่องกรองเดี่ยวอยูที่บริเวณแกมขางใดขางหนึ่งหรืออยูกึ่งกลางดานหนาของตัวหนากาก หรือเปนแบบเครื่องกรองคูอยูที่บริ เวณแกมขางละหนึ่งชิ้น มีสายรัดศีรษะที่สามารถปรับใหพอเหมาะกับผูสวมไดสวนประกอบตัวหนากาก ดังนี้

(1.1) ชองมอง (visor หรือ eyepiece ) เปนเลนสพลาสติกแข็งและใส ซึ่งมีเฉพาะหนากากแบบครอบเต็มใบหนาเทานั้น ชวยใหผูสวมมองเห็นไดขณะสวม และชวยปองกันสิ่งที่อาจเปนอันตรายกระเด็นเขาดวงตา ชองมองอาจเปนแบบ 2 ชองคลายแวนตา หรือเปนเพียงชองขนาดใหญเพียงชองเดียว ซึ่งจะทําใหมีทัศนวิสัยในการมองเห็นที่ดีกวา

(1.2) หนากากแบบครอบเต็มใบหนาจะมีครอบจมูก (nose cup) อยูดานในทําหนาที่แยกทางเดินลมหายใจ เพ่ือปองกันการเกิดฝามัวบนเลนสของชองมอง เนื่องจากไอน้ําจากความชื้นของลมหายใจออก

Page 93: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 75

(1.3) อาจมีอุปกรณถายทอดเสียง (voicemitter) เพ่ือใหผูสวมสามารถเปลงเสียงพูดใหผูอื่นไดยินได ที่ดานหนาของตัวหนากากในตําแหนงที่ตรงกับปากของผูสวม

(2) ลิ้นหนากาก (valve) ทําดวยยางหรือยางเทียมมีลักษณะเปนแผนแปะติดกับชองลมหายใจเขาของหนากาก คือ ลิ้นทางเขา (inlet valve หรือ inhalation valve) และแปะติดกับชองลมหายใจออกของหนากาก คือ ลิ้นทางออก (outlet valve หรือ exhalation valve) ซึ่งทําหนาที่บังคับการไหลของอากาศใหเดินทางเดียวที่ชองลมหายใจเขา เมื่อผูสวมสูดหายใจเขาลิ้นทางเขาจะเปดใหอากาศภายนอกไหลเขาภายในตัวหนากากผานเครื่องกรองอากาศ แตจะปดสนิทไมยอมใหอากาศภายในตัวหนากากไหลออก เมื่อผูสวมหายใจออกลมหายใจออกจะไหลออกสูบรรยากาศภายนอกผานทางลิ้นทางออก ซึ่งจะปดสนิทในจังหวะการหยุดหายใจหรือในจังหวะการหายใจเขา เพ่ือปองกันมิใหอากาศภายนอกที่ยังไมผานการกรองไหลยอนเขาภายในตัวหนากากได

(3) เครื่องกรองอากาศแบบแผนหรือตลับ (filter) เปนหัวใจหลักของหนากากปองกันชนิดนี้ วัสดุกรอง ซึ่งอยูภายในเครื่องกรอง มักเปนกระดาษกรองซึง่มีประสิทธิภาพการกรองสูง สามารถกรองไดทั้งอนุภาคซึ่งรวมถึงจุลชีพกอโรค และ/หรือดูดซับกาซไอกลิ่นในไดดวย ขึ้นกับชนิดของวัสดุตัวกรอง เครื่องกรองสามารถถอดออกจากตัวหนากากได เมื่อตองการจะแยกเก็บหรือเปลี่ยนใหม เมื่อหมดอายุการใชงานหรือชํารุด

รูปที ่9.9 ตัวอยางเคร่ืองกรอง หรือตลับกรองอากาศ

(4) ชุดสายรัดศีรษะ (head harness) ทําหนาที่ตรึงตัวหนากากใหอยูกับที่แนบสนิทกับใบหนาของผูสวม หนากากแบบครอบครึ่งใบหนาสวนมากจะมีสายรัดศีรษะ 2 คู สวนหนากากแบบครอบเต็มใบหนาจะมีสายรัดศีรษะตั้งแต 2 – 3 คู สายรัดศีรษะอาจทําดวยยางหรือวัสดุที่ยืดหดได แตละคูสามารถปรับความยาวได เพ่ือใหพอเหมาะกับขนาดของศีรษะของผูสวม นอกจากนี้สายรัดศีรษะยังอาจเย็บติดกับแผนยึดศีรษะ (head

harness pad) ซึ่งอยูดานหลังศีรษะของผูสวม ผูผลิตบางรายอาจทําแผนยึดศีรษะเปนแผนตาขายชิ้นใหญ เพ่ือใหสะดวกในการสวม

ขอดี คือ มีประสิทธิภาพในการปองกันสูงกวาหนากากกรองอากาศชนิดใชแลวทิ้ง เครื่องกรองอากาศกรองจุลชีพกอโรคไดทุกชนิด สวมไดแนบสนิทกับใบหนา สามารถใชแลวนํากลับมาใชใหมได แตตองมีวิธีการจัดการลดการปนเปอนหลังการใชงานที่เหมาะสม มีอายุการใชงานยาวนาน

Page 94: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

76 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ขอเสีย คือ อาจรูสึกอึดอัดและสื่อสารลําบากเวลาสวมใส ไมมีวางจําหนายทั่วไป และราคาคอนขางแพง อุปกรณทุกชิ้นมีอายุการใชงาน ตองการการดูแลทําความสะอาดและฆาเชื้อหลังการใชดวยวิธีที่เหมาะสม และตองเปลี่ยนเครื่องกรองอากาศเมื่อหมดอายุการใชงานหรือเมื่อจําเปน มิฉะนั้นจะไมสามารถใหการปองกันระบบทางเดินหายใจไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงจําเปนตองมีอะไหลสํารองไวเปลี่ยน ผูใชตองไดรับการฝกใหสวมและถอดไดอยางถูกวิธี

9.3.1.4 เครื่องกรองอากาศที่จัดสงอากาศ (Powered Air Purifying Respirator; PAPR) เปนอุปกรณชนิดกรองอนุภาค ดูดซับกาซและไอสารเคมีอันตราย มี 3 แบบ คือ แบบหนากากครอบเต็มใบหนา (full facepiece) แบบคลุมศีรษะ (hood) และแบบครอบศีรษะ (helmet) ปจจุบันงานควบคุมโรค และงานหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาที่มีความเสี่ยงสูงนิยมใชเครื่องกรองอากาศที่จัดสงอากาศใหแบบคลุมศีรษะซึ่งเปนอุปกรณปองกันระบบหายใจที่จายอากาศหายใจที่กรองอนุภาคกาซและไอแลวใหผูสวมอยางตอเนื่อง จนทําใหความดันอากาศภายในถุงคลุมศีรษะเปนบวก ชวยทําหนาที่ปองกันไมใหอากาศภายนอกเขาในถุงคลุมศีรษะได โดยสวนของถุงคลุมศีรษะจะทําหนาที่แทนหนากากดวย

รูปที ่9.10 เคร่ืองกรองอากาศท่ีจัดสงอากาศให 1. แบบหนากากครอบเต็มใบหนา (ซาย) แบบคลุมศีรษะ (กลาง) และ 3. แบบครอบศีรษะ (ขวา)

ที่มา: https://www.activeforever.com/ http://www.hazardexonthenet.net/

https://www.cdc.gov/

เครื่องกรองอากาศที่จัดสงอากาศใหแบบคลุมศีรษะมีองคประกอบหลัก 2 สวน แยกกันและตองประกอบเขาดวยกันเมื่อตองการใชงาน องคประกอบทั้งสองสวนนี้ คือ

(1) ผาคลุมศีรษะ หรือ ถุงคลุมศีรษะ (hood) ทําดวยวัสดุสังเคราะหออนนุม สามารถทําความสะอาดได เมื่อสวมแลวจะคลุมตั้งแตศีรษะลงมาถึงหนาอกผูสวม ดานหนามีชองมองทําดวยพลาสติกใสดานหลังมีชองอากาศเขาสําหรับนําทอหายใจของเครื่องกรองอากาศมาตอกับถุงคลุมศีรษะ

Page 95: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 77

รูปที ่9.11 ถุงคลมุศีรษะ สําหรับ PAPR ที่มา: http://fitritesafety.com/powered-air-purifying-respirator-papr-c-170_279/

http://mundoblogs.info/3m-papr

(2) ชุดเครื่องกรองอากาศแบบมีมอเตอรเปาอากาศ (battery-powered filter) ทําหนาที่จัดสงอากาศหายใจที่กรองแลวใหผูสวม มีองคประกอบที่สําคัญ ดังนี้

รูปที ่9.12 ชุดเคร่ืองกรองอากาศแบบมีมอเตอรเปาอากาศ

(2.1) มอเตอรพรอมพัดลมดูดอากาศ (motor blower unit) ซึ่งใชแบตเตอรี่เปนแหลงพลังงานไฟฟา

(2.2) เครื่องกรองอากาศแบบตลับหรือแบบกระปอง (filter) จํานวนเทาใด ขึ้นอยูกับการออกแบบของผูผลิต สามารถตอเครื่องกรองอากาศกับมอเตอรและทอหายใจ

(2.3) ทอหายใจ (breathing hose หรือ air hose) มีลักษณะเปนทอออน สามารถโคงงอได ปลายขางหนึ่งสามารถตอกับมอเตอรและปลายอีกขางหนึ่งสามารถตอกับชองอากาศเขาของถุงคลุมศีรษะ

หลักการทํางานของ PAPR คือ เมื่อมอเตอรทํางานจะดูดเอาอากาศโดยรอบเขาทางเครื่องกรองอากาศ อากาศที่ผานการกรองแลวจะถูกเปาใหไหลไปตามทอหายใจเขาไปในถุงคลุมศีรษะในอัตราการไหลคงที่ปริมาณมาก ระบบการทํางานของหนากากแบบคลุมศีรษะเปนแบบที่เรียกวา แรงดันบวก (positive

pressure) หมายถึง ขณะที่มอเตอรทํางานปกติอัตราการจายอากาศสะอาดเขาภายในถุงคลุมศีรษะมีปริมาณ

Page 96: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

78 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

คงท่ีและสม่ําเสมอ จนทําใหเกิดความดันภายในถุงคลุมศีรษะสูงกวาความดันอากาศภายนอกถุงคลุมศีรษะ ทําใหอากาศภายในถุงคลุมศีรษะมีทิศทางการไหลออกสูภายนอกตามชายขอบของถุงคลุมศีรษะตลอดเวลา ชวยใหเกิดมานอากาศในการปองกันไมใหอากาศจากภายนอกถุงคลุมศีรษะ ซึ่งยังไมผานการกรองและอาจมีอนุภาคของจุลชีพกอโรคปนเปอนอยูนั้นเขาภายในถุงคลุมศรีษะได ชวยทําใหผูสวมหายใจไดสะดวกขึ้นมาก เพราะไมตองออกแรงสูดหายใจเขาและไดรับอากาศสะอาดหายใจในปริมาณมากกวาการหายใจเอง จึงเหมาะสําหรับผูที่ตองปฏิบัติงานติดตอกันเปนเวลานาน โดยเฉพาะงานที่ตองออกแรงมาก ขอจํากัดมีเพียงระยะเวลาที่แบตเตอรี่สามารถจายพลังงานไฟฟาใหมอเตอรเปาอากาศทํางาน และประสิทธิภาพการกรองของวัสดุเครื่องกรองอากาศ

ขอดี คือ มีประสิทธิภาพในการปองกันสูง ไมตองทํา fit testing ผูสวมหายใจสะดวกเหมาะกับผูที่มีปญหาดานสุขภาพเกี่ยวกับระบบหัวใจ ปอด และรูปหนาที่ไมสามารถใชหนากากชนิด particulate respirator ได และเปนอุปกรณที่ใชแลวสามารถทําความสะอาดลดการปนเปอนแลวนํากลับมาใชใหมได

ขอเสีย คือ มีราคาแพงอาจเปนอุปสรรคตอการทํางานการเคลื่อนไหว และการสื่อสาร ระยะเวลาการใชงานจํากัดดวยแบตเตอรี่ ตองเปลี่ยนอะไหลอุปกรณแตละชิ้นเมื่อหมดอายุการใชงาน จึงจําเปนตองสะสมแบตเตอรี่และชิ้นสวน ไวเปลี่ยนทดแทน ตองมีระบบการจัดการลดการปนเปอนหลังการใชที่ยุงยาก ผูใชตองไดรับการฝกใหสวมและถอดไดอยางถูกวิธี และตองมีเจาหนาที่ซอมบํารุงไวคอยทําหนาที่ ดูแลรักษา

9.3.2 ชุดจัดสงอากาศ (Supplied air respirator) เปนอุปกรณที่ไมใชระบบเครื่องกรองอากาศจากอากาศในบริเวณท่ีปฏิบัติงานเพื่อจายใหผูสวม แตจะมีอุปกรณท่ีทําหนาที่เปนแหลงจายอากาศสะอาดสําหรับผูสวมหายใจโดยตรง ไดแก

9.3.2.1 เครื่องชวยหายใจชนิดมีสายสงอากาศ เปนอุปกรณปองกันทางเดินลมหายใจที่มีแหลงจายอากาศหายใจแยกอิสระจากอากาศในบริเวณที่ปฏิบัติงาน โดยผูสวมจะไดรับอากาศสะอาดสําหรับหายใจ ซึ่งถูกสงใหผูสวมผานสายสงอากาศ (airline) หรือทอสงอากาศ (air hose) ในทางวิทยาศาสตรการแพทยหรือทางการแพทยมีใชบาง เชน ในหองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (BSL- 4)

Page 97: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 79

รูปที ่9.13 ชุดจัดสงอากาศชนิดมีสายสงอากาศ ที่มา: https://www.cdc.gov/media/subtopic/library/LabsScientists/10723.jpg

9.3.2.2 เครื่องชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ (Self-contained breathing apparatus;

SCBA) เปนอุปกรณปองกันทางเดินลมหายใจที่มีแหลงจายอากาศหายใจแยกอิสระจากอากาศในบริเวณที่ปฏิบัติงาน ผูสวมหายใจโดยไดรับอากาศสะอาดจากถังอากาศที่สะพายติดไปกับตัว ซึ่งเปนถังบรรจุอากาศแบบอัดที่มีขนาดความจุตั้งแต 30 นาที จนถึง 90 นาที ใหเลือก จึงมีขอจํากัดเรื่องระยะเวลาที่สามารถอยูปฏิบัติงานในพ้ืนที่มีอันตราย เปนอุปกรณปองกันทางเดินลมหายใจที่ใหการปองกันไดสูงสุด จายอากาศใหตามจังหวะการหายใจและตามปริมาณความตองการอากาศหายใจของผูสวม มักใชเปนอุปกรณมาตรฐานสําหรับพนักงานดับเพลิงใช และยังเปนอุปกรณที่จําเปนสําหรับผูปฏิบัติงานกับวัตถุอันตราย (hazardous materials

หรือ HazMat)

รูปที ่9.14 ชุดจัดสงอากาศชนิดมีถังอากาศ ที่มา: https://www.ehs.gatech.edu/chemical/lsm/7-6

Page 98: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

80 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

Fit testing คือ การทดสอบความแนบสนิทหรือความกระชับแนบกับใบหนาของการใสอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจชนิดที่มีลักษณะเปนหนากาก เชน particulate respiratory ชุดกรองอากาศแบบครอบครึ่งใบหนาและเต็มใบหนา เปนตน จําเปนอยางยิ่งที่ตองทําการทดสอบนี้ การทดสอบ fit testing ทําได 2 วิธี คือ 1) การวัดเชิงปริมาณ ซึ่งเปนวิธีที่ใหผลที่ละเอียด แตเครื่องมือมีราคาแพง และ 2) การวัดเชิงคุณภาพ ซึ่งเปนที่นิยม เนื่องจากสะดวก และราคาเครื่องมือถูกกวาที่เรียกวา “fit test kit”

รูปที ่9.15 การทดสอบความแนบสนิทการใสหนากากชนิดใชแลวท้ิง ดวย fit test kit

ปกติจะทําในครั้งแรกกอนการปฏิบัติงาน เพ่ือเลือกหนากากกรองอากาศชนิดที่กระชับแนบสนิทกระชับกับใบหนาของผูสวมแตละคน หลังจากนั้นควรตองทําการทดสอบอยางนอยปละครั้ง หรือเมื่อผูสวมมีน้ําหนักเปลี่ยนแปลงมาก หรือมีรูปหนาเปลี่ยนไป เชน เกิดอุบัติเหตุที่มีผลทําใหรูปหนาชวงคางเปลี่ยน เปนตน

9.4 ถุงมือ (Gloves) การปนเปอนของมือมักเกิดเมื่อตองปฏิบัติงานกับสิ่งปนเปอนจุลชีพหรือจุลชีพในหองปฏิบัติการ

เนื่องจากมือเปนอวัยวะที่มีโอกาสไดรับบาดเจ็บไดงายจากการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะการปฏิบัติงานกับของมีคม ดังนั้นถุงมือจึงเปนอุปกรณสําคัญในการชวยลดโอกาสการไดรับอันตรายจากการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปถุงมือที่ใชในหองปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาทางการแพทยทําจาก latex, vinyl หรือ nitrile ดังนั้นจึงควรเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน หลีกเลี่ยงการนําถุงมือกลับมาใชใหม หากจําเปนตองเอาใจใสในเรื่องของการลางมือ การถอด การทําความสะอาดและการลดการปนเปอนของถุงมือใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกอนนํากลับมาใชใหม นอกจากนี้สําหรับการทํางานในหองปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาทางการแพทยตองใสถุงมือทุกครั้ง หากตองทํางานที่มีโอกาสสัมผัสกับจุลชีพ เลือด หรือของเหลวจากรางกายมนุษย หรือแมแตจากสัตวก็ตาม ควรถอดถุงมือ และลางมืออยางถูกวิธีใหสะอาดหลังการปฏิบัติงานกับจุลชีพ สิ่งปนเปอนหรือหลังการทํางานในตูชีวนิรภัย และกอนออกจากหองปฏิบัติการทุกครั้ง นอกจากนี้ ถุงมือที่ใชแลวควรทิ้งลงในภาชนะสําหรับทิ้งขยะปนเปอนจุลชีพ การแพถุงมือมักเกิดจากผงแปงที่มีอยูบนถุงมือ หากมีอาการแพควรเลือกใชถุง

Page 99: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 81

มือชนิดไมมีผงแปง และควรใสถุงมือตาขายสแตนเลนสตีล (stainless steel mesh) เมื่อตองปฏิบัติงานที่เสี่ยงตอการไดรับเชื้อจากของมีคม

ตารางท่ี 9.2 ตารางสรุปอุปกรณปองกันสวนบุคคลสําหรับการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ

อุปกรณ / เครื่องมือ การปองกันอันตราย ลักษณะท่ีปลอดภัย

เสื้อกาวน การปนเปอนเสื้อผา เปดดานหลัง ปกปดเสื้อผาที่ใสมาไดมิดชิด

ผากันเปอนพลาสติก การปนเปอนเสื้อผา ปองกันน้ํา รองเทา การกระแทก และการหก

กระเด็น

ปดนิ้วเทา

ครอบตานิรภัย (safety goggles) การกระแทก และการหกกระเด็น

ปองกันบริเวณดวงตา โดยการปดปดรอบบริเวณรอบดวงตา

แวนตานิรภัย (safety glasses) การกระแทก และการหกกระเด็น

เปนเลนสทนแรงกระแทก (impact-resistant lenses)

กระบังปองกันใบหนา (face shields)

การกระแทก และการหกกระเด็น

บังไดหมดทั้งใบหนา

อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ (respirator)

การหายใจเอาเชื้ อที่ ฟุ งกระจายอยูในอากาศ

มีหลายรูปแบบ ทั้งแบบใชแลวทิ้ง แบบหนากากเต็มหนา ครึ่งหนา หรือ แบบหมวกคลุมทั้งศีรษะ(hood) และสามารถจายอากาศสะอาดสําหรับหายใจได

ถุงมือ การสัมผัสโดยตรง

การตัด

ชนิดใชแลวทิ้งมีทั้งแบบที่ทําจาก latex,

vinyl หรือ nitrile

ปองกันมือ โดยมีตาขายสแตนเลนสตีล (stainless steel mesh)

Page 100: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

82 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

วิธีการถอดถุงมือที่ถูกตอง ควรปฏิบัติดังนี้

(1) (2)

ใชมือขางหนึ่งจับผิวดานนอกถุงมือ

ของมืออีกขางหนึ่งบริเวณใกลขอมือ ดึงถุงมือออกในลักษณะใหผิวดานใน

ของถุงมือออกมาดานนอก

(3)

(4)

กําถุงมือขางที่ถอดออกไวในฝามือ

ของขางที่ยังไมไดถอดถุงมือ

สอดนิ้วชี้ขางที่ถอดถุงมือแลว ไปในถุงมือ

ของมือขางที่ยังไมถอดแลวคอยๆดึงถอด

ถุงมือออกมาในลักษณะใหผิวดานในของ ถุงมือออกมาดานนอก ถุงมือขางที่ถอด

ออกนี้จะกลายเปนถุงหุมถุงมือขางแรก

ที่ถอดและกําอยูในมือกอนหนานี้

ขอควรระวังสําหรับการใชงาน คือ ตองไมใสถุงมือออกนอกหองปฏิบัติการ และควรทิ้งในภาชนะทิ้งขยะปนเปอนเชื้อจุลชีพ ที่มีลักษณะปดมิดชิด เพ่ือรวบรวมรอนําไปกําจัดตอไป

นอกจากการเลือกใชชนิดของอุปกรณปองกันสวนบุคคลใหเหมาะสมกับลักษณะงาน ความเสี่ยงของอันตรายที่เก่ียวของแลว ลําดับการถอดใสอุปกรณสวนบุคคล เปนปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญ ซึ่งอาจมีผลทําใหเกิดการติดเชื้อหรือสัมผัสจุลชีพกอโรคของผูสวมใส รวมถึงการแพรกระจายจุลชีพนั้นสูนอกหองปฏิบัติการได ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่ทุกหนวยงานตองพิจารณาจัดทําลําดับและวิธีการถอดใสชุดอุปกรณปองกันสวนบุคคลใหเหมาะสม และตองฝกอบรมใหผูใสสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตองตามระเบียบปฏิบัติที่กําหนด พรอมทั้งมีการติดตามและประเมินผลการใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลของบุคลากรอยางสม่ําเสมอ ซึ่งระเบียบ

Page 101: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 83

ปฏิบัติขั้นตอนการถอดใสของแตละหนวยงานอาจมีความแตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นกับลักษณะของแตละชิ้นของอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่หองปฏิบัติการเลือกใช ลั กษณะทางกายภาพของหองปฏิบัติการ เปนตน นอกจากนี้สิ่งสําคัญผูปฏิบัติงานควรตองใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลเมื่อตองทํางานในหองปฏิบัติการ ถอดเมื่อออกจากหองปฏิบัติการเสมอ และหลังจากถอดอุปกรณปองกันสวนบุคคลแลวตองลางมืออยางถูกวิธีทุกครั้ง

การทําความสะอาดมือ การทําความสะอาดมือ หมายถึง การขจัดสิ่งสกปรกและเชื้อจุลชีพออกจากมือ ไมวาจะเปนการลางมือดวยสบู น้ํายาฆาเชื้อ หรือการใชแอลกอฮอลถูกมือ พบวาการทําความสะอาดมือชวยลดเชื้อจุลชีพบนมือได ชวยลดการแพรกระจายเชื้อดื้อยา จึงเปนที่ยอมรับวาการทําความสะอาดมือมีประสิทธิภาพในการปองกันเชื้อและแพรกระจายเชื้อ

บุคลากรหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยควรทําความสะอาดมือเมื่อทํากิจกรรม ดังนี้ 1. หลังสัมผัสกับสิ่งที่อาจปนเปอนเชื้อจุลชีพ หรือ ตัวอยางสิ่งสงตรวจ

2. หลังถอดอุปกรณปองกันสวนบุคคล เชน ถุงมือ

3. กอนออกจากหองปฏิบัติการ 4. กอนและหลังสัมผัสผูปวย

วิธีการทําความสะอาดมือ

การทําความสะอาดมือสามารถทําได 2 วิธี คือ

1. การลางมือดวยน้ํากับสบู หรือน้ํายาฆาเชื้อ (Hand washing or hand antisepsis) เมื่อมือเปอนสิ่งสกปรกอยางเห็นไดชัด การลางมือดวยน้ําแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1.1 การลางมือดวยน้ํากับสบูธรรมดา (Plain/non – antimicrobial soap) ชวยขจัดสิ่งสกปรก ฝุนละออง เหงื่อไคล ไขมัน และจุลชีพออกจากมือ การลางมือดวยสบูและน้ําใชในการทําความสะอาดมือกรณีหลังถอดถุงมือ กอนและหลังการสัมผัสผิวหนังผูปวยปกติที่ไมมีการปนเปอนสารที่มีการปนเปอนจุลชีพ เปนตน

1.2 การลางมือดวยน้ํากับสบูผสมยาฆาเชื้อ (Antiseptic soaps) เชน 7.5% povidone-iodine,

4% chlorhexidinegluconate, triclosan เปนตน น้ํายาฆาเชื้อเหลานี้มีประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ฆาจุลชีพไดตางกัน เชน แอลกอฮอลฆาเชื้อไดเร็ว สวน cholorhexidinegluconate ออกฤทธิ์ไดเร็วและนานกวา povidone iodine สําหรับการลางมือดวยน้ํากับสบูผสมยาฆาเชื้อจะชวยขจัดสิ่งสกปรกและจุลชีพออกจากมือ ซึ่งสามารถขจัดไดทั้งจุลชีพที่อาศัยอยูชั่วคราวและจุลชีพประจําถิ่นไดมากกวาสบูธรรมดา จึงใชสําหรับการทําความสะอาดมือ กรณีกอนการสอดใสอุปกรณทางการแพทยเขารางกายผูปวย กอนการสัมผัสผูปวยที่มีภูมิคุมกันต่ํา และหลังสัมผัสกับสิ่งสกปรกที่มีการปนเปอนจุลชีพ เปนตน

Page 102: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

84 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยควรมีอางลางมือและอุปกรณการลางมือพรอมใช ผาเช็ดมือควรใชผาที่สะอาดและแหง ควรใชเปนผาที่ใชครั้งเดียวแลวทิ้งหรือนํากลับไปซักใหม หรืออาจใชกระดาษเช็ดมือแทนได นอกจากนี้กอนการลางมือตองถอดแหวน หรือเครื่องประดับอ่ืนที่ใสนิ้วมือออก เพ่ือใหทําความสะอาดไดทั่วถึง เปดน้ําราดใหทั่วมือ ฟอกมือดวยสบู หรือสบูผสมน้ํายาฆาเชื้อ โดยใชประมาณ 3 -5 มิลลิลิตร เพ่ือใหการทําความสะอาดทั่วถึงทุกสวนการฟอกสบูในการลางมือประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังนี้

ฟอกฝามือ ฟอกงามนิ้วมือดานหนา

ฟอกหลังมือและงามนิ้วมือดานหลัง ฟอกนิ้วและขอนิ้วมือดานหลัง

ฟอกนิ้วหัวแมมือ ฟอกปลายนิ้วและเล็บ

Page 103: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 85

ที่มา: คูมือปฏิบัตกิารปองกันและควบคมุการติดเชื้อในโรงพยาบาล

หลังจากนั้นลางคราบสบูออกใหหมดดวยน้ําสะอาด เช็ดมือใหแหงดวยผาหรือกระดาษสะอาด แลวใหผาหรือกระดาษเช็ดมือนั้นปดกอกน้ํา (หากกอกน้ําเปนชนิดที่ตองใชมือปด) เพ่ือลดโอกาสการปนเปอนจุลชีพของมือจากการสัมผัสกอกน้ํา

ขอควรระวังในการลางมือ คือ ตองลางมือใหทั่วทุกสวนและใชเวลานานอยางนอย 20 วินาที เพ่ือขจัดสิ่งสกปรกและจุลชีพออกจากมือใหไดมากที่สุด ยิ่งใชเวลานานยิ่งขจัดจุลชีพออกไดมากขึ้น

2. การถูมือดวยแอลกอฮอล (Alcohol – based hand rubs) เพ่ือลดเวลาและการใชน้ําในการทําความสะอาดมือ รวมถึงในกรณีที่ไมมีอางลางมือ จึงไดมีการนําเอาการทําความสะอาดมือดวยวิธีการถูมือดวยแอลกอฮอลมาปรับใช

แอลกอฮอลที่ใชตองอยูในรูปสารละลายน้ํา (hydroalcoholic liquid rubs) ความเขมขน 60% - 95%จึงจะมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อไดดี โดยมีฤทธิ์ทําใหสารโปรตีนแข็งตัวและทําลายเยื่อหุมเซลลของจุลชีพ แอลกอฮอลที่ใชมี 3 ชนิด ไดแก ethanol (ethyl alcohol), propan -1 – ol (n – propanol, n – propyl

alcohol) และ propan – 2 – ol (isopropanol, isopropyl alcohol) ขอเสียของแอลกอฮอล คือ ทําใหผิวแหง ปจจุบันจึงมีการผสมสารเพ่ิมความชุมชื้นกับผิวหนังใน

แอลกอฮอลสําหรับทําความสะอาดมือ ขอดี คือ ออกฤทธิ์เร็ว ใชเวลานอยกวาการลางมือดวยน้ําและสบู ไมจําเปนตองใชอางลางมือ และผาเช็ดมือ

อยางไรก็ตามการทําความสะอาดมือดวยแอลกอฮอลควรใชในกรณีที่มือไมไดเปอนสิ่งสกปรก ตัวอยางสิ่งสงตรวจ เชน เลือด หรือสารคัดหลั่ง อยางเห็นไดชัด เนื่องจากแอลกอฮอลจะเสื่อมสภาพเมื่อสัมผัสกับสิ่งสกปรก ประสิทธิภาพของแอลกอฮอลขึ้นกับหลายปจจัย ไดแก ปริมาณที่ใช ความเขมขน ระยะเวลาที่สัมผัสกับแอลกอฮอล และใชในขณะที่มือเปยกหรือไม การใชแอลกอฮอลทําความสะอาดมือควรใชในปริมาณ 3 -5 มิลลิลิตร ใสฝามือแลวลูบถูใหทั่วฝามือ หลังมือและนิ้วมือ จนกระทั่งแอลกอฮอลระเหยจนแหง ซึ่งใชเวลาประมาณ 20-30 วินาที

ฟอกรอบขอมือ

Page 104: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

86 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ปญหาในการใชแอลกอฮอลทําความสะอาดมือ เชน บุคลากรใชแอลกอฮอลปริมาณนอยเกินไป ลูบแอลกอฮอลไมทั่วมือ ไมรอใหแอลกอฮอลระเหยจนแหงกอนไปทํากิจกรรมตอ ทําใหการทําความสะอาดไมมีประสิทธิผล นอกจากนี้เนื่องจากแอลกอฮอลสามารถระเหย และติดไฟได ดังนั้นภาชนะที่ใสควรปดมิดชิดปองกันการระเหยได และตองไมวางในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงและมีไฟ อยางไรก็ตามแอลกอฮอล 70% ในภาชนะแบบกดหลังตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิปกติ แอลกอฮอลจะยังคงมีความเขมขนมากกวา 60% ในระยะเวลา 30 วัน ซึ่งเพียงพอสําหรับใชในการทําความสะอาดมือได ในกรณีที่หองปฏิบัติการมีการทํางานที่มีความเสี่ยงเกี่ยวกับสปอรของแบคทีเ รีย หรือ non

enveloped virus ควรหลีกเลี่ยงการทําความสะอาดมือโดยการถูดวยแอลกอฮอล เนื่องจากไมสามารถทําลายสปอรได ควรใชวิธีการทําความสะอาดมือดวยน้ําและสบูผสมยาฆาเชื้อ เชน 4% chlorhexidinegluconate

Page 105: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 87

บทที่ 10 การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ

(Biorisk Management) ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการมีโอกาสที่จะเกิดอันตรายจากกระบวนการทํางาน ไมวาจะเปนอันตราย

ทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ นอกจากนี้ยังมีในเรื่องของความปลอดภัยในการใชแกส เครื่องมือ ไฟฟา และอ่ืนๆ โดยที่ผูปฏิบัติงานไมสามารถหลีกเลี่ยงได ซึ่งอันตรายที่เกิดขึ้นในแตละหองปฏิบัติการ อาจมีความแตกตางกันขึ้นกับลักษณะงานและปจจัยควบคุม ดังนั้นการประเมินความเสี่ยง จึงทําใหทราบไดวาในกระบวนการทํางานนั้น มีความเสี่ยงตอผูปฏิบัติงานมากนอยเพียงใดตามลักษณะงานในหนวยงาน และนํามาตรการควบคุมมาใช เพ่ือปองกันอันตรายเหลานั้น โดยมีเปาหมายเพื่อใหผูปฏิบัติงาน ชุมชน และสิ่งแวดลอมมีความปลอดภัย

ในบทนี้จะอธิบายการบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ (biorisk management) ซึ่งมีนิยามที่ควรทราบ ดังนี้

x Hazard หมายถึง วัตถุสิ่งของหรือสิ่งมีชีวิตที่ทําใหเกิดอันตรายไดภายใตสภาวะหนึ่งที่เหมาะสม เชน จุลชีพกอโรค สารชีวภาพอันตราย สิ่งสงตรวจจากผูปวย สารเคมี สัตวทดลอง บุคลากร และเครื่องมือ เครื่องใช

x Threat หมายถึง บุคคลหรือกลุมบุคคลที่มีเปาประสงคจะทําใหเกิดอันตรายและมีศักยภาพที่จะทําอันตรายตอบุคคลอื่นหรือตอสังคม

x Likelihood หมายถึง โอกาสหรือความถี่ที่จะเกิดอันตรายหรือบาดเจ็บจาก hazard หรือ threat

x Consequence หมายถึง ผลกระทบดานลบที่เกิดจากการไดรับอันตรายหรือบาดเจ็บจาก hazard หรือ threat

x Risk หมายถึง ความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายหรือบาดเจ็บจาก hazard หรือ threat ในสภาพแวดลอมหรือสถานการณที่เฉพาะเจาะจงในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง

การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ (biorisk management) ตองประเมินใหครอบคลุมทั้งหลักการของความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) และความม่ันคงทางชีวภาพ (biosecurity) ประกอบดวย 3 ขั้นตอนหลัก เรียกยอวา AMP model ดังนี้

1. การประเมินความเสี่ยง (Assessment) เปนขั้นตอนชี้บง hazard และ threat ที่มีในการปฏิบัติงานหรือในการทดลอง จากนั้นประเมินความเสี่ยง (risk) โดยพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิด (likelihood) และผลกระทบดานลบที่ตามมา (consequence)

2. การควบคุมความเสี่ยง (Mitigation) เปนขัน้ตอนการควบคุมความเสี่ยงใหอยูในเกณฑท่ียอมรับได

Page 106: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

88 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

3. การทําใหประสบผลสําเร็จ (Performance) เปนขั้นตอนการควบคุมกํากับ ตรวจสอบ และพัฒนาปรับปรุงอยางตอเนื่อง เพ่ือใหการควบคุมความเสี่ยงนั้นประสบความสําเร็จอยางยั่งยืน

10.1 การประเมินความเสี่ยง (Assessment) การประเมินความเสี่ยงควรดําเนินการรวมกันโดยผูเกี่ยวของทุกระดับตั้งแต ผูบริหารหนวยงาน

หัวหนาหองปฏิบัติการ หัวหนาโครงการ ผูปฏิบัติงาน เจาหนาที่ความปลอดภัย ชางเทคนิค เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย แพทยหรือผูมีหนาที่ดูแลดานสุขภาพกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน พนักงานทําความสะอาด การประเมินความเสี่ยงควรดําเนินการกอนเริ่มลงมือปฏิบัติงาน หรือเมื่อเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงาน เปลี่ยนเครื่องมือตลอดจนเปลี่ยนพื้นที่ปฏิบัติการ

หลักการของการประเมินความเสี่ยงเริ่มตนโดยการชี้บงวาอะไรเปน hazard หรือ threat ไดบาง และพิจารณาถึงความเสี่ยง (risk) ที่อาจเกิดอันตรายหรือบาดเจ็บจาก hazard หรือ threat นั้น โดยการพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิดอันตราย (likelihood) จาก hazard หรือ threat และผลกระทบดานลบที่ตามมา (consequence) เมื่อเกิดความเสี่ยงนั้น

ปจจัยประกอบการพิจารณา มีดังนี้ 1. คุณสมบัติของจุลชีพกอโรค หรือ สารชีวภาพอันตราย เชน ระดับความรุนแรงของเชื้อ การ

แพรกระจาย ความสามารถในการกอโรค เปนตน จุลชีพกอโรคที่อยูในกลุมความเสี่ยง ( risk group) สูงจะมีผลกระทบหรือความรุนแรงมากกวาจุลชีพกอโรคที่อยูในกลุมความเสี่ยงต่ํากวา

2. บุคลากรผูปฏิบัติงาน เชน มีความรู ความชํานาญ ประสบการณ ตลอดจนอุปนิสัยในการทํางาน มีความรอบคอบหรือเลินเลอ เปนตน

3. เทคนิคหรือวิธีการดําเนินการทางหองปฏิบัติการ กอใหเกิดการฟุงกระจายของจุลชีพกอโรค หรือขั้นตอนที่มีโอกาสสัมผัสจุลชีพไดงาย หรือ ขั้นตอนที่มกีารเพ่ิมปริมาณจุลชีพกอโรค เปนตน

4. สิ่งแวดลอม เชน พ้ืนที่ปฏิบัติงานสะอาด ไมรกรุงรัง มีระบบระบายอากาศที่ดี มีการแยกพ้ืนทีป่ฏิบัติงานหรือตองปฏิบัติงานรวมกันหลายกิจกรรม เปนตน

5. เครื่องมือ มีความความเหมาะสม ไดรับการบํารุงรักษาและสอบเทียบหรือตรวจรับรอง เปนตน

นอกจากนี้การไดมาของความเสี่ยงอาจนํามาจากขอมูลการเกิดอุบัติเหตุ/ อุบัติการณที่ผานมา รวมถึงขอมูลจากเอกสาร เชน Pathogen safety data sheet (PSDS) เปนตน

Page 107: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 89

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง สามารถดําเนินการได ดังนี้ 1. จําแนกขั้นตอนการทดลองหรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตองครอบคลุมตั้งแตกอนปฏิบัติงาน

ขณะปฏิบัติงาน และหลังปฏิบัติงาน

2. ระบุอันตราย (hazard หรือ threat) ที่อาจเกิดในแตละขั้นตอน 3. ประเมินความเสี่ยงและระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นไดจากอันตรายในขอ 2 โดยพิจารณา

ถึงโอกาสที่อาจเกิด (likelihood) และผลกระทบที่ตามมา (consequence) ตัวอยางเชน 3.1 ความเสี่ยง (risk) เกิดขึ้นเมื่ออยูรวมกับสิ่งที่เปนอันตรายในสภาพแวดลอมหรือ

สถานการณที่เฉพาะเจาะจง ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เชน ผูปฏิบัติงานมีความเสี่ยง ( risk) ตอการติดเชื้อในหองปฏิบัติการ เมื่อสัมผัสกับสิ่งปนเปอนจุลชีพที่หกหรือกระเด็นอยูบนโตะ หรือมีความเสี่ยงตอการถูกเข็มเจาะเลือดใชแลวตํานิ้ว จากการปฏิบัติงานไมถูกตองหรือขั้นตอนการทิ้งที่ไมถูกตอง ในขณะเดียวกันความรุนแรงของความเสี่ยงกรณีดังกลาว ขึ้นอยูกบัชนิดและปริมาณของจุลชีพ หากเปนจุลชีพที่อยูในกลุมความเสี่ยง (risk group) สูงผลกระทบหรือความรุนแรงยอมมากกวาจุลชีพที่อยูในกลุมความเสี่ยงต่ํากวา

3.2 โอกาสหรือความเปนไปได (likelihood) อาจประเมินไดจากความถี่ของการปฏิบัติงานกับ hazard เชน จํานวนความถี่ในการตรวจยืนยันเชื้อ Mycobacterium tuberculosis ตอหนึ่งสัปดาห เวลาที่ใชในแตละครั้ง ยิ่งทํามากครั้งและใชเวลานานมาก โอกาสเสี่ยงยิ่งสูง เปนตน ผูประเมินอาจประเมินโอกาสจากนอยไปมากดวยการกําหนดคาเปนตัวเลข เชน หากกําหนดเปน 3 ระดับ คือ ต่ํา ปานกลาง สูง อาจแปลงเปนตัวเลข 1 2 และ 3 ทั้งนี้การแบงระดับข้ึนกับความตองการของแตละหนวยงาน

3.3 ผลกระทบ (consequence) ประเมินจากความเสียหายหรือความเจ็บปวยของผูปฏิบัติงาน หากผลกระทบนั้นสงผลผูปฏิบัติงานไมมากและสามารถกลับมาดําเนินชีวิตเปนปกติได ก็ยอมมีความรุนแรงนอยกวาผลกระทบที่ทําใหผูปฏิบัติการไมสามารถกลับมาใชชีวิตดังปกติหรือใชเวลาในการรักษานานทําใหเสียคาใชจายสูงผูประเมินอาจประเมินผลกระทบจากนอยไปมากดวยการกําหนดคาเปนตัวเลข เชน หากแบงเปน 3 ระดับคือ ต่ํา ปานกลาง สูง อาจแปลงเปนตัวเลข 1 2 และ 3 ทั้งนี้การแบงระดับขึ้นกับความตองการของแตละหนวยงาน

4. หากผลการประเมินความเสี่ยงจากขอ 3 พบวาความเสี่ยงอยูในระดับที่ยอมรับได (acceptable risk) ใหดําเนินการตอ โดยมีการควบคุมอยางตอเนื่อง เพ่ือลดระดับความเสี่ยงนั้นใหมากท่ีสุด

5. ถาผลการประเมินความเสี่ยงอยูในระดับที่ยอมรับไมได ใหจัดทําแผนลดความเสี่ ยง ดําเนินการลดความเสี่ยง และประเมินผล หากยังไมสามารถลดความเสี่ยงได ควรพิจารณาเปลี่ยนเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน (substitution) เพ่ือลดความเสี่ยง หากไมสามารถหาวิธีการปฏิบัติงานทดแทนได อาจจําเปนตองพิจารณายกเลิกการปฏิบัติงานนั้นหรือสงตอหองปฏิบัติการที่มีความพรอมมากกวา (elimination)

6. นําผลการประเมินความเสี่ยงมาจัดลําดับความสําคัญในการดําเนินการแกไข

Page 108: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

90 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

10.2 การควบคุมความเสี่ยง (Mitigation) หลังจากการประเมินความเสี่ยงและจัดลําดับในการดําเนินการแกไขจัดการควบคุม เพ่ือใหความเสี่ยง

นั้นลดลงอยูในระดับที่ยอมรับได การจัดการควบคุมประกอบดวย 4 ดาน ดังนี้ 10.2.1 การควบคุมดานวิศวกรรม (Engineering control) เปนการควบคุมดานกายภาพซึ่งหมายถึง

โครงสรางอาคารหรือหองปฏิบัติการที่ไดรับการออกแบบอยางเหมาะสมกับระดับความปลอดภัยของหองปฏิบัติการ เพ่ือใหเหมาะสมกับการทํางานกับจุลชีพกอโรคตามกลุมเสี่ยง รวมทั้งมีมาตรการในการควบคุมดูแลแตกตางกันไป เชน โรคติดเชื้อจากไวรัสอีโบลาที่ตองดําเนินการใน BSL 4 หรือ BSL3 แบบมีเงื่อนไข (ดูรายละเอียดในบทที่ 4 ระดับความปลอดภัยของหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาและการปฏิบัติงาน) นอกจากนี้การควบคุมทางวิศวกรรมยังรวมถึงเครื่องมือที่ใชในหองปฏิบัติการ เชน ตูชีวนิรภัย ซึ่งตองใชในการทํางานกับจุลชีพ เพ่ือกักกันไมใหเกิดการรั่วไหลระหวางการทํางานจนเกิดอันตรายกับผูปฏิบัติงานและสิ่งแวดลอม (ดูรายละเอียดในบทที ่8 เครื่องมือทีม่ีผลกับความปลอดภัยทางชีวภาพ) การควบคุมทางวิศวกรรมนี้เปนการควบคุมที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด เปรียบเสมือนขณะเกิดอุบัติเหตุ ผูปฏิบัติงานนั่งอยูในรถยนตยอมไดรับอันตรายนอยกวาอยูบนรถจักรยานยนต เนื่องจากมีโครงสรางของตัวรถปกปองอยู

10.2.2 การควบคุมดานบริหาร (Administrative control) เปนการควบคุม โดยอาศัยชองทางในดานการบริหารจัดการ ตองมีการกําหนดเปนนโยบายของหนวยงาน เพ่ือใหผูปฏิบัติงานทุกคนไดใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ซึ่งนโยบายนี้ตองครอบคลุมการปองกันความเสี่ยงไมใหเกิดขึ้นหรือเกิดนอยที่สุด นอกจากนี้รวมถึงการจัดทําคูมือตางๆ เกี่ยวกับความปลอดภัย เอกสารมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) เพ่ือใหผูปฏิบัติใชอางอิงหรือเปนแนวทางทํางานอยางถูกตองปลอดภัย ระเบียบปฏิบัติที่จําเปนในการปฏิบัติงาน ซึ่งตองไดรับการกําหนดมาจากผูบริหารใหทุกคนตองปฏิบัติตามเพ่ือความปลอดภัย เชน

- มอบหมายบุคคลใหมีหนาที่ดูแลรับผิดชอบสําหรับหองปฏิบัติการ (biosafety officer หรือ supervisor)

- จัดใหมีการฝกอบรมใหความรูอยางสม่ําเสมอ (training) เพ่ือใหมั่นใจวาผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติมาตรฐานไดถูกตอง มีการมาตรการดานความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับผูปฏิบัติงาน

- ควบคุม และจํากัดการเขาปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ - จัดหาอุปกรณปองกันเฉพาะ สําหรับผูปฏิบัติงานอยางเหมาะสม - มีแผนสําหรับการฆาเชื้อหองปฏิบัติการ (laboratory decontamination) - ดําเนินการใหมีการฉีดวัคซีนแกผูปฏิบัติงาน (immunization) - จัดใหมีโปรแกรมสํารวจการเจ็บปวยของผูปฏิบัติงาน (medical surveillances)

Page 109: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 91

- กําหนดใหมีแผนการฝกปฏิบัติงาน เพ่ือใหทุกคนสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตองตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP compliance)

- กําหนดใหมีการตรวจสอบคุณสมบัติของผูปฏิบัติงานตามความเหมาะสมของงานที่ไดรับมอบหมาย - กําหนดใหตองมีการแสดงสัญลักษณและขอมูลตางๆ ดานความปลอดภัย เครื่องหมายบงชี้วาเปน

หองปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับใด ใหขอมูลชนิดของเชื้อที่มีในการปฏิบัติการ รวมทั้งใหระบุชื่อและเบอรโทรศัพทผูมีหนาที่รับผิดชอบที่ติดตอไดสะดวก ในบริเวณท่ีชัดเจนและเห็นไดงาย

10.2.3 การปฏิบัติและวิธีการ (Practice and procedure) เปนการควบคุมวิธีการทํางานของผูปฏิบัติงานใหถูกตองเหมาะสมตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน เพ่ือลดโอกาสเสี่ยงในการเกิดอันตราย ตองมีการฝกอบรมผูปฏิบัติงานใหทราบถึงวิธีการทํางานที่ถูกตองปลอดภัยกอนการปฏิบัติงาน และต องการทบทวนความรูเปนประจํา เชน การถอดใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยสวนบุคคล การใชงานตูชีวนิรภัยอยางถูกตองเหมาะสม เปนตน

10.2.4 อุปกรณปองกันสวนบุคคล (Personnel protective equipment) เปนการควบคุม โดยใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล ซึ่งผูใชตองทราบชนิดและคุณสมบัติของอุปกรณที่เลือกใช เพ่ือใหเหมาะสมกับงานหรือความเสี่ยงจากกิจกรรมที่ตองปฏิบัติ

10.3 การทําใหประสบผลสําเร็จ (Performance) เปนขั้นตอนการควบคุมกํากับ ตรวจสอบ และ พัฒนาปรับปรุงอยางตอเนื่องเพ่ือใหการควบคุมความ

เสี่ยงนั้นประสบความสําเร็จอยางยั่งยืนหลังจากดําเนินการควบคุมความเสี่ยง (mitigation) ตามที่กลาวขางตน จะตองมีการควบคุมกํากับ ตรวจสอบ เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน

10.3.1 การควบคุม (Control) หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการในการควบคุมและกํากับดูแล วามีการดําเนินการตามแผนการควบคุมความเสี่ยงครบถ วน เชน จัดทําขั้นตอนวิธีปฏิบัติ และมอบหมายผูรับผิดชอบในการติดตามผล เชน การที่หัวหนาหองปฏิบัติการควบคุมใหผูปฏิบัติงานดําเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ใชในหนวยงาน การจัดทําบัญชีจดแจงเชื้อโรคและพิษจากสัตวตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตว เปนตน

10.3.2 การทําใหเชื่อมั่น (Assurance) หมายถึง กระบวนการตรวจสอบหรือตรวจติดตาม เพ่ือยืนยันวาการควบคุมความเสี่ยงนั้นดําเนินการไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยปกติมักใชการตรวจติดตามภายใน (internal audit) เพ่ือดูวาผูปฏิบัติงานยังคงปฏิบัติตามระเบียบหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือไม เชน การตรวจสอบบันทึกการใชงานเครื่องนึ่งทําลายเชื้อ การตรวจสอบบัญชีจดแจงเชื้อโรคและพิษจากสัตว เปนตน

10.3.3 การปรับปรุง (Improvement) หมายถึง กระบวนการทบทวนและวิเคราะหการดําเนินการที่ผานมา เพ่ือจัดทําแผนการควบคุมความเสี่ยงหรือลดความเสี่ยง เชน การประชุมทบทวนการดําเนิ นการดานความปลอดภัยประจําป

Page 110: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

92 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

อยางไรก็ตาม ผูประเมินพึงระลึกไวเสมอวาความเสี่ยงไมสามารถลดใหเปนศูนยได แตเราสามารถลดความเสี่ยงลงจนอยูในระดับที่เรายอมรับได (acceptable risk) ดังนั้นหากความเสี่ยงนั้นอยูในระดับความเสี่ยงเล็กนอยหรือยอมรับได อาจไมจําเปนตองดําเนินการใดเพ่ิมเติมจากที่ปฏิบัติอยู แตหากระดับความเสี่ยงอยูในระดับปานกลาง ความเสี่ยงสูง หรือความเสี่ยงที่ยอมรับไมได จะตองมีการจัดการควบคุมความเสี่ยงเพ่ิมเติม โดยพิจารณาหาวิธีการควบคุมที่เหมาะสม เพ่ือใหระดับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนั้นลดลงอยูในระดับที่ยอมรับได

ประโยชนของการบริหารจัดการความเสี่ยง 1. มั่นใจวาผูปฏิบัติงานหรือผูเกี่ยวของปลอดภัยจากการสัมผัสกับสารชีวภาพอันตราย 2. ปองกันการเกิดอุบัติเหตุที่ทําใหเกิดการรั่วไหลหรือการปนเปอนของสารชีวภาพอันตราย 3. บงชี้ความตองการเรื่องการฝกอบรมหรือคําแนะนํา 4. พิจารณาเปลี่ยนวิธีทดสอบใหมีความปลอดภัยเพ่ิมข้ึน 5. ตัดสินพิจารณาพ้ืนที่และเครื่องมือที่ตองการ 6. ประเมินการควบคุมความปลอดภัย 7. ประเมินแผนรองรับสถานการณฉุกเฉิน

Page 111: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 93

บทที่ 11 น้ํายาฆาเชื้อโรค (Disinfectant) น้ํายาฆาเชื้อโรค (Disinfectant) น้ํายาฆาเชื้อโรค หมายถึง สารเคมีหรือสวนผสมของสารเคมีที่มีฤทธิ์ฆาจุลชีพกอโรคหรือเชื้อ ยกเวนสปอรของเชื้อ หรือมีฤทธิ์ระงับเชื้อ ซึ่งจะระบุที่ฉลากของผลิตภัณฑวามีฤทธิ์ระดับใด สวนใหญใชกับสิ่งไมมีชีวิตเทานั้น มีฤทธิ์ระคายเคืองตอผิวหนัง เนื้อเยื่อ และเยื่อเมือกของรางกาย โดยทั่วไปมักใชในการฆาเชื้อโรคบนพื้นผิวของวัตถุ เชน พ้ืนหอง เครื่องมือ เครื่องใช เปนตน สารเคมีหลายชนิดสามารถใชเปนน้ํายาฆาเชื้อโรคได ซึ่งมีขายอยู จํานวนมากในลักษณะของสารประกอบตางๆ ดังนั้นจึงตองระมัดระวังในการเลือกซื้อ เพ่ือใหเหมาะสมกับเชื้อที่เราตองการจัดการ โดยปจจัยที่มีผลตอการออกฤทธิ์ของน้ํายาฆาเชื้อ มีดังนี้

1. ชนิด และความสามารถในการดื้อยาของจุลชีพ 2. ชนิดและความเขมขนของน้ํายาฆาเชื้อ 3. ระยะเวลาและอุณหภูมิของการใชน้ํายาทําลายเชื้อ

4. จํานวนของเชื้อที่ปนเปอน

5. การปนเปอนของสารอินทรีย 6. ปริมาณน้ําที่ติดมากับอุปกรณ 7. ลักษณะพ้ืนผิวของสิ่งที่ตองการลดการปนเปอน

หลักท่ัวไปในการเลือกใชนํ้ายาฆาเชื้อ มีดังนี้ 1) วัตถุประสงคในการใช พิจารณาวาตองการใชนํ้ายาฆาเชื้อกับสิ่งที่ตองการทําลายเชื้อประเภทใด

และสิ่งเหลานั้นมีเชื้ออะไรที่เกี่ยวของ 2) คุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีววิทยาของนํ้ายาฆาเชื้อนั้น ไดแก ความคงตัวของนํ้ายา อายุ

ของนํ้ายาที่ใช 3) ความปลอดภัยของผูใช คํานึงถึง การดูดซึมเขากระแสเลือด การระคายเคืองตอผิวหนัง อาการแพ

ที่อาจเกิดข้ึน 4) เอกสารกํากับที่แนบมาจากบริษัท เอกสารทางการแพทย องคกรสากลที่เกี่ยวของรับรอง ไม

โฆษณาเกินความเปนจริง ราคาเหมาะสม

โดยทั่วไปการฆาเชื้อโรคของสารเคมีหลายชนิดมักมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น แตในขณะเดียวกัน การที่อุณหภูมิสูงก็มีอิทธิพลตอการเรงการระเหยและการเสื่อมประสิทธิภาพของสารเคมีดวยเชนกัน ดังนั้น การเก็บรักษา และวิธีการใชสารเคมี จึงมีความสําคัญที่ตองพิจารณาดวย โดยเฉพาะประเทศในเขตรอน ซึ่งอาจทําใหอายุการเก็บ (shelf-life) ของสารเคมีลดลง เนื่องจากความชื้นในอากาศสูง

Page 112: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

94 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

นอกจากนี้ สารเคมีหลายชนิดสามารถเปนอันตรายตอมนุษย และสิ่งแวดลอม จึงควรเลือก เก็บรักษา จัดการ ใชงาน และทิ้งอยางระมัดระวัง ตามคูมือสารเคมีแตละชนิดที่แนะนําไว ในสวนความปลอดภัยของผูใชงาน แนะนําควรตองใสถุงมือ ผากันเปอน และเครื่องปองกันตา เมื่อตองใชและเตรียมสารละลายสารเคมีสําหรับฆาเชื้อโรค

11.1 ประเภทของน้ํายาฆาเช้ือ นํ้ายาฆาเชื้อแบงเปนประเภทตามความสามารถในการทําลายเชื้อได 3 ระดับ ดังนี้

11.1.1 นํ้ายาฆาเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูง (High-level disinfectant) คือ สารเคมีที่สามารถฆาสปอรของแบคทีเรียและจุลชีพไดทุกชนิด (ไดแก vegetative form สปอรของแบคทีเรีย มัยโคแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส ทั้ง lipid และ non-lipid virus) จึงเหมาะสมที่จะใชเปนสารที่ทําใหปลอดเชื้อ (sterilant) ในวัสดุหรือเครื่องมือที่ตองการความปลอดเชื้ออยางยิ่ง (critical items) ตัวอยางของน้ํายาฆาเชื้อประเภทนี้ ไดแก กลูตาราลดีไฮด 2.0 – 3.2% กาซเอทิลีนออกไซด เปนตน

11.1.2 นํ้ายาฆาเชื้อที่มีประสิทธิภาพปานกลาง (Intermediate-level disinfectant) คือ สารเคมีที่สามารถฆาจุลชีพไดทุกชนิด ยกเวนสปอรของแบคทีเรีย ไวรัสชนิด non-lipid และ small size และสามารถฆาเชื้อจุลชีพที่มีความสําคัญ เชน Mycobacterium tuberculosis และ lipid virus ได โดยฤทธิ์ในการฆาเชื้อไวรัสเปลี่ยนแปลงไปตามความเขมขนของนํ้ายา จึงเหมาะสมที่จะใชสารเคมีเหลานี้ในกลุมเครื่องมือที่ตองการความปลอดเชื้อปานกลาง (semi-critical items) ตัวอยางของน้ํายาฆาเชื้อประเภทนี้ ไดแก แอลกอฮอล ฟอรมาลดีไฮด ไอโอโดฟอร สารประกอบคลอรีน (โซเดียมไฮโปคลอไรท)

11.1.3 นํ้ายาฆาเชื้อที่มีประสิทธิภาพตํ่า (Low-level disinfectant) คือ สารเคมีที่สามารถฆาไดเฉพาะแบคทีเรีย (vegetative form) ไมสามารถฆาสปอรของแบคทีเรีย เชื้อมัยโคแบคทีเรีย หรือเชื้อไวรัสได สารเคมีเหลานี้เมื่อความเขมขนเพ่ิมสูงขึ้นอาจเปลี่ยนจาก low-level disinfectants เปน intermediate-level disinfectants ได ตัวอยางของน้ํายาฆาเชื้อประเภทนี้ ไดแก povidone-iodine จาก 75 ppm เปน

450 ppm สารเคมีบางชนิดแมความเขมขนจะเพ่ิมขึ้นเพียงใดก็เปน low-level disinfectants เชน

benzalkonium chloride (ชื่อการคา Zephirol, Zephiran ) สารเคมีกลุมนี้ จึงเหมาะสมที่จะใชสําหรับวัสดุหรือเครื่องมือที่ไมตองการความปลอดเชื้อมากนัก (non-critical item)

11.2 สารเคมีที่ใชในการฆาเช้ือโรค ที่สําคัญมี ดังนี้

11.2.1 คลอรีน บลีช (Chlorine bleach ) เปนสารเคมีที่มีสารละลาย โซเดียมไฮไปคลอไรท (hypochlorite) ในรูปของเกลือโซเดียมไฮไปคลอ

ไรท (NaOCl) เตรียมไดจากการผานกาซคลอรีนลงในโซดาไฟ (NaOH) โซเดียมไฮไปคลอไรทเตรียมได แตใน

Page 113: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 95

รูปของสารละลายเทานั้น ไมสามารถเตรียมไดในสภาพของแข็ง เพราะไมเสถียร หลังจากละลายน้ําแลวจะเกิดการแตกตัวของโมเลกุลและปลดปลอยกรดไฮโปคลอรัส (HOCl) และออกซิเจน (O) ที่มีคุณสมบัติเปนสารทําปฏิกิริยาออกซิไดซที่รวดเร็ว (fast-acting oxidant) จากกลไกนี้ จึงทําใหเกิดฤทธิ์ฆาเชื้อ มีฤทธิ์ในการกัดกรอน จัดเปน intermediate-level disinfectant ไมสามารถฆาสปอร แตสามารถฆาเชื้อมัยโคแบคทีเรีย แบคทีเรีย รา ไวรัส HBV HIV ไดดี เปนสารเคมีที่มีชวงความสามารถในการฆาเชื้อไดหลายชนิด (broad-spectrum chemical) ในทองตลาดมักขายอยูในรูปของน้ํายาฟอกผาขาว ซึ่งสามารถใชละลายกับน้ํา เพ่ือใชในการฆาเชื้อโรค ที่ความเขมขนตางๆ ขึ้นกับความเหมาะสม ประสิทธิภาพการฆาเชื้อของสารเคมีชนิดนี้จะลดลงอยางมาก หากในปฏิกิริยามีสารประกอบอินทรียจําพวกโปรตีน

ไมแนะนํา ใหใชน้ํายาฟอกผาขาวในการทําความสะอาดฆาเชื้อโรคบริเวณผิวหนัง แตอาจใชในการฆาเชื้อโรคทั่วไป และการแชน้ํายา เพ่ือลดการปนเปอนวัสดุที่ไมใชโลหะ เนื่องจากคลอรีนมีสภาพความเปนดางสูง จึงมีฤทธิ์ในการกัดกรอนโลหะได ไมควร เก็บสารเคมีชนิดนี้ในภาชนะเปด หรือในที่ที่มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากสารเคมีจะมีการปลอยกาซคลอรีนออกมา ซึ่งมีความเปนพิษสูง จึงควรใชในที่มีอากาศถายเทดีเทานั้น และไมควรผสมกับกรดเพ่ือลดการปลดปลอยกาซคลอรีน และเนื่องจากสารคลอรีนเปนอันตรายทั้งมนุษยและสิ่งแวดลอม ดั งนั้นจึงควรใชน้ํายาฆาเชื้อโรคที่มีสวนประกอบของสารคลอรีนเทาที่จําเปน โดยเฉพาะการใชสารคลอรีนที่อยูในน้ํายาฟอกผาขาวควรหลีกเลี่ยง

ขอดี คือ ราคาถูก สามารถฆาเชื้อไดดี ขึ้นกับความเขมขนของสาร จึงเปนทั้ง antiseptic และ

disinfectant (ความเขมขนจะตองเปนเปอรเซ็นตของโซเดียมไฮโปคลอไรท หรือ ppm ของ available

chlorine โดย 1% NaOCl = 10,000 ppm available chlorine) ความเขมขน 0.10 - 0.25 ppm จะสามารถฆาเชื้อแบคทีเรียสวนใหญไดภายใน 15-30 วินาที สามารถฆาเชื้อวัณโรคได แตไมสามารถฆาสปอรได ที่ความเขมขน 5,000 – 10,000 ppm สามารถฆา lipid virus ไดถึง 100% นอกจากนี้สามารถใชในการทําลายเชื้อในเครื่องมือที่ผานการใชกับผูปวยภายหลังทําความสะอาดและทําใหแหงแลว ใชเวลา 30 นาที สําหรับที่ความเขมขน 100 – 1,000 ppm สามารถใชทําความสะอาดพ้ืนผิวทั่วๆ ไป

ขอเสีย คือ เปนสารเคมีท่ีไมคงตัวทั้งในรูปของ liquid form และ solid form ดังนั้นตองผสมนํ้ายาใชใหมทุกวัน มีกลิ่นฉุน มีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ ระคายเคืองเนื้อเยื่อผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ ดังนั้นในการเตรียมและการใชงาน ตองสวมถุงมือ หนากากอนามัย แวนตาปองกัน และเสื้อคลุม สารเคมีนี้จะมีประสิทธิภาพลดลงเมื่อสัมผัสกับสารอินทรีย เชน เลือด น้ําเหลือง น้ําหนอง จึงควรทําความสะอาดเครื่องมือกอนฆาเชื้อ นอกจากนี้เมื่อทําปฏิกิริยากับฟอรมาลดีไฮดจะใหสารกอมะเร็ง และสามารถทําลายสภาพผายางพลาสติกได ทําใหเกิดการแพได

Page 114: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

96 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตารางที่ 11.1 ตัวอยางการเจือจางโซเดียมไฮโปคลอไรท

ความเขมขนที่ระบุ

อัตราสวนการเจือจาง ความเขมขนของคลอรีน (ppm.)

การใชงาน

5.25 – 6.25% ไมเจือจาง 52,500 – 62,500

1:10 (0.5%) 5,250 – 6,250 ลดการปนเปอนกรณีสารชีวภาพหกหลน

1:100 (0.05%) 525 – 625 การทําความสะอาดทั่วไป

1:1,000 (0.005%) 52.5 – 62.5

11.2.2 คลอรีนไดออกไซด (Chlorine dioxide) คลอรีนไดออกไซด (ClO2) อยูในสถานะกาซควบแนนที่อุณหภูมิ 11 องศาเซลเซียส เปนสารเคมีที่

จัดเปน high-level disinfectant มีคุณสมบัติในการฆาเชื้อโรคที่แรง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ การฆาเชื้อโรคดวยกาซคลอรีน หรือเรียกวา คลอริเนชัน (Chlorination) เปนวิธีที่แพรหลายมากกวาวิธีอ่ืน เพราะมีประสิทธิภาพดี ควบคุมระบบงาย คลอรีนไดออกไซด ฆาเชื้อโรคโดยการทําลายเอนไซม ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญในการเจริญเติบโตของเซลลสิ่งมีชีวิต โดยมีคุณสมบัติเปนสารออกซิไดซิง จึงทําปฏิกิริยากับสวนประกอบของเซลลจุลชีพโดยการดึงอิเล็กตรอนออกมาทําใหเยื่อหุมเซลล (cell membrane) ขาดเสถียรภาพ และทําใหเซลลแตกในที่สุด ClO2 ยังสามารถทําปฏิกิริยากับโปรตีนของเซลลไดหลายชนิด ทําใหยากตอการที่จุลชีพจะเกิดการกลายพันธุแลวอยูในรูปที่ตานทานตอ ClO2 ได นอกจากนี้ ClO2 ยังสามารถฆาแบคทีเรียที่อยูในรูป endospore ได โดย ClO2 สามารถซึมผานสวนหอหุมสปอรเขาไปทําลายสวนประกอบภายในได ClO2 ถึงแมจะมคีลอรีน (Cl) เปนสวนประกอบ แตคุณสมบัติกลับแตกตางจาก Cl เนื่องจาก ClO2 ไมทําปฏิกิริยากับสารประกอบ เชน แอมโมเนีย หรือสารประกอบอินทรีย ทําใหไมกอสารประกอบอินทรียขางเคียงที่ไมพึงประสงคของคลอรีน (chlorinated organic compounds) ซึ่งสารเหลานี้มักเปนสารกอมะเร็งที่รุนแรงชนิดหนึ่ง และเนื่องจากกาซคลอรีนไดออกไซดมีคา oxidation/ reduction potential ต่ํากวาสารฆาเชื้อชนิดอื่นๆ เชน โอโซน (O3) ไฮโดรเจนเปอรออกไซด หรือโซเดียมไฮโปคลอไรท มีฤทธิ์กัดกรอนวัสดุนอยกวา จึงปลอดภัยเมื่อใชงานในหองที่มีอุปกรณหรือเครื่องมือทางวิทยาศาสตร

11.2.3 โซเดียมไดคลอโรไอโซไซยานูเรท (Sodium dichloroisocyanurate) โซเดียมไดคลอโรไอโซไซยานูเรท (NaDCC) เปนสารประกอบคลอรีนที่พัฒนาลาสุด ใหมีความคงตัวสูง

เก็บรักษาไดนาน สามารถละลายน้ําไดอยางรวดเร็ว และไมมีตะกอนหลงเหลือ มี pH ที่เหมาะสม 6.4 - 6.8 ทั้งในรูปของผงแปง เกล็ด และเม็ด ประกอบดวยคลอรีน 60% NaDCC หลังจากละลายน้ําแลว จะแตกตัวให hypochlorous acid และ cyanuric Acid (ที่ชวยทําให HOCl มีความคงตัวในน้ําเพ่ิมขึ้น) ไมมีผลกระทบตอ

Page 115: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 97

คา pH ของน้ํา สามารถออกฤทธิ์ไดดีแมแตในน้ําที่มี pH 8 - 9 มักเตรียมสารละลายโดยใชผงของ NaDCC 1.7

กรัม/ ลิตร และ 8.5 กรัม/ลิตร เพ่ือใหไดความเขมขนสุดทายของคลอรีนในสารละลายเปน 1 กรัม/ ลิตร และ 5 กรัม/ ลิตร ตามลําดับ สวนในรูปเม็ดประกอบดวยคลอรีน 1.5 กรัม/ เม็ด ควรใช 1 หรือ 4 เม็ด ละลายในน้ํา 1 ลิตร ไดความเขมขนสุดทาย เปน 1 กรัม/ ลิตร และ 5 กรัม/ ลิตร ตามลําดับ

NaDCC อยูในรูปผงแปง หรือ เม็ดทําใหเก็บรักษาไดงายและปลอดภัย สามารถออกฤทธิ์ไดดีกวาคลอรีนชนิดไฮโปคลอไรท 2 - 10 เทา จึงใชนอยแตสามารถฆาเชื้อไดดี สามารถสลายตัวไดเร็ว และมีฤทธิ์กัดกรอนนอยกวาคลอรีนชนิดอ่ืน สารละลายนี้สามารถใชงานทําความสะอาดฆาเชื้อโรค กรณีการเกิดการหกกระเด็นของเลือด และของเหลวปนเปอนสารชีวภาพอันตรายอ่ืน โดยตองทิ้งใหน้ํายาทํางานอยางนอย 10

นาที กอนเช็ดทําความสะอาด

11.2.4 คลอรามีน (Chloramines) สารคลอรามีน (NH2Cl) สวนใหญอยูรูปผงแปง ประกอบดวยคลอรีน 25% สารคลอรามีนมีอัตราการ

ปลอยกาซคลอรีนชากวาไฮโปคลอไรท ดังนั้นจึงตองใชความเขมขนสูงกวา เพ่ือใหไดประสิทธิภาพเทากันกับ ไฮโปคลอไรท แตสารประกอบอินทรียไมมีผลกระทบตอประสิทธิภาพการทํางานของสารละลายคลอรามีน ความเขมขนที่ควรใชสําหรับการฆาเชื้อโรคทั้งสถานการณที่สะอาดและสกปรก คือ 20 กรัม/ ลิตร

สารละลายคลอรามีนเปนสารที่ไมสี ไมมีกลิ่น แตอยางไรก็ตามหลังจากการแชวัตถุ เพ่ือลดการปนเปอนในน้ํายาฆาเชื้อโรคประเภทนี้ ตองลางทําความสะอาดดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง เนื่องจากมักมีคราบลักษณะคลายผงแปงหลงเหลืออยู ซึ่งผงแปงที่พบ คือ โซเดียมโทซิลคลอราไมด

11.2.5 ฟอรมาลดีไฮด (Formaldehyde) ฟอรมาลดีไฮด (HCHO) เปนกาซท่ีมีคุณสมบัติในการฆาเชื้อจุลชีพทุกชนิด รวมทั้งสปอร ที่อุณหภูมิต่ํา

กวา 20 องศาเซลเซียส แตไมสามารถทําลาย prion ได จัดเปน high-level disinfectant ที่ทําปฏิกิริยาคอนขางชาและตองการความชื้น 70% ในการทําปฏิกิริยา

มีขายในทองตลาดในรูปแบบเกล็ดและเม็ดของสารพาราฟอรมาลดีไฮด (paraformaldehyde) หรือ ฟอรมาลีน ซึ่งเปนสารละลายกาซ 37% ในน้ํา สารเคมีทั้งสองชนิดเมื่อไดรับความรอนจะปลอยกาซฟอรมาลดีไฮดออกมา ซึ่งสามารถใชในการลดการปนเปอนหรือฆาเชื้อโรคในที่ที่เปนระบบปด เชน หอง หรือ ตูชีวนิรภัย นอกจากนีส้ารละลาย 5% ของฟอรมาลีนในน้ํา สามารถใชเปนน้ํายาฆาเชื้อโรคได มีประสิทธิภาพดี แตเปนสารกอมะเร็งในคน

สารฟอรมาลดีไฮดอาจกอใหเกิดโรคมะเร็งได จึงจัดเปนสารเคมีที่มีอันตราย เปนกาซที่มีกลิ่นเหม็น สามารถทําใหเกิดการระคายเคืองทั้งตาและเยื่อบุ ดังนั้นจึงควรจัดเก็บและใชในตูดูดควัน หรือในพ้ืนที่ที่มีระบบถายเทอากาศที่ด ี

Page 116: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

98 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

11.2.6 กลูตาราลดีไฮด (Glutaraldehyde) กลูตาราลดีไฮด (OHC(CH2)3CHO) เปนสารเคมีที่มีความสามารถในการฆาเชื้อแบคทีเรีย เชื้อมัยโค

แบคทีเรีย สปอร เชื้อรา ไวรัสชนิด lipid และชนิด non-lipid ได ความเขมขนมากกวาหรือเทากับ 2% จัดเปน high-level disinfectant ไมทําใหโลหะสึกกรอน และมีความสามารถในการทําปฏิกิริยาไดเร็วกวาสารฟอรมาลดีไฮด มีฤทธิ์ฆาสปอรมากกวาฟอรมาลดีไฮด 2 - 8 เทา แตมีขอจํากัด คือ ตองใชเวลาในการฆาสปอรนานกวา สามารถทําลาย vegetative cell ของแบคทีเรียไดภายใน 5 นาที ฆาไวรัสตับอักเสบ และเอชไอวี ไดภายใน 15 - 30 นาที การฆาเชื้อวัณโรคจะฆาไดชา และมีฤทธิ์ฆาวัณโรคไดนอยกวาฟอรมาลดีไฮดไอโอไดน และแอลกอฮอล ใช กลูตาราลดีไฮด 2% เปนเวลา 3 - 10 ชั่วโมง สําหรับการทําใหปราศจากเชื้อ (sterilization) และใชกลูตาราลดีไฮด 2% เปนเวลา 10 - 30 นาที สําหรับการทําลายเชื้อ (disinfection) มีประสิทธิภาพในการทําลายเชื้อแบคทีเรียทุกชนิด เชื้อรา และไวรัส

โดยทั่วไปจะอยูในรูปสารละลายที่มีความเขมขน 20 กรัม/ ลิตร และบางผลิตภัณฑตองเติมสารประกอบไบคารบอเนตกอนการใชงาน และสามารถเก็บไวใชงานหลังจากนั้นไดประมาณ 1 - 4 สัปดาห ขึ้นกับลักษณะการใชงาน และควรเลิกใชเมื่อสารละลายมีลักษณะขุน

กลูตาราลดีไฮด เปนสารเคมีที่มีความเปนพิษ สามารถทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังและเยี่อบุจมูก ตา และทางเดินหายใจสวนตน ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับสาร ควรจัดเก็บและใชในตูดูดควัน หรือในพ้ืนที่ที่มีระบบการถายเทอากาศที่ดี และไมควรใชเปนน้ํายาฆาเชื้อสําหรับสเปรยทําความสะอาด ลดการปนเปอนพื้นผิวของสิ่งแวดลอม ไมทําลายเนื้อพลาสติกและเลนส มีฤทธิ์กัดกรอนโลหะตํ่า จึงเหมาะที่จะนํามาใชในการทําใหวัตถุที่ไมสามารถทนความรอนไดปลอดเชื้อ ฤทธิ์อาจถูกยับยั้งเมื่อมีสิ่งสกปรกปะปนอยูมาก

ขอเสีย คือ มีราคาแพง มีกลิ่นฉุนระคายเคือง กอนแชนํ้ายา ตองลางสารอินทรียออกใหหมด หลังแชนํ้ายาตองลางออกใหหมดดวยนํ้ากลั่น และเช็ดใหแหง ตองระมัดระวังเรื่องวันหมดอายุ ตองสวมถุงมือ หนากากอนามัยทุกครั้งที่ใชนํ้ายานี้ บริเวณท่ีใชตองมีอากาศถายเทสะดวก เพราะเปนสารเคมีที่ระเหยได นํ้ายาจะมีประสิทธิภาพอยูไดประมาณ 28 วัน

11.2.7 สารประกอบควอเทอนารีแอมโมเนียม (Quaternary ammonium compounds) เปนสารประกอบที่มีคุณสมบัติฆาเชื้อแบคทีเรีย และไวรัสชนิด lipid ได แตไมสามารถฆาสปอร เชื้อ

มัยโคแบคทีเรีย และไวรัสตับอักเสบได จึงจัดเปน low-level disinfectant แตสามารถใชเปนสาร antiseptic

ได เชน เบนซาลโคเนียม

Page 117: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 99

มีคุณสมบัติในการลดแรงตึงผิว ชวยในการทําความสะอาด มีอันตรายตอผูใชนอย ไมระคายเคืองผิวหนัง และไมมีฤทธิ์กัดกรอนพ้ืนผิว ไมสามารถนํามาใชฆาเชื้อเครื่องมือ แตสามารถใชทําความสะอาดพ้ืนผิวภายนอก ใชเวลา 10 นาท ี

ความสามารถในการฆาเชื้อของสารประกอบชนิดนี้จะลดลงเมื่อทําปฏิกิริยากับสารอินทรีย น้ํา และ

anionic detergents ดังนั้นในขั้นตอนการฆาเชื้อดวยสารเคมีชนิดนี้ จึงควรตองลางทําความสะอาดเบื้องตนกอน สารมีความคงตัวเมื่อเจือจางจึงไมจําเปนตองเปลี่ยนทิ้งทุกวัน อาจทําใหเกิดสารตกคางซึ่งไมยอยสลายโดยธรรมชาติ

สารประกอบควอเทอนารีแอมโมเนียมหลายชนิด ใชเปนสวนผสมรวมกับสารเคมีฆาเชื้อโรคชนิดอ่ืน เชน แอลกอฮอล คือ ควอเทอนารีแอมโมเนียมคอมเพานดผสมแอลกอฮอล หรือ ควอแอลกอฮอล (quaternary ammonium compounds-alcohol) เปนนํ้ายาฆาเชื้อชนิดใหม ซึ่งนําขอดีของนํ้ายาในกลุมแอลกอฮอลมาลดขอดอยของนํ้ายาในกลุมควอเทอนารีแอมโมเนียม ทําใหมีคุณสมบัติที่ดี คือ สามารถฆาเชื้อไดรวดเร็วและหลายชนิด สามารถฆาเชื้อมัยโคแบคทีเรีย และไวรัสตับอักเสบได ใชเวลาในการฆาเชื้อลดลงจากเดิมครึ่งหนึ่ง ไมมีสารตกคางที่พ้ืนผิว เมื่อเจือจางแลวไมระคายเคืองผิวหนังและเนื้อเยื่อ ไมเปนอันตรายตอรางกาย ไมมีฤทธิ์กัดกรอนทุกพ้ืนผิว เชน โลหะ แกว พลาสติก ไมมีกลิ่นเหม็น ประสิทธิภาพไมลดลงเมื่อสัมผัสกับสารอินทรีย มีความคงตัวแมอยูในสภาวะที่เปนกรดหรือดาง ไมมีผลกระทบตอระบบบําบัดนํ้าเสีย และไมกอใหเกิดสารตกคางที่ไมยอยสลายในสิ่งแวดลอม

ในกรณีที่ผสมแอลกอฮอลมากกวา 40 % โดยมีปริมาณควอเทอนารีแอมโมเนียมมากกวา 0.20% แตไมมากกวา 0.30 % สามารถฆาเชื้อวัณโรคได จึงจัดเปน intermediated-level disinfectant

11.2.8 ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) และเปอราซิด (peracids) มีคุณสมบัติเปนสารออกซิแดนทที่มีความ

แรงมาก และมีประสิทธิภาพในการฆาจุลชีพไดหลายชนิด จัดเปน high-level disinfectant ที่มีความปลอดภัยทั้งตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ไฮโดรเจนเปอรออกไซดมีทั้งที่อยูในรูปพรอมใชงาน คือ ไฮโดรเจนเปอรออกไซด 3% และสารละลายดวยน้ําสะอาด (sterilized water) ในอัตราสวน 1:5-1:10

ไฮโดรเจนเปอรออกไซด สามารถใชลดการปนเปอนพ้ืนที่ปฏิบัติงาน เชน โตะปฏิบัติการ ตูชีวนิรภัย นอกจากนี้สารละลายที่มีความเขมขนสูง สามารถใชในการฆาเชื้อโรคสําหรับเครื่องมือทางการแพทย หรือทางทันตกรรมที่ไมทนตอความรอน ไอของสารไฮโดรเจนเปอรออกไซดสามารถใชในการฆาเชื้อโรคเครื่องมือผาตัดที่ไมทนตอความรอนไดเชนกัน

ไฮโดรเจนเปอรออกไซด และเปอราซิด มีฤทธิ์ในการกัดกรอนโลหะ เชน อลูมิเนียม ทองแดง ทองเหลือง และสังกะสี สามารถขจัดสีจากเสื้อผา เสนผม ผิวหนังและเยื่อบุ ได ควรจัดเก็บสารชนิดนี้ใหหางจากความรอนและแสงสวาง

Page 118: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

100 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

11.2.9 ไอโอดีน และ ไอโอโดฟอร (Iodine and Iodophors) จัดเปนสารเคมีที่ประสิทธิภาพในการฆาเชื้อระดับต่ําถึงปานกลาง (low level – intermediated

level disinfectant) ถาอยูในรูปทิงเจอรจะเปน low-level disinfectant แตถาอยูในรูปโพวีโดน-ไอโอดีน (povidone-iodine) จะเปน intermediated-level disinfectant สามารถฆาจุลชีพไดหลายชนิดรวมทั้ง มัยโคแบคทีเรีย ออกฤทธิ์ในการฆาจุลชีพ โดย free Iodine ผานผนังเซลลไปทําลายโปรตีนและทําลายขบวนการสราง กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ของจุลชีพอยางรวดเร็ว ประสิทธิภาพของการฆาเชื้อขึ้นอยูกับปริมาณ free Iodine ซึ่งเกิดจากการเจือจางนํ้ายาอยางถูกตอง ตามขอกําหนดของบริษัทผูผลิตอยางเครงครัด การทํางานของสารชนิดนี้เหมือนกับการทํางานของสารคลอรีน ถึงแมอาจถูกยังยั้งโดยสารอินทรียไดนอยกวา โดยทั่วไปไมนิยมใชไอโอดีนในการฆาเชื้อโรค เนื่องจากเปนสารที่สามารถทําใหเปรอะเปอนเสื้อผา และสิ่งแวดลอมได อยางไรก็ตามไอโอโดฟอร และทิงเจอรไอโอดีน จัดเปนสารที่มีประสิทธิภาพสําหรับการยับยั้งเชื้อ โดยใชทําความสะอาดบริเวณผิวหนังไดเปนอยางดี (antiseptic) ใชฆาเชื้อบนพ้ืนผิว วัสดุฟนพิมพปาก หรือ ฟนปลอม และใชเปนนํ้ายาแชเครื่องมือกอนลาง ตองใชเวลาสัมผัสนํ้ายาอยางนอย 10 นาที จึงจะมีประสิทธิภาพในการฆาเชื้อ สารอินทรียจะทําใหประสิทธิภาพการฆาเชื้อลดลง มีฤทธิ์ในการกัดกรอนพ้ืนผิวโลหะ และติดสี เกิดสารตกคางหากใชเปนเวลานาน

การเตรียมน้ํายาตองใชนํ้ากลั่นในการเจือจาง หากเปนนํ้ากระดางนํ้ายาจะหมดประสิทธิภาพ ภาชนะที่บรรจุตองปองกันแสง มีฝาปดสนิท อายุการใชงานในภาชนะที่เปดใชบอยไมควรใชเกิน 7 วัน ในกรณีใชเพ่ือฆาเชื้อมัยโคแบคทีเรียตองผสมนํ้ายาใหมทุกวัน เนื่องจากประสิทธิภาพจะลดลงหลังจากผสมแลว 24 ชั่วโมง

ผลิตภัณฑที่มีสารไอโอดีนเปนสวนประกอบพ้ืนฐานควรจัดเก็บไวที่อุณหภูมิ 4 - 10 องศาเซลเซียส เพ่ือหลีกเลี่ยงการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย

11.2.10 แอลกอฮอล (Alcohols) เอทานอล (ethyl alcohol; C2H5OH) และ ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล (isopropyl alcohol;

(CH3)2CHOH) เปนสารที่มีคุณสมบัติในการฆาเชื้อโรคเหมือนกัน ตางกันที่ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล มีฤทธิ์ในการฆาเชื้อโรคไดสูงกวาเอทานอล แตระเหยชากวาทําใหผิวแหงและระคายเคืองผิวมากกวา ทั้งสองชนิ ดจัดเปน intermediate level disinfectant โดยสามารถทําลายแบคทีเรีย รา มัยโคแบคทีเรีย และไวรัสชนิด lipid แตไมสามารถทําลายสปอรและจุลชีพกลุมไวรัสชนิด non-lipid และสปอรของแบคทีเรีย เนื่องจากระเหยเร็ว ทําใหมีประสิทธิภาพที่จํากัด แอลกอฮอลออกฤทธิ์โดยการตกตะกอนโปรตีนและละลายไขมันที่เยื่อหุมเซลล ความเขมขนที่มีประสิทธิภาพในการทําลายไดสูงสุด คือ แอลกอฮอล 70% โดยละลายในน้ํา เพราะมีปริมาณแอลกอฮอลนอยที่สุดที่จะไดผลดีที่สุด และมีปริมาณนํ้าที่พอเหมาะที่จะทําใหผิวหนังเปยกไดดี ชวยใหแอลกอฮอลแทรกซึมกระจายตัวไดดีและระเหยชาไมเปนอันตรายตอผิวหนังมาก ถาความเขมขนมากกวา 80% ขึ้นไปประสิทธิภาพจะลดลง

Page 119: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 101

เมื่อผสมสารชนิดอ่ืนกับสารละลายแอลกอฮอลจะเพ่ิมประสิทธิในการฆาเชื้อโรค ตัวอยางเชน สวนผสมของ แอลกอฮอล 70% กับฟอรมาลดีไฮด 100 กรัม/ ลิตร และแอลกอฮอล 70% กับ คลอรีน 2 กรัม/ ลิตร สารละลายแอลกอฮอล 70% สามารถใชกับผิวหนัง จึงจัดเปน antiseptic ดวย นอกจากนี้สามารถใชกับพ้ืนผิวโตะปฏิบัติการและตูชีวนิรภัย แชฆาเชื้อเครื่องผาตัดชิ้นเล็ก มักนิยมใชเปนสวนผสมของครีมบํารุงผิว และใชทําความสะอาดมือในกรณีที่ไมสามารถลางมือได ไมเหลือสิ่งตกคางหลังปฏิกิริยา สามารถทําใหพลาสติก ยาง ขุนหรือเสื่อมสภาพ ดังนั้นจึงไมควรใชเช็ดหรือแชเครื่องมือที่มีสวนประกอบของยาง พลาสติก เครื่องมือที่ประกอบดวยเลนส เพราะจะทําลายกาวที่ยึดเลนส ถาแชเครื่องมือโลหะไวเกิน 8 ชั่วโมง ตองเติมโซเดียมไนไตรท 0.2 - 0.4% เพ่ือปองกันสนิม และใชรวมกับสารฆาเชื้ออ่ืน เชน เซฟลอนกับแอลกอฮอล 70% ในอัตราสวน 1:30 สามารถใชในการแชเครื่องมือกรณีท่ีตองการฆาเชื้อแบบเรงดวน 2 - 5 นาที

ขอสีย คือ ประสิทธิภาพจะลดลงเมื่อสัมผัสสารอินทรีย เนื่องจากแอลกอฮอลไมละลายโปรตีนในเลือดหรือนํ้าลาย

แอลกอฮอลมีคุณสมบัติเปนสารระเหยและไวไฟ จึงควรหลีกเลี่ยงการใชใกลเปลวไฟ จัดเก็บในที่เหมาะสม ภาชนะปดมิดชิด และควรติดฉลากใหชัดเจน อายุการใชงานถาผสมเปนแอลกอฮอล 70% บรรจุในภาชนะปดมิดชิดไมไดเปดใชจะมีอายุนาน ถาเปดใชบอยไมควรใชเกิน 7 วัน และควรเปลี่ยนน้ํายาทุกครั้งเมื่อขุน หากเปดใชงานแอลกอฮอล 70% ที่เก็บในภาชนะปดสนิท ปริมาตรไมเกิน 60 มิลลิลิตร และปริมาตรไมเกิน 250 มิลลิลิตร สามารถเก็บไวไดนาน 24 วัน และ 49 วัน ตามลําดับ

การเตรียมน้ํายาฆาเชื้อ ใชสูตรการเตรียมสารเคมีท่ัวไป คือ

M1V1 = M2V2

เมื่อ M1 = ความเขมขนของสารตั้งตน (% ที่ระบุขางขวด) V1 = ปริมาตรของน้ํายาที่จะดูดมาจากขวดตั้งตน (ml)

M2 = ความเขมขนที่ตองการใชในการฆาเชื้อ

V2 = ปริมาตรที่ตองการใช (ml)

ตัวอยางการเตรียมน้ํายาฆาเชื้อ

เมื่อตองการเตรียมแอลกอฮอล 70% ปริมาตร 1 ลิตรจากภาชนะบรรจุซึ่งมีความเขมขน 95% จะตองทําอยางไร? 1. ดูความเขมขนตั้งตนของแอลกอฮอลขางภาชนะบรรจุที่มาจากโรงงานผูผลิต วามีสวนประกอบของแอลกอฮอล เทาไหร

ความเขมขนของแอลกอฮอล ทีร่ะบุบนภาชนะบรรจุจากโรงงาน คือ 95% (95 ดีกรี) จากสูตร M1V1 = M2V2

Page 120: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

102 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

V1 = M 2 V 2 / M1

เมื่อ M1 = 95% (ความเขมขนของแอลกอฮอลตั้งตน ที่ระบุขางภาชนะ) M2 = 70% (ความเขมขนที่ตองการใชในการฆาเชื้อ) V2 = 1 ลิตร (ปริมาตรที่ตองการใช ) V1 = (70%) (1,000)/ (95%) = 736.8 มิลลิลิตร

2. ตวงแอลกอฮอล 95% ปริมาตร 736.8 มิลลิลิตร แลวเติมน้ํากลั่นใหไดปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร

Page 121: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 103

บทที่ 12 การขนสงสารชีวภาพอันตราย (Infectious Substances Transportation)

การขนสงสารชีวภาพอันตราย ซึ่งรวมถึงจุลชีพกอโรค และสารชีวภาพอ่ืน เชน วัตถุตัวอยางที่คาดวามีการปนเปอนดวยจุลชีพกอโรคหรือสารชีวภาพอันตราย เปนกระบวนการที่สําคัญ ไมวาจะเปนการขนสงสารชีวภาพภายในหนวยงาน หรือการขนสงไปยังหนวยงานอ่ืนภายในประเทศ หรือตางประเทศ เพราะความผิดพลาดที่เกิดข้ึนจากการขนสงสารชีวภาพ อาจกอใหเกิดการรั่วไหลของสารชีวภาพอันตรายสูสิ่งแวดลอมจนเปนสาเหตุการระบาดของโรคได

การบรรจุหีบหอ เพ่ือการขนสงสารชีวภาพติดเชื้อ ( infectious substances) ตามขอกําหนดขององคการสหประชาชาติ (UN regulation) คือ การบรรจุในพัสดุภัณฑสามชั้น (triple packaging system) ดังนั้นการขนสงสารชีวภาพอันตราย จึงใชหลักการการบรรจุในภาชนะ 3 ชั้น เชนกันไมวาจะเปนการขนสงภายในหนวยงาน หรือการขนสงออกนอกหนวยงาน แตอาจปรับเปลี่ยนภาชนะทั้ง 3 ชั้นใหมีความเหมาะสมและตรงกับขอกําหนดของหนวยงานหรือองคกร เชน การสงทางทางไปรษณียจะตองปฏิบัติตามขอตกลงของสหพันธไปรษณียนานาชาติวาดวย Non-infectious and infectious perishable biological substancess การขนสงทางอากาศตองปฏิบัติตามระเบียบขององคกรการบินระหวางประเทศ ( International Air

Transport Association; IATA)

12.1 การขนสงสารชีวภาพอันตรายภายในหนวยงาน 12.1.1 การบรรจุ ตองบรรจุในภาชนะบรรจุ หรือบรรจุภัณฑ 3 ชั้น ซึ่งมีคุณสมบัติอยางนอย ดังนี้

12.1.1.1 ภาชนะชั้นใน ตองมีความคงทนไมแตกงาย กันน้ําและของเหลวซึมผาน รวมทั้งปองกันสารที่เปนของแข็งที่เปนผงละเอียดไมใหหลุดลอดได เชน หลอดหรือขวดที่ทําดวยแกว พลาสติก หรือโลหะ ปากหลอดหรือขวดตองเชื่อมปดสนิทหรือมีฝาปดสนิท ดานนอกของภาชนะปดฉลากแสดงรายละเอียดตัวอยาง เชน ชื่อ-สกุล เลขประจําตัวผูปวย เลขที่ตัวอยาง วันที่เก็บตัวอยาง หรือชื่อวิทยาศาสตรของจุลชีพ เปนตน

12.1.1.2 ภาชนะชั้นกลาง ตองมีความคงทนไมแตกงาย และสามารถปองกันน้ําและของเหลวซึมผานได เชนถุงพลาสติกซิปล็อค หรือกลองพลาสติกท่ีมฝีาปดสนิท

x กรณสีารชีวภาพที่สงเปนของเหลว ตองมีวัสดุดูดซับของเหลวพันรอบภาชนะชั้นในหรือใสวัสดุดูดซับในระหวางภาชนะชั้นในและชั้นกลาง วัสดุดูดซับของเหลวที่ใช

Page 122: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

104 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตองมีเพียงพอที่จะสามารถดูดซับของเหลวจากภาชนะชั้นในทั้งหมดได หากภาชนะชั้นในแตกหรือรั่ว

x กรณีภาชนะชั้นในเปนหลอดแกว และมีจํานวนมากกวา 1 หลอด ใสในภาชนะชั้นกลางเดียวกัน ควรมีฐานชองวางหลอดภาชนะชั้นแรก (rack) หรือพันหลอดแกวภาชนะชั้นในดวยวัสดุกันกระแทก เพ่ือปองกันการแตกหักจากการกระทบกระแทกระหวางหลอดแกว กอนบรรจุในภาชนะชั้นกลาง

x กรณีขนสงแผนแกวสไลดตัวอยาง ภาชนะชั้นกลางตองเปนชนิดที่มีความคงทนตอการเจาะทะลุทิ่มแทงไดดวย

12.1.1.3 ภาชนะชั้นนอก ตองทําดวยวัสดุที่คงทนแข็งแรงตอการกระทบกระเทือน มีฝาปดสนิท มิดชิดและสามารถปองกันการรั่วไหลของของเหลว หากการขนสงสารชีวภาพตองมีการควบคุมอุณหภูมิต่ําใหใชวัสดุควบคุมความเย็นที่เหมาะสม ดานนอกภาชนะตองติดเครื่องหมายชีวภัยสากล

12.1.2 การขนสง หากขนสงโดยใชรถเข็น ตองขนสงโดยใชรถเข็นที่จัดไวเฉพาะสําหรับการขนสงสารชีวภาพอันตราย รถเข็นควรทําจากวัสดุที่สามารถทําความสะอาดฆาเชื้อดวยน้ํายาฆาเชื้อไดงาย มีฉากหรือที่ก้ันรอบดาน เพ่ือปองกันการลวงหลนของสารชีวภาพระหวางการขนสง

12.1.3 การดําเนินการอ่ืนที่จําเปน ดังนี้ 12.1.3.1 การแนบเอกสาร การขนสงจุลชีพกอโรค ควรแนบเอกสารขอมูลที่จําเปน เชน

ขอมูลความปลอดภัยของเชื้อโรคและพิษจากสัตว ไปกับบรรจุภัณฑหรือผูนําสงเปนผูถือเอกสารนําไปใหผูรับ

12.1.3.2 การนัดหมายในการรับสารชีวภาพ ตองมีการนัดหมายการขนสงลวงหนาระหวางผูสงและผูรับ ถึงรายละเอียดของตัวอยางที่ขนสง ชื่อผูนําสง ชื่อผูรับ หมายเลขโทรศัพทที่ติดตอได เวลาที่นําสง สถานที่ที่นําสง และมีการติดตามหลังการขนสง เพ่ือใหแนใจวาผูรับไดรับสารชีวภาพเรียบรอย ในสภาพที่เหมาะสม

12.1.3.3 การสงมอบบรรจุภัณฑ ผูสงตองสงสารชีวภาพใหกับผูรับในสถานที่ และบริเวณที่กําหนดใหเปนที่รับบรรจุภัณฑเทานั้น หามวางบรรจุภัณฑทิ้งไวโดยไมมีผูดูแล หรือสงมอบใหกับบุคคลอื่นที่ไมใชผูรับหรือผูแทนที่ไดรับมอบหมาย

การขนสงวัตถุตัวอยางโดยระบบทอลมสําหรับโรงพยาบาล (Hospital pneumatic tube system) ระบบทอลมรับสงภายในโรงพยาบาลสามารถขนสงตัวอยางสิ่งสงตรวจจากผูปวยไปยังหองปฏิบัติการ

ดวยกระสวย (carriers) ผานระบบทอลม เพ่ือความสะดวกรวดเร็ว ระบบจะเชื่อมตอโดยตรงระหวางแผนกทั้งหมดในโรงพยาบาล เชน ธนาคารเลือด แผนกผูปวยนอก หอผูปวยและแผนกบริหารจัดการ เปนตน

Page 123: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 105

คุณสมบัตขิองตัวกระสวย มีดังนี้ 1. มีฝาเปดปด สามารถปดสนิทแนนตลอดการขนสงในระบบทอลม

2. มีขนาด 4 - 6 นิ้ว ขึ้นกับการใชงาน 3. ทําจากวัสดุที่เปนพลาสติก ทนทานตอแรงกระแทกสูง

ขอควรระวัง ฝาจุกหลอดบรรจุตัวอยางสิ่งสงตรวจ มักปดไมสนิท ทําใหเกิดการปนเปอนแผนกันกระแทกที่หอ และ

หลอดตัวอยางสิ่งสงตรวจที่สงมาดวยกัน เปนเหตุใหบางครั้งผูปวยตองเจาะเลือดใหม หากพบเหตุดังกลาวควรนํากระสวยนี้ไปเปดในตูชีวนิรภัย เพ่ือปองกันการฟุงกระจายหรือรั่วไหลของจุลชีพกอโรค โดยผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลกอนนํากระสวยไปยังตูชีวนิรภัย

ขอปฏิบัติหลังการใชงาน

หลังการใชงานควรทําความสะอาดและทําลายจุลชีพดวยวิธี ที่เหมาะสมอยางสม่ําเสมอตามที่หนวยงานกําหนด กรณีที่มีการหกรั่วไหลของตัวอยางสิ่งสงตรวจจากผูปวยในตัวกระสวย ตองดําเนินการลดการปนเปอนทันท ีโดยมีขัน้ตอน ดังนี้

1. สวมชุดอุปกรณปองกันที่เหมาะสม

2. เปดกระสวยที่ปนเปอนในตูชีวนิรภัย

3. กรณีที่มีการแตกหักของภาชนะบรรจุตัวอยางสิ่งสงตรวจภายในกระสวย ใหดําเนินการกับภาชนะบรรจุดังกลาวเชนเดียวกับการจัดการสารชีวภาพหกหลนในหองปฏิบัติการ รายละเอียดในบทที่ 14 การเตรียมความพรอมเพ่ือรองรับเหตุการณฉุกเฉิน

4. นําตัวกระสวยที่ปนเปอนแชในภาชนะท่ีบรรจุน้ํายาฆาเชื้อที่เหมาะสม ตามระยะเวลาที่กําหนด (contact time)

5. เมื่อครบกําหนดเวลา นํากระสวยออกมาลางทําความสะอาด ผึ่งใหแหง เพ่ือเตรียมกลับมาใชใหม

12.2 การขนสงสารชีวภาพอันตรายระหวางหนวยงาน การขนสงสารชีวภาพอันตรายตองดําเนินการใหเกิดความปลอดภัยทั้งตอผูขนสง วัตถุตัวอยาง

สารชีวภาพ ผูรับ และสิ่งแวดลอม และตองรักษาสภาพของสารชีวภาพใหอยูในสภาวะที่เหมาะสม ทั้งนี้การขนสงตองเปนไปตามเง่ือนไขของการขนสงแตละประเภท ไดแก การขนสงทางอากาศ การขนสงทางไปรษณีย หรือการขนสงทางบก

12.2.1 การบรรจุ ตองบรรจุในภาชนะบรรจุ หรือบรรจุภัณฑ 3 ชั้น ซึ่งมีคุณสมบัติอยางนอย ดังนี้

Page 124: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

106 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

12.2.1.1 ภาชนะชั้นใน ตองมีความคงทนไมแตกงาย กันน้ําและของเหลวซึมผาน รวมทั้งปองกันสารที่เปนของแข็งที่เปนผงละเอียดไมใหหลุดลอดได เชน หลอดหรือขวดที่ทําดวยแกว พลาสติก หรือโลหะ ปากหลอดหรือขวดตองเชื่อมปดสนิทหรือมีฝาปดสนิท ดานนอกของภาชนะปดฉลากแสดงรายละเอียดตัวอยาง เชน ชื่อ -สกุล เลขประจําตัวผูปวย เลขที่ตัวอยาง วันที่ เก็บตัวอยาง หรือชื่อวิทยาศาสตรของจุลชีพ เปนตน

12.2.1.2 ภาชนะชั้นกลาง ตองมีความคงทนไมแตกงาย สามารถปองกันน้ําและของเหลวซึมผานได เชน ถุงพลาสติกซิปล็อค หรือกลองพลาสติกฝาปดสนิท

x กรณีสงวัตถุสารชีวภาพที่เปนของเหลว ตองมีวัสดุดูดซับของเหลวพันรอบภาชนะชั้นในหรือใสวัสดุดูดซับในระหวางภาชนะชั้นในและชั้นกลาง วัสดุดูดซับของเหลวที่ใชตองมีเพียงพอที่จะสามารถดูดซับของเหลวจากภาชนะชั้นในทั้งหมดไดหากภาชนะชั้นในแตกหรือรั่ว

x กรณีมีการขนสงวัตถุสารชีวภาพในภาชนะชั้นในที่เปนหลอดแกวมากกวา 1 หลอด ใสรวมในภาชนะชั้นกลางเดียวกัน ควรมีฐานชองวางหลอดภาชนะชั้นแรก (rack) หรือ พันหลอดแกวภาชนะชั้นในดวยวัสดุกันกระแทก เพ่ือปองกันการแตกหักจากการกระทบกระแทกระหวางหลอดแกว กอนบรรจุในภาชนะชั้นกลาง

x กรณีการขนสงแผนแกวสไลด ภาชนะชั้นกลางตองเปนชนิดที่มีความคงทนตอการเจาะทะลุทิ่มแทงไดดวย

12.2.1.3 ภาชนะชั้นนอก ตองทําดวยวัสดุที่คงทนแข็งแรงตอการกระทบกระเทือน มีฝาปดสนิท มิดชิดและปองกันการรั่วไหลของของเหลว หากการขนสงสารชีวภาพตองมีการควบคุมอุณหภูมิต่ําใหใชวัสดุควบคุมความเย็นที่เหมาะสม ดานนอกภาชนะติดปายสัญลักษณชีวภัยสากล

12.2.2 การดําเนินการอ่ืนที่จําเปน ดังนี้ 12.2.2.1 การแนบเอกสาร การขนสงจุลชีพกอโรค ควรแนบเอกสารขอมูลที่จําเปน เชน

ขอมูลความปลอดภัยของเชื้อโรคและพิษจากสัตว ไปกับบรรจุภัณฑ หรือสงเอกสารโดยตรงถึงผูรับ

12.2.2.2 การนัดหมายในการรับสารชีวภาพ ตองมีการนัดหมายการขนสงลวงหนาระหวางผูสงและผูรับ ถึงรายละเอียดของตัวอยางที่ขนสง ชื่อผูนําสง ชื่อผูรับ หมายเลขโทรศัพทที่ติดตอได เวลาที่นําสง สถานที่ที่นําสง และมีการติดตามหลังการขนสงวาผูรับไดรับบรรจุภัณฑครบถูกตอง

Page 125: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 107

12.3 การขนสงสารชีวภาพอันตรายไปตางประเทศ การขนสงสารชีวภาพอันตรายไปตางประเทศทางอากาศตองปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติขององคกรการบินระหวางประเทศ (International Air Transport Association; IATA) ซึ่งแบงชนิดของการขนสงสารชีวภาพ ดังนี้

12.3.1 การขนสงวัตถุติดเชื้อ (Infectious substancess) ซึ่งเปนวัตถุที่สามารถกอใหเกิดโรค ที่เปนสาเหตุทําใหเกิดการตาย ความพิการ หรือความเจ็บปวยรุนแรงตอผูสัมผัสได ไดแก จุลชีพกอโรคอันตราย ที่มีรายชื่อระบุในกลุม Category A ใน Dangerous Good Regulation (DGR) กําหนดใหตองทําการสงแบบ BIOLOGICAL, Category A ซึ่งแยกเปน 2 ประเภท คือ UN2814 สําหรับจุลชีพกอโรคไดในคนและสัตว และ UN2900 สําหรับจุลชีพกอโรคในสัตวเทานั้น

12.3.2 การขนสงวัตถุติดเชื้อหรือตัวอยางสิ่งสงตรวจจากผูปวยที่คาดวามีการติดเชื้อกอโรค ที่เกิดจากจุลชีพที่ไมมีรายชื่อระบุในกลุม BIOLOGICAL Category A ใน Dangerous Good Regulation (DGR) เปนกลุม Category B ทั้งท่ีเปนตัวอยางสิ่งสงตรวจที่มีการตรวจยืนยันแลวและยังไมไดตรวจยืนยัน กําหนดใหตองทําการสงแบบ BIOLOGICAL SUBSTANCES, CATEGORY B และติดฉลากขางกลองวา UN 3373

การขนสงสารชีวภาพทางอากาศจะตองใชบรรจุภัณฑ 3 ชั้น (triple packaging) ที่ตรงตามประเภทของการขนสง และบรรจุภัณฑนั้นจะตองผานการทดสอบเกณฑมาตรฐานจากองคการสหประชาชาติ และตองมีการเตรียมเอกสารในการสงวัตถุตัวอยางตามวิธีที่ IATA กําหนดอยางเครงครัด

Page 126: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

108 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 13 การจัดการขยะติดเชื้อ (Infectious Waste Management)

ขั้นตอนหลักในการจัดการของเสียชีวภาพ หรือเรียกวาขยะติดเชื้อ ประกอบดวยการคัดแยก การจัด เก็บรวบรวม การขนสง และการกําจัด โดยของเสียจากหองปฏิบัติการมีทั้งที่เปนของเสียทั่วไปและของเสียอันตราย ซึ่งตองมีการคัดแยกออกจากกัน สามารถจําแนกประเภทของขยะหรือของเสียได ดังนี้

1. ขยะทั่วไป (General waste) หมายถึง ขยะหรือวัสดุที่ไมใชแลวจากสํานักงาน หองพักเจาหนาที่ หรือบริเวณพ้ืนที่สาธารณะ ไมใชขยะที่ออกจากหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยทั้งงานตรวจวิเคราะหและงานวิจัย และไมสามารถนํากลับมาใชใหมไดอีก เชน เศษอาหาร น้ํา เครื่องดื่ม รวมถึงใบไม

2. ขยะติดเชื้อ (Infectious waste) หมายถึง มูลฝอยที่มีจุลชีพกอโรคปะปนอยูในปริมาณ หรือความเขมขน ซึ่งสามารถทําใหผูสัมผัสหรือใกลชิดเกิดโรคได เปนขยะที่ออกจากหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย ขยะที่เกิดขึ้นหรือใชในกระบวนการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย และการรักษาพยาบาล การใหภูมิคุมกันโรคและการทดลองเก่ียวกับโรค และการตรวจชันสูตรศพหรือซากสัตว รวมทั้งในการศึกษาวิจัยเรื่องดังกลาวใหถือวาเปนขยะติดเชื้อ ไดแก

2.1 ซากหรือชิ้นสวนของมนุษยหรือสัตวที่เปนผลมาจากการผาตัด การตรวจชันสูตรศพหรือซากสัตว และการใชสัตวทดลอง

2.2 วัสดุของมีคม เชน เข็ม ใบมีด กระบอกฉีดยา หลอดแกว ภาชนะที่ทําดวยแกวหรือพลาสติก สไลด ไปเปตทิป และแผนกระจกปดสไลด

2.3 วัสดุซึ่งสัมผัสหรือสงสัยวาจะสัมผัสกับเลือด สวนประกอบของเลือด ผลิตภัณฑที่ไดจากเลือด สารน้ําจากรางกายของมนุษยหรือสัตว จุลชีพ หรือวัคซีนที่ทําจากเชื้อโรคที่มีชีวิต เชน สําลี ผากอซ ผา และทอยางเปนตน

2.4 ขยะที่เกิดจากกระบวนการในหองปฏิบัติการ เชน การเพาะบมเลี้ยงเชื้อ การทดลองโดยใชเทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรมของจุลชีพ เปนตน

2.5 ขยะทุกชนิดที่มาจากหองรักษาผูปวยติดเชื้อ

3. ขยะมีพิษหรือของเสียอันตราย (Hazardous waste) หมายถึง ขยะทางการแพทยที่มีพิษ อาจกอใหเกิดอันตรายกับมนุษย สภาพแวดลอม มีวิธีการทําลายเปนพิเศษ เชน

3.1 ขยะอันตราย ไดแก หลอดไฟ ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ กระปองสเปรย หมึกพิมพ ปากกา เมจิก เปนตน

3.2 ขยะจําพวกสารเคมี ไดแก ขวดยาตานจุลชีพ ขวดบรรจุน้ํายา/ สารเคมี น้ํายาและ สารเคมีจากหองปฏิบัติการ เปนตน

Page 127: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 109

4. ขยะรีไซเคิล (Recycle waste) หมายถึง ขยะที่สามารถนํากลับมาใชใหมได/ จําหนายได เชน กระดาษ กระปองน้ําอัดลม กลองบรรจุวัสดุ หรือผลิตภัณฑที่ไมมีการปนเปอนเชื้อโรค

ในคูมือนี้จะกลาวเฉพาะการจัดการของเสียชีวภาพหรือขยะติดเชื้อเทานั้น

การจัดการขยะติดเชื้อ มีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวของซึ่งตองนํามาใชในการกําหนดแนวทางการปฏิบัติ กฎหมายที่สําคัญ ไดแก

1. พระราชบัญญัติสง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดลอมแหงชาติ พ .ศ.2535 (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม)

2. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 (กระทรวงสาธารณสุข) 3. พระราชบัญญัติการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ .ศ.2535

(กระทรวงมหาดไทย) 4. พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.

2542 (สํานักนายกรัฐมนตรี)

กฎหมายที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อมากที่สุด คือ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ซึ่งมีกระทรวงสาธารณสุขเปนเจาภาพหลักในการดูแล และไดมีการออกประกาศกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงออกมาใชจนถึงปจจุบัน (ศึกษาเพ่ิมเติมไดจากเว็บไซดของศูนยบริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย www.laws.anamai.moph.go.th) ตัวอยางกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศบังคับใช ไดแก

1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

2. กฎกระทรวงวาดวยการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545

3. ประกาศกระทรวง เรื่อง กําหนดลักษณะของบริเวณท่ีพักภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2548

4. ประกาศกระทรวง เรื่อง หลักสูตรการฝกอบรมการปองกันและระงับการแพรเชื้อหรืออันตรายที่เกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2548

5. ประกาศกระทรวง เรื่อง หลักเกณฑและวิธีตรวจสอบมาตรฐานทางชีวภาพในการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2546

6. ประกาศกระทรวง เรื่อง ตราหรือสัญลักษณสําหรับพิมพบนภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2546

7. ประกาศกระทรวง เรื่อง กําหนดลักษณะของหองรักษาผูติดเชื้อรายแรง พ.ศ. 2548

8. ประกาศกระทรวง เรื่อง กําหนดลักษณะและเงื่อนไขหองปฏิบัติการเชื้ออันตราย พ.ศ. 2548

Page 128: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

110 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

9. ประกาศกระทรวง เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขวาดวยการขนและกําจัดมูลฝอยติดเชื้อในทองที่เทศบาลตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2558

ขยะติดเชื้อจากหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย ขยะติดเชื้อจากหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยตองใชความระมัดระวังในการจัดการมากกวา

ขยะมูลฝอยชุมชนทั่วไป หากมีการจัดการไมถูกตองตามหลักสุขาภิบาลในขั้นตอนของการเก็บรวบรวม การเคลื่อนยายการขน และการกําจัด จะสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของผูปฏิบัติงานอาจเสี่ยงตอการเกิดโรคจากขยะติดเชื้อ นอกจากนี้ยังสงผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอมได สิ่งที่หองปฏิบัติการตองคํานึงกอนจะนําขยะติดเชื้อออกจากหองปฏิบัติการ ประกอบดวย ดังนี้

1. ขยะติดเชื้อเหลานั้นผานการทําลายเชื้ออยางเหมาะสมและถูกตองหรือไม 2. หากไมไดรับการทําลายเชื้อในหองปฏิบัติการกอนนําออกมา ไดมีการบรรจุในภาชนะที่ปองกันการ

แพรกระจายของเชื้อไดดีหรือไมขณะมีการเคลื่อนยายหรือวางพักไวในสถานที่พักขยะ

3. มีการปองกันไมใหผูที่ไมมีหนาที่หรือไมใชผูเกี่ยวของเขาถึงขยะติดเชื้อนี้หรือไม

ขั้นตอนในการจัดการขยะติดเชื้อ แบงเปน 4 ขั้นตอน ไดแก 1. การเก็บรวบรวม

2. การเคลื่อนยาย

3. การขนสง 4. การกําจัด

13.1 การเก็บรวบรวม การรวบรวมและจัดเก็บขยะติดเชื้อที่เกิดจากกิจกรรมภายในหองปฏิบัติตองมีการคัดแยกประเภท

และจัดเก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยในการจัดเก็บ และการนําไปกําจัด การเก็บมูลฝอยติดเชื้อตองเก็บ ณ แหลงกําเนิดมูลฝอยติดเชื้อ และท้ิงลงในภาชนะสําหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ ดังนี้

13.1.1 มูลฝอยติดเชื้อประเภทวัสดุของมีคม ตองทิ้งลงกลอง หรือถังที่ทําจากวัสดุแข็งแรงทนทานตอการแทงทะลุ การกัดกรอนของสารเคมี และสามารถปองกันการรั่วไหลของของเหลวภายในได โดยตองบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไมเกิน 3 ใน 4 สวนของความจุภาชนะแลวปดฝาใหแนน บรรจุในถุงมูลฝอยติดเชื้อ (biohazard

bag) มัดปากถุงใหเรียบรอยกอนนําไปกําจัด

13.1.2 มูลฝอยติดเชื้ออ่ืน ซึ่งมิใชประเภทวัสดุของมีคม ใหทิ้งลงในถังขยะที่มีฝาปดมิดชิดชนิดที่ใชเทาเหยียบเปดปดฝา หรือเปดปดโดยใชสัญญาณตรวจจับ (sensor) ภายในถังขยะรองรับดวยถุงมูลฝอยติดเชื้อสีแดง ทึบแสง ทนทานตอสารเคมีและการรับน้ําหนักไมฉีกขาดงายปองกันน้ําไดไมรั่วซึมและควรบรรจุมูลฝอยเพียง 2 ใน 3 สวนของความจุของถุงการเก็บขยะทําโดยมัดรวบปากถุงแดงใหแนน ขางถุงแดงมีขอความสีดําวา

Page 129: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 111

“มูลฝอยติดเชื้อ” อยูภายใตรูปหัวกะโหลกไขวคูกับตราหรือสัญลักษณที่ใชระหวางประเทศ ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และตองมีขอความวา “หามนํากลับมาใชอีก” และ “หามเปด” พรอมระบุชื่อหนวยงานไวที่ถุงแดง ตามกฎกระทรวงวาดวยการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 สําหรับตราสัญลักษณหรือสัญลักษณที่ใชระหวางประเทศ โปรดดูรายละเอียดในบทที่ 3 สัญลักษณและปายเตือนที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย โดยสัญลักษณตองมีรัศมีไมนอยกวา 1 นิ้ว ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ตราสัญลักษณหรือสัญลักษณสําหรับพิมพบนภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2546 กอนทําการเคลื่อนยายขยะถุงมูลฝอยติดเชื้อออกจากหองปฏิบัติการ ถาเปนขยะจากตัวอยางจากผูปวยหรือจุลชีพกอโรคความเสี่ยงสูง ใหทําการฆาเชื้อเบื้องตน โดยการนึ่งทําลายเชื้อดวยเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง หากเปนขยะที่เกิดจากจุลชีพกอโรค หรือสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงต่ําและปานกลาง ใหใชน้ํายาฆาเชื้อที่มีฤทธิ์ทําลายจุลชีพกอโรคนั้นไดเช็ดโดยรอบถุงใหทั่ว

รูปที่ 13.1 ตัวอยางถุงขยะมูลฝอยติดเชื้อ ที่มา: http://env.anamai.moph.go.th/download/download/pdf/2557

13.2 การเคลื่อนยาย การเคลื่อนยายขยะติดเชื้อออกจากหองปฏิบัติการไปยังสถานที่พักเก็บขยะมูลฝอยกอนสงไปทําลาย

หรือเคลื่อนยายขยะไปยังสถานที่ทําลายขยะ ใหวางขยะถุงมูลฝอยติดเชื้อในภาชนะรองรับที่มีฝาปดมิดชิด งายตอการฆาเชื้อ และลางทําความสะอาด เพ่ือปองกันการหกหลน รวงตกของขยะระหวางการเคลื่อนยาย เชน ถังสแตนเลส เปนตน และตองดําเนินการใหถูกสุขลักษณะ ดังนี้

13.2.1 ผูปฏิบัติงาน

13.2.1.1 ผูปฏิบัติงานตองผานการฝกอบรมการปองกันและระงับการแพรเชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ

13.2.1.2 ผูปฏิบัติงานตองสวมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือยางอยางหนา ผากันเปอน ผาปดปากและจมูก และรองเทาพ้ืนยางหุมแขงตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน

Page 130: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

112 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

13.2.2 วิธีการเคลื่อนยาย 13.2.2.1 ตองทําตามตารางเวลาที่กําหนดของหนวยงาน

13.2.2.2 ตองเคลื่อนยายโดยใชรถเข็นเฉพาะสําหรับเคลื่อนยายภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ

13.2.2.3 ตองมีเสนทางเคลื่อนยายที่แนนอน และในระหวางการเคลื่อนยายไปที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อหามแวะหรือหยุดพัก ณ ที่ใด

13.2.2.4 ตองกระทําโดยระมัดระวังหามโยน หรือลากภาชนะสําหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้ 13.2.2.5 กรณีท่ีมีมูลฝอยติดเชื้อตกหลนหรือภาชนะบรรจุแตกหักระหวางทาง หามหยิบดวย

มือเปลา ตองใชคีมหรือหยิบดวยถุงมือยางอยางหนา หากเปนของเหลวใหซับดวยกระดาษโดยหมุนเปนวงกลมจากดานนอกสูดานในและท้ิงกระดาษนั้นในถุงมูลฝอยติดเชื้อ หรือภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อใบใหมและทําความสะอาด ดวยน้ํายาฆาเชื้อที่บริเวณพ้ืนนั้นกอนเช็ดถู โปรดดูรายละเอียดการจัดการสารชีวภาพหกหลนในบทที่ 15 การเตรียมความพรอมเพ่ือรองรับภาวะฉุกเฉิน

13.2.3 ลักษณะของรถเข็นสําหรับเคลื่อนยายมูลฝอยติดเชื้อ

13.2.3.1 ทําดวยวัสดุที่ทําความสะอาดไดงาย ไมมีแงมุมอันจะเปนแหลงหมักหมมของเชื้อโรค และสามารถทําความสะอาดดวยน้ําได

13.2.3.2 มีพ้ืนและผนังทึบเมื่อจัดวางภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อแลวตองปดฝาใหแนน เพ่ือปองกันสัตวและแมลงเขาไป

13.2.3.3 มีขอความสีแดงที่มีขนาดสามารถมองเห็นชัดเจนอยางนอยสองดานวา “รถเข็นมูลฝอยติดเชื้อ หามนําไปใชในกิจการอื่น”

13.2.3.4 ตองมีอุปกรณหรือเครื่องมือสําหรับใชเก็บมูลฝอยติดเชื้อที่ตกหลนระหวางการเคลื่อนยาย อุปกรณหรือเครื่องมือสําหรับใชทําความสะอาดและฆาเชื้อบริเวณที่มูลฝอยติดเชื้อตกหลนตลอดเวลาที่ทําการเคลื่อนยายภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ

13.2.4 ลักษณะของที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ

13.2.4.1 มีลักษณะไมแพรเชื้อและอยูในที่ท่ีสะดวกตอการขนมูลฝอยติดเชื้อไปกําจัด

13.2.4.2 มีขนาดกวางเพียงพอที่จะเก็บกักภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไดอยางนอยสองวัน

13.2.4.3 พ้ืนและผนังตองเรียบทําความสะอาดไดงาย

13.2.4.4 มีรางหรือทอระบายน้ําทิ้งเชื่อมตอกับระบบบําบัดน้ําเสีย

13.2.4.5 มีลักษณะโปรงไมอับชื้น

Page 131: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 113

13.2.4.6 มีการปองกันสัตวและแมลงเขาไป มีประตูกวางพอสมควรตามขนาดของหองหรืออาคาร เพ่ือสะดวกตอการปฏิบัติงาน และปดดวยกุญแจหรือปดดวยวิธีอ่ืน ที่บุคคลทั่วไปไมสามารถท่ีจะเขาไปได

13.2.4.7 มีขอความเปนคําเตือนที่มีขนาดสามารถเห็นไดชัดเจนวา “ที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ” ไวที่หนาหองหรือหนาอาคาร

13.2.4.8 มีลานสําหรับลางรถเข็นอยูใกลที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ และลานนั้นตองมีรางหรือทอรวบรวมน้ําเสียจากการลางรถเข็นเขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย

ในกรณีที่พักเก็บภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไวเกิน 7 วัน ที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อตามลักษณะขางตนได แตควรควบคุมอุณหภูมิใหอยูที่ 10 องศาเซลเซียส และตองจัดใหมีบริเวณที่พักภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไวเปนการเฉพาะ

13.3 การขนสง ในที่นี ้หมายถึง การนําขยะติดเชื้อจากที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อไปยังสถานที่กําจัดขยะติดเชื้อ 13.3.1 การขนมูลฝอยติดเชื้อ ตองดําเนินการใหถูกสุขลักษณะ ดังนี้

13.3.1.1 ผูขับขี่และผูปฏิบัติงานประจํายานพาหนะตองมีความรูเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ โดยผานการฝกอบรมการปองกันและระงับการแพรเชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ

13.3.1.2 ตองมีเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมสําหรับผูขับขี่และผูปฏิบัติงานประจํายานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้ อ อุปกรณหรือเครื่องมือสําหรับปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการตกหลนหรือการรั่วไหลของมูลฝอยติดเชื้อ อุปกรณหรือเครื่องมือปองกันอัคคีภัย และอุปกรณหรือเครื่องมือสื่อสารสําหรับใชติดตอแจงเหตุอยูในยานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อตลอดเวลาที่ทําการขนมูลฝอยติดเชื้อ

13.3.1.3 ผูขับข่ียานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อและผูปฏิบัติงานประจํายานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อตองระมัดระวังมิใหมูลฝอยติดเชื้อและภาชนะสําหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้อตกหลนในระหวางการขน

13.3.1.4 หามยานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อไปใชในกิจการอยางอ่ืน และใหทําความสะอาดและฆาเชื้ออยางนอยสัปดาหละครั้ง ยกเวนกรณีภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อแตกหรือมีการรั่วไหลตองทําความสะอาดทันทีท่ีสามารถจะทําได

13.3.2 ยานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อ ตองมีลักษณะ ดังนี้ 13.3.2.1 ตัวถังปดทึบผนังดานในตองบุดวยวัสดุที่ทนทานทําความสะอาดไดงาย ไมรั่วซึม

Page 132: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

114 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

13.3.2.2 ในกรณีที่เปนยานพาหนะสําหรับใชขนมูลฝอยติดเชื้อจากที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อที่เก็บไวนานกวา 7 วัน ภายในตัวถังของยานพาหนะนั้นตองสามารถควบคุมอุณหภูมิใหอยูที่ 10 องศาเซลเซียส หรือต่ํากวานั้นได และจะตองติดเครื่องเทอรโมมิเตอรที่สามารถอานคาอุณหภูมิภายในตัวถังไวดวย

13.3.2.3 มีขอความสีแดงที่มีขนาดสามารถมองเห็นไดชัดเจน ปดไวที่ภายนอกตัวถังดานขางทั้งสองดานวา “ใชเฉพาะขนมูลฝอยติดเชื้อ”

13.4 การกําจัด เปนการจัดการ เพ่ือทําลายเชื้อที่มีอยูในมูลฝอย ซึ่งการพิจารณาเลือกวิธีกําจัดนั้น ขึ้นอยูกับความ

เหมาะสมของเทคโนโลยีที่ไมสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดลอม และความสอดคลองกับขอจํากัดทางดานงบประมาณ ความถูกตองตามหลักวิชาการ กอนที่จะนําไปทําลายดวยวิธีการเชนเดียวกับมูลฝอยทั่วไปวิธีการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ 2 ขั้นตอน คือ

13.4.1 การทําลายเชื้อ เปนการทําลายเชื้อใหหมดไปกอนจะสงไปกําจัดตอไป สามารถดําเนินการได ดังนี้

13.4.1.1 การเผาโดยใชเตาเผาการทําลายเชื้อดวยการเผา เปนวิธีที่สามารถทําลายเชื้อโรคไดมากที่สุด การกําจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยการเผาใชเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ และหองเผาควันการเผามูลฝอยติดเชื้อใชอุณหภูมิไมต่ํากวา 760 องศาเซลเซียส และในการเผาควันใชอุณหภูมิไมต่ํากวา 1,000 องศาเซลเซียส และตองมีการควบคุมมาตรฐานอากาศเสียที่ปลอยออกจากเตาเผา ผลจากการเผาจะทําใหมีเถาตกคาง ซึ่งจะนําไปกําจัด โดยใชวิธีการเดียวกับมูลฝอยชุมชน

13.4.1.2 การอบดวยไอน้ําหรือการนึ่งโดยใชเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง (autoclave) สามารถทําลายเชื้อโรคได ปริมาณของมูลฝอยคงเหลือเทาเดิมหรือมากขึ้น เนื่องจากความชื้นจากไอน้ําที่ใชในการอบ

การกําจัดมูลฝอยติดเชื้อดวยวิธีการทําลายเชื้อดวยไอน้ําหรือวิธีอ่ืนจะตองดําเนินการใหไดตามเกณฑมาตรฐานทางชีวภาพ โดยมีประสิทธิภาพที่สามารถทําลายเชื้อแบคทีเรียเชื้อราไวรัส และปรสิตในมูลฝอยติดเชื้อไดหมด

13.4.2 การกําจัด

หลังจากการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อดวยวิธีการนึ่งฆาเชื้อดวยเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูง ตองมีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทําใหปราศจากเชื้อกระบวนการการตรวจสอบที่นาเชื่อถือมากที่สุด และเปนที่ยอมรับ คือ การทดสอบดวยตัวบงชี้ทางชีวภาพ (biological indicator) หรือ spore test ซึ่งมีการใชสปอร

Page 133: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 115

ของเชื้อ Bacillus stearothermophillus หรือ Geobacillus stearothermophilus ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด

ในกรณีกําจัดขยะมูลฝอยติดเชื้อดวยการเผา เถาที่เหลือสามารถดําเนินการไดเหมือนขยะทั่วไป สวนขยะติดเชื้อที่ผานการนึ่งฆาเชื้ออาจสงออกภายนอก เพ่ือไปเผาทําลายหรือกลบฝงในพ้ืนที่เฉพาะ

ในกรณีที่มีการจัดจางหนวยงานภายนอกในการดําเนินการขนยายหรือนําขยะติดเชื้อไปกําจัด ผูวาจางตองมั่นใจวาหนวยงานภายนอกที่มารับชวงไปนั้น มีกระบวนการและการจัดการที่มั่นใจไดวาจะไมมีการรั่วไหลของขยะติดเชื้อจนอาจเกิดการแพรกระจายของเชื้อที่อยูในขยะดังกลาวรวมถึงสอดคลองกับกฎหมายที่เกี่ยวกับขยะติดเชื้อไดแก พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงวาดวยการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 ซึ่งออกตามความพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ซึ่งพอสรุปเปนหัวขอที่ใชเปนเกณฑพิจารณาคัดเลือกผูรับชวงจัดการขยะดังกลาว ดังนี้

1. คุณสมบัติของผูรับชวง เชน ไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถิ่นใหดําเนินกิจการ 2. วิธีการดําเนินการที่เปนไปตามกฎหมาย โดยเฉพาะในกระบวนการในการกําจัดที่เกี่ยวของของ

บริษัทที่รับชวงไป เชน

2.1 คุณลักษณะของผูปฏิบัติงานในแตละงานท่ีเกี่ยวของ 2.2 วัสดุอุปกรณ และยานพาหนะที่ใชในการขนสง 2.3 วิธีการเคลื่อนยาย 2.4 สถานที่พักขยะติดเชื้อ

3. กระบวนการทําลายหรือกําจัดที่เปนไปตามกฎหมาย ซึ่งทําใหมั่นใจวาจะไมเกิดแพรกระจายของเชื้อหรือขยะติดเชื้อออกสูที่สาธารณะ

Page 134: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

116 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 14 การเตรียมความพรอมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response)

ภาวะฉุกเฉินสามารถเกิดขึ้นไดจากกิจกรรมหรือความเสี่ยง ซึ่งอาจแบงออกเปนเหตุการณทางการแพทย เชน หกลม อุบัติเหตุ หมดสติ เปนตน เหตุการณที่เกิดขึ้นไดทั่วไป เชน ภัยธรรมชาติ ไฟฟาดับ น้ําไมไหล และเหตุการณที่เกิดจากหองปฏิบัติการ เชน การสัมผัสสารชีวภาพ การรั่วไหลของสารชีวภาพ เปนตน การจัดการความปลอดภัยตองคํานึงถึงความเสี่ยง การจัดการอุปกรณ การเตรียมความพรอม รวมทั้งการตอบโตภาวะฉุกเฉิน เพ่ือหลีกเลี่ยงไมใหเกิดผลกระทบรุนแรงตอชุมชน และทรัพยสินของหนวยงาน ดังนั้นจึงตองจัดทําแผน ซึ่งตองประกอบดวย 3 ระยะ ดังนี้

1. กอนเกิดเหตุ สวนมากเปนแผนในการปองกันไมใหเกิดเหตุ ในกรณีที่สามารถปองกันได เชน การเกิดอัคคีภัย ในขณะเดียวกันเปนแผนที่ใชในการเตรียมการ หรือเฝาระวัง โดยเฉพาะในกรณีที่เปนภัยตามธรรมชาติ เชน น้ําทวม ดิน/ โคลนถลม เปนตน การเตรียมความพรอมในระยะนี้ เริ่มตั้งแตการวางแผน ไมวาจะเปนการมอบหมายตัวบุคคลสําหรับประสานในกรณีที่เกิดเหตุ แผนการดําเนินงานในกรณีที่ไมสามารถใชพ้ืนที่หรือหองปฏิบัติการตอได การดําเนินการสํารวจหาจุดที่ตองไดรับการแกไขหรือตรวจสอบอุปกรณที่ใชในกรณีเกิดเหตุที่เกี่ยวของ จัดทําขั้นตอนหรือแนวทางที่ตองปฏิบัติขณะเกิดเหตุตลอดจนจัดใหมีการซอมแผน เพ่ือใหเจาหนาที่หรือผูปฏิบัติงานไดเคยชิน ไมเกิดความตื่นตระหนกเมื่อเกิดเหตุการณจริง นอกจากนี้ควรตองจัดทําแผน เพ่ือรองรับกรณีเกิดเหตุการณแลว เพ่ือเปนการเตรียมการและแนวทางดําเนินการตอไป 2. ขณะเกิดเหตุ เปนการดําเนินการตอบโตเหตุการณตามแผนที่สรางไวในระยะกอนเกิดเหตุ

3. หลังเกิดเหตุ เปนการดําเนินการ เพ่ือตรวจสอบความเสียหาย รวมถึงการเฝาระวังผลที่อาจเกิดขึ้นตามมาหลังเกิดเหตุ และเตรียมการสําหรับการฟนฟู

นอกจากนี้หนวยงานควรจัดใหมีแบบบันทึกรายงานเหตุฉุกเฉิน เพ่ือเปนหลักฐานและวิเคราะหหาแนวทางปองกันในภาพรวม ซึ่งแบบรายงานควรประกอบไปหัวขออยางนอย ดังนี้

- วัน เวลาที่เกิดเหตุ - สถานที่เกิดเหต ุ

- ลักษณะเหตุที่เกิด

- การแกไขท่ีดําเนินการไป

- การปองกันไมใหเกิดซ้ํา

อยางไรก็ตาม จะเห็นไดวาการดําเนินการกอนเกิดเหตุมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง ดังนั้นควรตองทราบรายละเอียดการดําเนินการในระยะนี้

Page 135: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 117

การดําเนินการในระยะกอนเกิดเหตุ มีดังนี้ 1. การบริหารความเสี่ยง

1.1 มีการชี้บงอันตราย ที่อาจเกิดขึ้นจากเหตุฉุกเฉินตางๆ โดยการสํารวจอันตรายทางกายภาพ อันตรายจากสารเคม ีวัสดุ และเครื่องมือหรืออุปกรณแตละประเภทที่ใช 1.2 มีการประเมินความเสี่ยง ในระดับบุคคลและหองปฏิบัติการครอบคลุมหัวขอสารเคมีและสารชีวภาพที่ใช ผลกระทบดานสุขภาพจากการทํางาน เสนทางการสัมผัส (exposure route) พ้ืนที่ในการทํางาน/ กายภาพเครื่องมือที่ใช สิ่งแวดลอมในสถานที่ทํางาน ระบบไฟฟาในที่ทํางาน กิจกรรมที่ทําในหองปฏิบัติการ 1.3 มีการลดความเสี่ยง โดยมีมาตรการหรือบังคับใชกฎระเบียบที่เก่ียวของอยางเครงครัด

1.4 มีการสื่อสารความเสี่ยง ดวยการแนะนํา การพูดคุย การติดปายเตือน และคูมือ

1.5 เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการตองไดรับการตรวจสุขภาพ เมื่อถึงกําหนดการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยงของผูปฏิบัติงาน หรือเมื่อพบวามีอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการทํางานกับสารเคมีหรือสารชีวภาพวัสดุอุปกรณเครื่องมือในหองปฏิบัติการ หรือเมื่อเผชิญกับเหตุการณสารเคมีหรือสารชีวภาพหกรั่วไหล

1.6 มีการประเมินผลและวางแผนการดําเนินงาน เพ่ือปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง 2. การจัดเตรียมอุปกรณ แนวทางปฏิบัติในการจัดการอุปกรณ เพ่ือตอบโตภาวะฉุกเฉินมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

2.1 จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณในหองปฏิบัติการเพ่ือรองรับเหตุฉุกเฉิน ที่อาจเกิดขึ้น เชน มีที่ลางตาและชุดฝกบัว ฉุกเฉินที่ไดมาตรฐานและอุปกรณปองกันสวนบุคคล อุปกรณดับเพลิง เปนตน

2.2 จัดหาเวชภัณฑสําหรับรองรับเหตุฉุกเฉิน ตองวางในบริเวณที่สามารถเขาถึงไดทันที เมื่อเกิดเหตุ ไดแก

x ยาสามัญประจําบาน

x อุปกรณท่ีใชปฐมพยาบาล ประกอบดวย

- ชุดยาปฐมพยาบาลเบื้องตน เชน นํ้ายาลางแผล ยาใสแผลสด ยาแกปวด ยาทาบรรเทาอาการจากแผลไฟไหม หรือนํ้ารอนลวก

- อุปกรณการปฐมพยาบาล เชน ผาพันแผลที่ผานการฆาเชื้อ กรรไกร สําลี เข็มกลัด แกวลางตา พลาสเตอร ผายืด เปนตน

- คูมือการใชยาชนิดตางๆ

3. การเตรียมความพรอม แนวปฏิบัติในการเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉินมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

3.1 การปองกันภาวะฉุกเฉิน

Page 136: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

118 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

3.1.1 หัวหนาหองปฏิบัติการเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการหากเกิดภาวะฉุกเฉิo

3.1.2 มีอุปกรณท่ีพรอมรับมือกับภาวะฉุกเฉิน

3.1.3 มีการซอมรับมือเหตุฉุกเฉินอยางนอยปละครั้ง เพ่ือใหบุคลากรและผูเกี่ยวของ ทราบวาตองดําเนินการอยางไรเมื่อเกิดเหตุ

3.1.4 ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณสําหรับรับภาวะฉุกเฉินอยางสม่ําเสมอเพ่ือใหพรอมใชงาน เชน การทดสอบที่ลางตา ฝกบัวฉุกเฉิน การตรวจสอบและทดแทนเวชภัณฑสําหรับรับเหตุฉุกเฉิน

3.1.5 ตรวจสอบพ้ืนที่และสถานที่เพ่ือพรอมรับภาวะฉุกเฉินสม่ําเสมอ เชน จุดรวมพลบันไดและเสนทางหนีไฟ

3.1.6 เตรียมการจัดการเบื้องตนเพ่ือปองกันพรอมรับและตอบโตเหตุฉุกเฉิน (สารเคมีหรือสารชีวภาพหกรั่วไหล น้ําทวม อัคคีภัย) เชน

- การเตรียมอุปกรณทําความสะอาดโดยจัดวาง ณ ตําแหนงที่เขาถึงไดงายเมื่อเกิดเหตุ

- การเตรียมชุดอุปกรณเก็บกูสารเคมีหรือสารชีวภาพใชในหองปฏิบัติการและพรอมใชงาน

- มีการตรวจสอบอุปกรณที่ตองใชในภาวะฉุกเฉินเปนประจําตามชวงระยะเวลาที่กําหนดทั้งดานความพรอมใชงานปริมาณและการเขาถึงไดสะดวก

3.1.7 มีระบบการสื่อสารในภาวะฉุกเฉินที่เปนรูปธรรมในหัวขอตอไปนี้

- การแจงเหตุภายในและภายนอกหนวยงาน

- การแจงเตือน

- การอพยพ

- การตรวจสอบอุปกรณสื่อสารอยางสม่ําเสมอตามชวงเวลาที่กําหนดไววายังคงใชงานได

- การตรวจสอบหมายเลขโทรศัพทและติดไวในบริเวณท่ีเห็นไดชัดเจน

3.2 การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล

ควรใชอุปกรณปองกันตามชนิดหรือประเภทของการปฏิบัติงานตามชนิดและปริมาณของสารเคมีหรือสารชีวภาพที่ใชในหองปฏิบัติการ อุปกรณเหลานี้ ไดแก อุปกรณปองกันหนา(face protection) อุปกรณปองกันตา (eye protection) อุปกรณปองกันมือ (hand protection) อุปกรณปองกันเทา (foot

protection) อุปกรณปองกันรางกาย (body protection) อุปกรณปองกันการไดยิน (hearing protection) อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ (respiratory protection)

Page 137: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 119

การเตรียมการ เพ่ือรองรับภาวะฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุการณ ผูควบคุมงาน หัวหนาหองปฏิบัติการ หรือผูไดรับมอบหมายตองไปถึงท่ีเกิดเหตุทันท ีเพ่ือควบคุมสถานการณ และดําเนินการดังนี้

x ควบคุมบริเวณท่ีเกิดเหตุ x ปฐมพยาบาลเบื้องตน และเรียกทีมชวยเหลือ

x ควบคุมอุบัติเหตุที่อาจเกิดข้ึนอีกครั้ง x หาสาเหตุและเก็บรวบรวมขอมูลที่เก่ียวของ x เก็บรักษาหลักฐานที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ เมื่อจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือเคลื่อนยาย x รายงานอุบัติเหตุอุบัติภัยที่เกิดข้ึนใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว x มีการสอบสวนเหตุการณที่เกิดขึ้นเพ่ือหาสาเหตุ และมาตรการปองกันการเกิดซํ้า

ในคูมือนี้ ขอยกตัวอยางเหตุฉุกเฉินเพ่ือเปนแนวทางปฏิบัติซึ่งหองปฏิบัติการสามารถนําไปปรับใหเหมาะสมกับหนวยงานของตนเองได ดังนี้

14.1 วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินเหตุเพลิงไหม 1. ชวยเหลือผูที่ตกอยูในอันตรายกอน โดยตัวเองตองไมตกอยูในอันตรายเสียเอง 2. กดปุมสัญญาณเตือนภัยที่อยูบริเวณใกลเคียง และแจงเหตุใหผูอยูใกลเคียงทราบ 3. แจงเหตุเพลิงไหมกับหนวยงานที่รับผิดชอบ เพ่ือขอความชวยเหลือ ดังนั้นหองปฏิบัติการควร

มีเบอรโทรศัพทที่สามารถติดตอหนวยงานที่รับผิดชอบในพ้ืนที่ที่ตั้งของหองปฏิบัติการติดไวในที่ท่ีเห็นไดชัดเจน

4. แยกสวนที่เกิดเพลิงไหมออกจากสวนอื่น เชน โดยการปดประตู หนาตาง 5. หยุดกระบวนการที่อาจกอใหเกิดอันตรายหรือปดเครื่องมือที่กําลังทํางานอยู หากสามารถ

ดําเนินการไดอยางปลอดภัย 6. หามดับเพลิงดวยตนเอง หากไมม่ันใจวาสามารถดําเนินการไดอยางปลอดภัย 7. ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหมบริเวณกวางใหอพยพหลบภัยอยูนอกอาคาร ณ บริเวณจุดรวมพล

8. ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหมที่เกิดจากสารเคมี หามดับเพลิงดวยตนเอง ควรรีบแจงหนวยงานที่รับผิดชอบ

14.2 วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินจากสารชีวภาพรั่วไหล อันตรายที่เกิดจากการรั่วไหลของสารชีวภาพติดเชื้อเกี่ยวของโดยตรงกับสุขภาพ ซึ่งผูประสบเหตุอาจมีการหายใจเอาสารชีวภาพติดเชื้อเขาสูรางกาย หรือการสัมผัสกับสารชีวภาพติดเชื้อ และอาจทําใหเกิดการติด

Page 138: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

120 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

เชื้อเปนโรค หรือถึงแกชีวิตได ดังนั้นหากเกิดการรั่วไหลของสารชีวภาพ ผูปฏิบัติงานตองรับผิดชอบทําความสะอาด และปองกันการแพรกระจาย โดยปฏิบัติ ดังนี้

14.2.1 กรณีสัมผัสสารชีวภาพที่รั่วไหล

14.2.1.1 แจงเตือนผูรวมงานใหทราบ เพ่ือปองกันการติดตอและการแพรกระจายเชื้อ 14.2.1.2 ทําความสะอาดรางกายดวยสบู (ควรใชสบูฆาเชื้อโรค) และนํ้า หากกระเด็นเขาตา

ใหใชนํ้ายาลางตา และหากกระเด็นเขาปากใหใชสารละลายโซเดียมคลอไรด ความเขมขน 0.9 เปอรเซ็นต

14.2.1.3 รีบใหการชวยเหลือ ปฐมพยาบาล หรือสงไปสถานพยาบาลเรงดวน (แลวแตกรณี) 14.2.1.4 แจงหัวหนาหองปฏิบัติการ และ/หรือผูดูแลปฏิบัติการทราบทันทีหรือภายใน 1

ชั่วโมง 14.2.1.5 พบแพทยเพ่ือทําการรักษา หรือใหคําปรึกษาตอไป

14.2.2 กรณีสารชีวภาพหกหลนในหองปฏิบัติการ (Spill decontamination) หองปฏิบัติการตองจัดเตรียมชุดอุปกรณสําหรับกําจัดการปนเปอนวัสดุติดเชื้อที่อาจเกิดการหกหลนไว

พรอมหยิบใชไดสะดวก และทันทวงที ซึ่งชุดอุปกรณควรประกอบดวยอุปกรณท่ีสําคัญอยางนอย ดังนี้ x นํ้ายาฆาเชื้อที่เหมาะสมกับชนิดของเชื้อจุลินทรียในหองปฏิบัติการ x วัสดุซับ เชน กระดาษหรือผา x ภาชนะใสของเสีย เชน ถุงใสขยะติดเชื้อ x ภาชนะท้ิงของมีคม x อุปกรณปองกันสวนบุคคล เชน เสื้อคลุมปฏิบัติการ ถุงมือ อุปกรณปองกันหนาและตา x อุปกรณเก็บกวาด เชน ไมกวาด ที่ตักผง และปากคีบ

14.2.3 วัสดุติดเชื้อหกหลนภายในตูชีวนิรภัย

ในกรณีที่มีการหกหลนของวัสดุติดเชื้อภายในตูชีวนิรภัยใหปฏิบัติ ดังนี้ 14.2.3.1 ถอดถุงมือที่กําลังใชงานทิ้งภายในตู กรณีมีการปนเปอนเชื้อ

14.2.3.2 หามปดสวิตซตู เพ่ือใหตูทํางานอยางตอเนื่องในการกรองอากาศภายในตู กอนปลอยออกสูอากาศภายนอก ทั้งเม่ือเกิดเหตุและขณะทําความสะอาด

14.2.3.3 สวมเสื้อคลุม แวนตานิรภัย และถุงมือในขณะทําความสะอาด

14.2.3.4 คลุมบริเวณที่วัสดุหกหลนดวยวัสดุซับ แลวราดดวยน้ํายาฆาเชื้อ ปลอยทิ้งไวอยางนอย 10-20 นาท ีหรือตาม contact time ของน้ํายาฆาเชื้อชนิดที่เลือกใช

14.2.3.5 เช็ดทําความสะอาดดวยกระดาษซับ

14.2.3.6 เช็ดผนังตู พื้นที่ทํางานและอุปกรณภายในตูดวยกระดาษหรือผาที่ชุบน้ํายาฆาเชื้อ

Page 139: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 121

14.2.3.7 ทิ้งวัสดุปนเปอนลงในถุงขยะติดเชื้อและนําไปอบนึ่งฆาเชื้อกอนนําไปทิ้ง 14.2.3.8 วัสดุที่จะนํากลับมาใชใหมใหใสในถาดหรือภาชนะที่ทนความรอนและมีฝาปด

กอนนําไปอบนึ่งฆาเชื้อ

14.2.3.9 วัสดุที่ไมสามารถอบนึ่งฆาเชื้อที่ได ใหแชในน้ํายาฆาเชื้อนานอยางนอย 10 นาทีหรือตาม contact time กอนนําออกจากตู

14.2.3.10 หลังจากทําความสะอาดเสร็จ ใหตูทํางานตอไปอีกอยางนอย 10 นาที กอนจะใชงานอ่ืนตอไป

14.2.3.11 รายงานอุบัติการณแกผูรับผิดชอบทราบ

14.2.4 วัสดุติดเชื้อหกหลนภายนอกตูชีวนิรภัย เมื่อเกิดสารชีวภาพหรือจุลชีพหกหลนในหองปฏิบัติการ รออยางนอย 30 นาที เพ่ือใหไมมีละอองฟุง

กระจายในอากาศ กอนเขาหองปฏิบัติการไปดําเนินการจัดการกําจัดและทําความสะอาด ถามีการเปอนเสื้อผาใหนําใสลงในถุงขยะติดเชื้อ เพ่ือนําไปนึ่งฆาเชื้อกอนการทําความสะอาด กอนจัดการกับวัสดุติดเชื้อหกหลนใหสวมเสื้อคลุมปฏิบัติการ แวนตานิรภัย และถุงมือ และปฏิบัติ ดังนี้

14.2.4.1 แจงผูรวมงานทราบและกั้นบริเวณท่ีมีวัสดุติดเชื้อหกหลน

14.2.4.2 เก็บวัสดุที่เปนเศษเครื่องแกวแตก (ถามี) โดยใชปากคีบ หามหยิบวัสดุมีคมที่ติดเชื้อดวยมือเปลา ทิ้งวัสดุแกวแตกในภาชนะเก็บของมีคม

14.2.4.3 นําวัสดุซับปดคลุมบริเวณท่ีวัสดุติดเชื้อหกหลน เพ่ือไมใหเชื้อฟุงกระจาย

14.2.4.4 ราดน้ํายาฆาเชื้อที่เหมาะสมกับชนิดของเชื้อ รอบบริเวณวัสดุติดเชื้อที่หกหลนจากดานนอกเขาสูดานใน และปลอยทิ้งไวอยางนอย 10 - 20 นาที หรือตาม contact time ของน้ํายาฆาเชื้อที่เลือกใช เพ่ือใหแนใจวาน้ํายาไดออกฤทธิ์ฆาเชื้อเพียงพอ

14.2.4.5 เก็บรวบรวมวัสดุปนเปอนทั้งหมดท้ิงลงในถุงขยะติดเชื้อ

14.2.4.6 เช็ดทําความสะอาดบริเวณพ้ืนที่และพ้ืนที่โดยรอบที่อาจปนเปอนดวยน้ํายาฆ าเชื้ออีกครั้ง

14.2.4.7 เครื่องมือที่ปนเปอน หากไมสามารถนึ่งฆาเชื้อดวยเครื่องนึ่งไอน้ําแรงดันสูงได ตองเช็ดดวยน้ํายาฆาเชื้อที่เหมาะสม ไมกัดกรอนเครื่องมือ และลางดวยน้ําถาจําเปน

14.2.4.8 นําถุงใสขยะติดเชื้อไปอบนึ่งฆาเชื้อกอนนําไปทิ้ง 14.2.4.9 วัสดุอุปกรณที่จะนํากลับมาใชใหม ใหใสในถาดหรือภาชนะที่ทนความรอนและมี

ฝาปดกอนนําไปอบฆาเชื้อ

14.2.4.10 เปดใชพื้นที่ได หลังจากท่ีไดทําความสะอาดและกําจัดการปนเปอนเสร็จสมบูรณ

Page 140: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

122 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

14.2.4.11 รายงานอุบัติการณ แกผูรับผิดชอบหองปฏิบัติการทราบ

ตัวอยางแบบบันทึกอุบัติการณ ดังรูปที่ 14.1

รูปที่ 14.1 ตัวอยางแบบบันทึกอุบัติการณ

Page 141: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 123

บทที่ 15 อาชีวอนามัย (Occupation Health) การดําเนินงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยมีขอบเขตที่เกี่ยวของเฉพาะปญหาสุขภาพอนามัย

(health problems) ของคนท่ีเกิดจากการทํางาน ดังนี้

1. ผูปฏิบัติงานในขณะทํางาน (Workers) ในผูที่ปฏิบัติงานอาชีพตางๆ จะไดรับการดูแลทางสุขภาพอนามัย การคนหาโรคและอันตรายที่เกิดขึ้นที่เปนผลมาจากการทํางาน การสงเสริมสุขภาพอนามัย การปองกันโรคอันตราย และอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการทํางาน

2. สภาพสิ่งแวดลอมของการทํางาน (Working environment) เปนการศึกษาสภาพแวดลอมของงานแตละประเภท วามีสิ่งใดที่ทําใหเกิดอันตรายไดบาง และมีผลกระทบตอสุขภาพอยางไร

15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน การเฝาระวังสุขภาพของผูปฏิบัติงาน หรือผูที่ทํางานถือเปนกิจกรรมที่มีความสําคัญ และมีความ

จําเปนอยางมาก การเฝาระวังสุขภาพตองมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง ตั้งแตกอนที่พนักงานจะเขาทํางาน ระหวางที่ทํางานจนกระทั่งถึงเวลาปรับเปลี่ยนงานหรือลาออกจากการทํางานนั้นไป รวมทั้งจะตองดําเนินการควบคูไปกับการประเมินและบริหารจัดการความเสี่ยงตอสุขภาพจากสภาพแวดลอมการทํางาน ซึ่งรวมถึงการเฝาระวังควบคุมสภาพแวดลอมในการทํางานดวย

การตรวจสุขภาพแกผูปฏิบัติงานในโรงพยาบาล อาจแบงได ดังนี้

1. การประเมินสุขภาพกอนหรือแรกเขาทํางานผูปฏิบัติงานที่เริ่มเขาทํางานใหม หรือยายจากแผนกอ่ืนมาอยูในแผนกใหม ควรไดรับการตรวจและประเมินสุขภาพ เพ่ือพิจารณาถึงความเหมาะสมทางดานสุขภาพทั้งทางรางกายและจิตใจ กอนเขาไปทํางานในแผนกนั้นๆ การตรวจประเมินสุขภาพนี้ตองพิจารณาวาผูที่จะเขามาทํางานใหมมีโรคหรือสภาวะทางสุขภาพที่อาจมีผลกระทบตอการทํางาน หรือทําใหเกิดโรคหรือสภาวะสุขภาพมีอันตราย หรือความไมปลอดภัยจากการทํางานมากยิ่งขึ้น รวมทั้งอาจมีผลกระทบตอสุขภาพหรือความปลอดภัยตอบุคคลอ่ืนดวยหรือไม โดยทั่วไปการตรวจแรกเขาทํางานมีวัตถุประสงค คือ เปนการตรวจเพ่ือใชเปนขอมูลพ้ืนฐาน ซึ่งนําไปสูการเฝาระวังทางสุขภาพ เมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง จึงทําการตรวจ เพ่ือเฝาระวังความเสี่ยงและดูแนวโนมของสภาวะสุขภาพที่อาจเปลี่ยนแปลงไปอันมีผลมาจากสภาพแวดลอมจากการทํางาน

2. การตรวจสุขภาพประจําป ผูปฏิบัติงานในโรงพยาบาลควรไดรับการตรวจประเมินสุขภาพทั่วไปเปนประจําอยางสม่ําเสมอ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง เพ่ือตรวจหาความผิดปกติที่อาจเกิดผลกระทบตอสุขภาพตั้งแตระยะเริ่มแรก และนําไปสูการปองกันแกไขไดอยางทันทวงที การตรวจคัดกรองทางสุขภาพทั่วไปที่ควร

Page 142: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

124 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ดําเนินการ ไดแก การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจหาโรคเบาหวาน หรือการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งตางๆ เปนตน

3. การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง เปนการตรวจสุขภาพในกลุมที่ปฏิบัติงานเสี่ยงอันตราย ซึ่งตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมในการทํางานของแตละกลุมเสี่ยงวามีอะไรบาง และมีผลกระทบตอการทํางานของรางกายอยางไร อาจจําเปนตองมีการตรวจพิเศษเฉพาะระบบอยางสม่ําเสมอ อยางไรก็ตาม การตรวจตามความเสี่ยงนั้นสวนใหญยังคงเปนการคัดกรอง เพ่ือคนหาความเสี่ยง ขอควรระวัง คือ ตองเปนไปตามหลักวิชาการ คือ ชนิดตัวอยางและการเก็บในชวงเวลาที่เหมาะสม

อยางไรก็ดี การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงควรตรวจกอนเขาทํางาน ขณะทํางาน สําหรับบุคลากรที่มีความเสี่ยงจากการทํางานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยควรไดรับการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงอยางนอย คือ การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และใหวัคซีนบุคลากรที่ทํางานสัมผัสเลือดสารคัดหลั่งตางๆ

นอกจากนี้ ควรเก็บตัวอยางชีวภาพของผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการตั้งแตแรกเขาทํางาน เพ่ือใชเปนตัวอยางเปรียบเทียบ โดยไดรับการยินยอมจากผูปฏิบัติงาน กรณีที่พบการติดเชื้อในผูปฏิบัติงานในภายหลัง โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีเชื้อใหม หรือเชื้อเดิม แตไดมีการพัฒนาเทคนิควิธีการในการตรวจที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น สําหรับชนิดของตัวอยางที่ควรไดรับการเก็บไว เพ่ือเปนการเปรียบเทียบนั้น โดยปกติมักเก็บในรูปของซีรัม แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของงานและชนิดของเชื้อที่บุคลากรในหองปฏิบัติการตองเกี่ยวของ

นอกจากการตรวจสุขภาพขางตนแลว ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ ยังมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคอีกหลายชนิดที่อาจไดรับจากการสัมผัสกับตัวอยางผูปวย ดังนั้นการไดรับภูมิคุมกัน ถือวาเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งในการปองกันผูปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจากโรคตางๆ ที่สามารถปองกันดวยวัคซีนไดภูมิคุมกันที่บุคลากรสาธารณสุขควรไดรับแสดงดังตารางที่ 15.1 และ 15.2

Page 143: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 125

ตารางท่ี 15.1 สรุปการใหภูมิคุมกันหรือยา “กอน” การสัมผัสเชื้อสําหรับบุคลากรทางการแพทย (Pre exposure prophylaxis)

วัคซีน/ยา ขอบงช้ี

วัคซีนปองกันไวรัสตับอักเสบบี บุคลากรทางการแพทยที่มีความเสี่ยงในการสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่ง

วัคซีนปองกันไขหวัดใหญ บุคลากรทางการแพทย

วัคซีนปองกันโรคหัด บุคลากรทางการแพทยที่ไมเคยมีประวัติไดรับวัคซีนไมเคยปวยเปนโรคหัด

วัคซีนปองกันโรคคางทูม บุคลากรทางการแพทยที่มีโอกาสสัมผัสเชื้อ

วัคซีนปองกันโรคหัดเยอรมัน บุคลากรทางการแพทยที่ไมเคยมีประวัติไดรับวัคซีนไมเคยปวยเปนโรคหัดเยอรมัน

วัคซีนปองกันโรคอีสุกอีใส บุคลากรทางการแพทยที่ไมเคยมีประวัติไดรับวัคซีนไมเคยปวยเปนโรคอีสุกอีใส

วัคซีนปองกันโรคไวรัสตับอักเสบเอ บุคลากรทางการแพทยที่ทํางานสัมผัสกับผูปวยโรคไวรัสตับอักเสบเอ หรือทํางานในหองปฏิบัติการที่ตองสัมผัสเชื้อ

วัคซีนปองกันโรคไขกาฬหลังแอน (Meningococcal polysaccharide

vaccine)

บุคลากรทางการแพทยที่ทํางานสัมผัสกับผูปวย

วัคซีนปองกันโรคโปลิโอ (Polio vaccine) บุคลากรทางการแพทยที่ทํางานสัมผัสกับผูปวย หรือทํางานในหองปฏิบัติการที่ตองสัมผัสเชื้อ

วัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา บุคลากรทางการแพทยที่ทํางานสัมผัสกับสัตวที่ติดเชื้อ หรือทํางานในหองปฏิบัติการที่ตองสัมผัสเชื้อ หรือทํางานในหองปฏิบัติการที่ตองสัมผัสเชื้อ

วัคซีนรวมปองกันโรคคอตีบและบาดทะยัก ผูใหญทุกคน

วัคซีนที่มีใชในการปองกัน : วัคซีนปองกันโรคไทฟอยด (Typhoid vaccines)

บุคลากรทางการแพทยที่ทํางานในหองปฏิบัติการที่ตองสัมผัสเชื้อ

วัคซีนปองกันโรค smallpox (Vaccinia

vaccine) บุคลากรทางการแพทยที่ทํางานในหองปฏิบัติการที่ตองสัมผัสเชื้อ

ที่มา: คูมือการประเมินความเส่ียงจากการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแกไข พ.ศ. 2554)

Page 144: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

126 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตารางท่ี 15.2 สรุปการใหภูมิคุมกันหรือยา”หลัง”การสัมผัสเชื้อสําหรับบุคลากรทางการแพทย (Post exposure prophylaxis)

วัคซีน/ยา ขอบงช้ี

โรคคอตีบ บุคลากรทางการแพทยที่สัมผัสกับผูปวย หรือผูที่เปนพาหะของโรคคอตีบ

โรคไวรัสตับอักเสบเอ บุคลากรทางการแพทยที่สัมผัสกับอุจจาระของผูปวยในชวงที่มีการระบาดของโรค โดยไมตองใหในผูที่มีภูมิคุมกัน

ไวรัสตับอักเสบบี บุคลากรทางการแพทยที่สัมผัสกับเลือด หรือสิ่งคัดหลังของผูปวยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี โดยไมตองใหในผูที่มีภูมิคุมกัน

โ ร ค ไ ข ก า ฬ ห ลั ง แ อ น ( Meningococcal

disease) บุคลากรทางการแพทยที่สัมผัสกับการไอจามของผูปวยโดยไมไดใช PPE ที่เหมาะสม รวมไปถึงการทําหัตถการที่มีความเสี่ยงเชนการใสทอชวยหายใจ

โรคไอกรน บุคลากรทางการแพทยที่สัมผัสกับการไอจามของผูปวยโดยไมไดใช PPE ที่เหมาะสม

โรคพิษสุนัขบา บุคลากรทางการแพทยที่ถูกสัตว หรือคนที่เปนโรคพิษสุนัขบากัดหรือสัมผัสน้ําลายหรือสิ่งอ่ืนๆ ที่มีเชื้อ เชน สมองสัตว ผานทางบาดแผลเนื้อเยื่อออน

โรคอีสุกอีใส บุคลากรทางการแพทยที่ตองทํางานสัมผัสกับผูปวยที่มีการติดเชื้อ หรือผูที่ เปนกลุมเสี่ยงเชนการตั้ งครรภการมีภูมิคุมกันต่ํา

หมายเหตุ เงื่อนไขการใชวัคซีนมีดังนี้ 1. Pre exposure prophylaxis จะมีภูมิคุมกัน หรือไมมีกอนฉีดตองพิจารณาตามขอบงชี้ของกรมควบคุมโรค

2. Post exposure prophylaxis ไมจําเปนตองฉีดซ้ําแตถาไมมีภูมิใหฉีดได 3. ซักประวัติ/ ประเมินวามีภูมิคุมกันหรือไมถามีก็ไมจําเปนตองใชวัคซีน

ที่มา: คูมือการประเมินความเส่ียงจากการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแกไข พ.ศ. 2554)

Page 145: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 127

15.2 การยศาสตร ปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่สามารถสงผลกระทบตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานได ทั้งดานจิตวิทยากายภาพ

เคมี ชีวภาพ ซึ่งคนสวนใหญมักไมคอยใหความสนใจ จนกระทั่งเกิดอุบัติเหตุ หรือเกิดอันตรายขึ้นกับผูปฏิบัติงาน ปญหาดานการยศาสตรมีสาเหตุหลัก 4 ประเด็น คือ

15.2.1 ระบบการทํางาน การพิจารณาถึงขั้นตอนการทํางาน วิธีการปฏิบัติงาน และระเบียบขอบังคับท่ีเกี่ยวของในการทํางานตองเอ้ือตอการทํางาน

15.2.2 อุปกรณเครื่องมือและเครื่องจักรที่เกี่ยวของในการทํางาน การพิจารณาถึงของขนาดทิศทางตําแหนง และระดับความสูงของการติดตั้งอุปกรณเครื่องมือและเครื่องจักรใหมีความเหมาะสมกับผูปฏิบัติงาน ซึ่งจะสงผลตอการเกิดปญหาดานการยศาสตรได เชน โตะทํางานที่สูงหรือเตี้ยเกินไป เปนตน

15.2.3 ผูปฏิบัติงาน ผูปฏิบัติงานแตละคนยอมมีขอจํากัดที่แตกตางกันไป เชน ความแตกตางของสัดสวนรูปรางของผูปฏิบัติงาน ระดับความทนทาน และความอดทนของรางกายที่มีตองาน เปนตน นอกจากนี้สิ่งสําคัญท่ีตองพิจารณา คือ ทาทางในการทํางานของผูปฏิบัติงาน เพราะในงานเดียวกันที่มีขั้นตอนการทํางานที่เหมือนกันทุกประการนั้น จะเกิดความแตกตางกันที่ทาทางการทํางานของผูปฏิบัติงานแตละคน จึงถือวาทาทางการทํางานเปนตัวแปรสําคัญในการเกิดปญหาดานการยศาสตรดวย

15.2.4 สภาพแวดลอมในการทํางาน สําหรับสถานที่ทํางานใดก็ตามที่มีสภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมเหมาะสม เชน เสียงดังเกินไป อากาศรอนหรือเย็นเกินไป แสงสวางจาหรือนอยเกินไปการระบายอากาศไมดี พ้ืนที่แคบเกินไป หรือมีของวางเกะกะกีดขวางทางเดิน ทางเดินมีความตางระดับมากเกินไป เปนตน ซึ่งจะทําใหเกิดผลกระทบตอการทํางาน และนําไปสูการเกิดปญหาการยศาสตรได เชน การที่ผูปฏิบัติงานตองบิด หรือตะแคงตัวในการเดินยกของผานพื้นที่ที่แคบ เปนตน

การยศาสตรเปนเรื่องการศึกษาสภาพการทํางานที่มีความสัมพันธระหวางผูปฏิบัติงานและสิ่งแวดลอม เปนการพิจารณาวาสถานที่ทํางานควรการออกแบบหรือปรับปรุงใหมีความเหมาะสมกับผูปฏิบัติงานอยางไร เพ่ือปองกันปญหาที่อาจมีผลกระทบตอความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในการทํางาน และสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานไดดวย การทํางานที่ซ้ําซากจําเจในงานที่มีการออกแบบเครื่องมือและหนวยที่ทํางานที่ไมเหมาะสมจะทําใหผูปฏิบัติงานเกิดการบาดเจ็บและเจ็บปวย ซึ่งมักจะเปนอาการที่คอยๆ เกิดขึ้นอยางชาๆ อาจใชเวลานานทําใหตองสิ้นเปลืองคาใชจายในเรื่องการรักษาอาการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นเปนจํานวนมาก

หนวยที่ทํางาน หมายถึง สถานที่ซึ่งพนักงานตองอยูปฏิบัติงานนั้น หนวยที่ทํางานอาจเปนสถานที่ซึ่งพนักงานอยูปฏิบัติงานตลอดทั้งวัน การนําการยศาสตรไปประยุกตใชในสถานที่ทํางานยอมกอใหเกิดประโยชน ไมวาการทําใหพนักงานมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น สภาพการทํางานมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ซึ่งสงผลตอประสิทธิภาพการวิเคราะหผลทางหองปฏิบัติการ

Page 146: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

128 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

การออกแบบหนวยที่ทํางานเปนอยางดีจะทําใหพนักงานสามารถปฏิบัติงานไดดวยอิริยาบถการทํางานที่ถูกตอง และสะดวกสบาย ซึ่งเปนเรื่องที่มีความสําคัญ เนื่องจากอิริยาบถทาทางการทํางานที่ไมสะดวกสบายสามารถกอใหเกิดปญหามากมายตามมา เชน อาการปวดหลัง การบาดเจ็บจากการเกร็งของกลามเนื้อที่เกิดจากการทํางานซ้ําซาก (repetitive strain injuries หรือ RSIs) เปนตน สาเหตุของปญหาสวนใหญ ไดแก การออกแบบที่นั่งไมเหมาะสม การยืนทํางานเปนเวลานาน การทํางานที่ตองเอ้ือมไกลเกินไป แสงสวางที่ไมเพียงพอทําใหพนักงานตองเขาใกลชิ้นงานมากเกินไป ปจจัยทั่วไปที่ควรนํามาพิจารณาในการออกแบบหนวยที่ทํางานจึงควรประกอบดวย ความสูงของศีรษะ ความสูงของไหล ระยะวงแขน ความสูงของขอศอก ความสูงของมือ ความยาวของขา ขนาดของมือและรางกาย เปนตน

จุดปฏิบัติงานหรือสถานีงาน (workstation) หมายถึง สถานที่ที่ผูปฏิบัติงานใชเวลาสวนมากอยูประจํา เพ่ือปฏิบัติงาน โดยจุดปฏิบัติงานหรือสถานีงานอาจเปนที่ที่ปฏิบัติงานชิ้นหนึ่งใหสําเร็จตลอดเวลา หรืออาจเปนหนึ่งในหลายแหงที่ตองใชทํางานชิ้นหนึ่งรวมกันใหแลวเสร็จก็ได

เนื้อที่ปฏิบัติงานหรือพ้ืนที่การทํางาน (workspace) หมายถึง เนื้อที่ทั้งหมดของสถานีงานที่มีความเหมาะสมตอการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานคนหนึ่ง โดยมากหมายถึงพ้ืนที่ที่อยูรอบผูปฏิบัติงานขนาดของเนื้อที่สําหรับการปฏิบัติงาน ซ่ึงถูกกําหนดโดยตําแหนงไกลสุดที่ผูปฏิบัติงานจะสัมผัสไดดวยสวนตางๆของรางกายในขณะที่กําลังทํางานอยูในสถานีนั้น รวมถึงพ้ืนที่วางที่เพียงพอตอการจัดวางสวนควบคุมอุปกรณและเครื่องมือตางๆที่ถูกใชโดยผูปฏิบัติงาน

ลักษณะของสถานีงาน

การออกแบบสถานีงานจึงควรพิจารณาถึงกลุมของผูที่จะใชสถานีงาน และทําการออกแบบใหมีความสัมพันธกัน ในทางการยศาสตรไดพิจารณาลักษณะของสถานีงานไว 3 ลักษณะ ดังนี้

1. สถานีงานที่ตองนั่งทํางาน (Seated workstation) เปนงานที่สามารถทําไดอยางสะดวกในขณะนั่งตลอดชวงปฏิบตัิงาน ไมมีการเอ้ือมตัวมากเกิน 40

เซนติเมตร หรือตําแหนงของงานอยูสูงกวาพ้ืนผิวงานมากเกิน 15 เซนติเมตรงานที่ไมตองการแรงมาก เชน การยกของขนาด 4.5 กิโลกรัม ขณะนั่งงานที่เกี่ยวของกับการเขียน หรือการประกอบชิ้นสวนขนาดเล็กงานที่ตองการความละเอียดสูง งานที่ตองใชคนบังคับเทาในขณะปฏิบัติงาน

2. สถานีงานที่ตองยืนทํางาน (Standing workstation) งานที่สถานีงานไมมีที่วางใหกับหัวเขาขณะนั่ง งานที่เกี่ยวของกับการยกของหนักขนาดมากกวา

4.5 กิโลกรัม งานที่ตองการเอื้อมในทิศทางตางๆ มาก และเกิดข้ึนบอย งานที่มีการเคลื่อนที่จากสถานที่หนึ่งไปอีกท่ีหนึ่งสูง งานที่ตองมีการใชแรงกดมากๆ เชน การบรรจุสิ่งของหรือหอของ เปนตน

Page 147: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 129

3. สถานีงานที่ตองนั่งและยืนทํางาน (Sit-stand workstation) งานที่มีความหลากหลาย ซึ่งงานบางสวนเหมาะที่จะทําในขณะนั่ง และบางสวนเหมาะที่จะทําในขณะยืน งานที่มีการเอ้ือมไปดานหนามากกวา 41 เซนติเมตร และโนมตัวไปดานหนามากกวา 15 เซนติเมตร เหนือพ้ืนผิวที่ปฏิบัติงาน

ขอมูลในคูมือนี้ จะกลาวถึงเฉพาะเพียงหลักการพ้ืนฐานการยศาสตรที่เกี่ยวกับงานยืนและนั่งทํางาน เพ่ือใหสอดคลองกับสภาพการทํางานในหองปฏิบัติการ

ทาทางการทํางานสําหรับบุคคลที่นั่งเกาอ้ีมีแนวในการปฏิบัติ คือ

1. ควรปรับระดับความสูงของโตะทํางานใหอยูในระดับที่พอเหมาะ ซึ่งตองไมสูงหรือเตี้ยเกินไปโดยใหโตะอยูในระดับที่เมื่อทํางานแลวแขนทอนลางของผูปฏิบัติจะขนานกับพ้ืน หรือตนขาสวนแขนทอนบนขนานกับลําตัว ซึ่งขอศอกทั้งสองขางจะทํามุม 90 องศา หัวไหลปลอยตามสบาย เพราะถาผูปฏิบัติงานเกร็งหรือยกข้ึนจะทําใหเกิดความเม่ือยลา และเกิดการบาดเจ็บสะสมกับผูปฏิบัติงานได เมื่อทํางานไประยะหนึ่ง

2. ควรปรับระดับความสูงของเกาอ้ีใหพอเหมาะกับความยาวของขาชวงลาง และจะสามารถวางเทาไวบนพื้นพอดี โดยที่สามารถสอดมือเขาไปตรงบริเวณระหวางตนขากับขอบของที่นั่งของเกาอ้ีได เพราะจะทําใหเวลานั่งทํางานขอบของที่นั่งของเกาอ้ีไมไปกดตรงบริเวณตนขา ซึ่งขาชวงลางจะวางตั้งฉากกับพ้ืนขาชวงบนวางตามเบาะนั่งของเกาอ้ีที่ขนานกับพื้น ทําใหหัวเขาท้ังสองขางทํามุม 90 องศา

3. เกาอ้ีควรมีความมั่นคงแข็งแรงไมโยกหรือเลื่อนไปมา 4. ที่นั่งของเกาอ้ีตองไมเล็กเกินไปและมีความลึกใหพอเหมาะกับความยาวของขาชวงบนนอกจากนี้

บริเวณขอบของทีน่ั่งตองมีลักษณะโคงมน ไมควรมีลักษณะเปนเหลี่ยมมุม เพราะเวลานั่งทํางานจะทําใหเหลี่ยมมุมนั้นกดกับบริเวณตนขาจนเกิดอาการเจ็บของกลามเนื้อได

5. วัสดุที่ใชทําเกาอ้ีตองมีคุณสมบัติที่อากาศสามารถไหลผานไดดีหรือระบายอากาศไดดีทําความสะอาดงายดูแลรักษางายไมควรมีลักษณะที่เกิดการลื่นไดงายเพราะผูปฏิบัติงานตองเกร็งตลอดเวลาการทํางานซึ่งจะทําใหรูสึกเครียดและปวดเมื่อยกลามเนื้อได

6. พนักพิงตองไมเล็กเกินไปซึ่งสามารถรองรับแผนหลังของผูปฏิบัติงานไดทั้งหมดไมควรเอนไปขางหลังหรือขางหนา

ทาทางในการทํางานสําหรับบุคคลทีย่ืนทํางานมีแนวในการปฏิบัติ คือ

1. ระดับความสูงของพ้ืนที่ปฏิบัติงานตองไมสูงหรือเตี้ยเกินไป โดยผูปฏิบัติงานจะตองใหแขนทอนลางขนานกับพ้ืน สวนแขนทอนบนขนานกับลําตัว ซึ่งขอศอกท้ังสองขางจะทํามุม 90 องศาหัวไหลปลอยตามสบาย เพราะถาผูปฏิบัติงานเกร็งหรือยกขึ้นเมื่อทํางานไดระยะหนึ่ง ผูปฏิบัติงานจะเกิดความเมื่อยลาและเกิดการบาดเจ็บสะสมได

Page 148: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

130 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

2. ผูปฏิบัติงานยืนหลังตรงไมเอียงตัวไปขางหนาหรือขางหลัง ไมยืนหลังงอหรือหอไหลและไมควรเอ้ือมมือไปหยิบสิ่งของที่อยูระดับสูงกวาหัวไหลและระดับต่ํากวามื อจนตองกมตัวลง สวนศีรษะของผูปฏิบัติงานตองไมเงยหรือกมมากเกินไป

3. ควรจัดใหมีแทนรองรับชิ้นงานสําหรับผูปฏิบัติงานที่มีความสูงมาก หรือแทนยกพ้ืนสําหรับผูปฏิบัติงานที่เตี้ยใหสามารถยืนทํางานไดอยางเหมาะสม

4. ควรจัดใหมีแผนปูรองพ้ืนที่ ซึ่งเปนวัสดุที่มีความยืดหยุนไมลื่นสะอาด

5. บริเวณที่ยืนทํางานนั้นตองไมมีสิ่งกีดขวาง เพ่ือใหผูปฏิบัติงานสามารถขยับเทาทั้งสองเคลื่อนที่ไปมาไดอยางอิสระ เพ่ือชวยลดความเมื่อยลาและเครียดของกลามเนื้อ

6. ควรมีการจัดหาที่วางพักเทา เพ่ือใหผูปฏิบัติงานสามารถปรับเปลี่ยนอิริยาบถไดหรือสับเปลี่ยนน้ําหนักในการยืนเปนครั้งคราว เพ่ือชวยลดความเมื่อยลาและเครียดของกลามเนื้อ

7. ควรจัดใหมีเกาอ้ีหรือที่นั่งพักไวในพ้ืนที่ปฏิบัติงาน เพ่ือใหผูปฏิบัติงานนั่งพักในระหวางชวงพักไดอยางสะดวก

8. ผูปฏิบัติงานควรสวมรองเทาท่ีมีความเหมาะสมพอดี เพ่ือรองรับและพยุงบริเวณที่เปนสวนโคงของเทาเพ่ือลดความปวดเมื่อย

การแกไขปญหาดานการยศาสตร จึงไมใชการปรับผูปฏิบัติงานใหเหมาะกับสภาพการทํางานแตเปนการปรับสภาพการทํางานใหเหมาะกับผูปฏิบัติงาน โดยการออกแบบอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร และสภาพแวดลอมในการทํางาน ใหเหมาะกับความสามารถพ้ืนฐานและขอจํากัดของผูปฏิบัติงาน เพ่ือชวยใหผูปฏิบัติงานไดรับความปลอดภัยในการทํางาน ไมเกิดการเมื่อยลาหรือการปวดเมื่อยกลามเนื้อจนมีอาการลุกลามรายแรง และยังทําใหเกิดสภาพการทํางานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดวย

Page 149: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 131

บทที่ 16 การปฐมพยาบาลเบื้องตน (First Aid) การปฐมพยาบาลเบื้องตน หมายถึง การใหความชวยเหลือผูปวยหรือผูบาดเจ็บ ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใชอุปกรณเทาที่จะหาไดในขณะนั้น กอนที่ผูบาดเจ็บจะไดรับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย หรือสงตอไปยังโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลมีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ 1. เพ่ือชวยชีวิต

2. เพ่ือเปนการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือการเจ็บปวย

3. เพ่ือทําใหบรรเทาความเจ็บปวดทรมาน และชวยใหกลับสูสภาพเดิมโดยเร็ว

4. เพ่ือปองกันความพิการที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง หลักการทั่วไปในการปฐมพยาบาลนั้น จําเปนตองกระทําโดยเร็วที่สุด ซึ่งตองคํานึงถึงกลุมบุคคลสองกลุม คือ ผูชวยเหลือ ซึ่งมักเปนบุคคลที่อยูในเหตุการณขณะนั้น และผูบาดเจ็บหรือผูปวย

ขั้นตอนการชวยเหลือเม่ือพบผูประสบเหตุฉุกเฉิน มีดังนี ้1. สํารวจสถานการณ 2. สํารวจการบาดเจ็บเบื้องตน - ตรวจดูความรูสึกตัว - ตรวจดูทางเดินหายใจ

- ตรวจชีพจร - ตรวจดูการบาดเจ็บ

3. แจงขอความชวยเหลือ 4. ใหการปฐมพยาบาลตามอาการบาดเจ็บ

หองปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาทางการแพทยควรมีอุปกรณที่ใชปฐมพยาบาลหรือตูปฐมพยาบาล ซึ่งประกอบดวยอุปกรณ ดังนี้

x ชุดยาปฐมพยาบาลเบื้องตน ไดแก นํ้ายาลางแผล ยาใสแผลสด ยาแกปวด ยาทาบรรเทาอาการจากแผลไฟไหม หรือนํ้ารอนลวก ยาดม

x อุปกรณการปฐมพยาบาล เชน ผาพันแผลที่ผานการฆาเชื้อ กรรไกร สําลี เข็มกลัด แกวลางตา พลาสเตอร ผายืด เปนตน

x คูมือการใชยาชนิดตางๆ

Page 150: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

132 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

ตูหรืออุปกรณปฐมพยาบาลควรอยูในตําแหนงที่สามารถหยิบไดสะดวก และมีแสงสวางเพียงพอ นอกจากนี้ควรมีเบอรโทรศัพท 1669 หรือเบอรของโรงพยาบาลที่อยูใกลเคียงติดอยูที่ตูปฐมพยาบาลหรือสถานที่เก็บอุปกรณปฐมพยาบาลใหเห็นชัดเจน และมอบหมายใหมีผูรับผิดชอบอุปกรณหรือตูปฐมพยาบาล เพ่ือตรวจสอบดูแลใหพรอมใชเสมอ หนวยงานควรจัดใหมีการอบรมเจาหนาที่ในหองปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล เพ่ือสามารถชวยเหลือผูปวยเบื้องตนกอนนําสงแพทย อยางไรก็ตาม พึงระลึกไวเสมอวาการปฐมพยาบาลนั้นสามารถทําได หากประเมินแลวอยูในวิสัยที่สามารถจะกระทํา หากไมแนใจหรือลักษณะการบาดเจ็บรุนแรงตองรีบประสานงานกับหนวยแพทยหรือผูเกี่ยวของโดยตรง

การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บ แตกตางกันตามลักษณะของการบาดเจ็บ หรืออันตราย ดังตอไปนี้

1. การดูแลบาดแผลจากของมีคมและแผลเข็มท่ิมตํา เมื่อเกิดบาดแผลใหแกไข ดังนี้ 1.1 ทําความสะอาดบาดแผลดวยสบูและน้ํา เสร็จแลวเช็ดดวยแอลกอฮอล 1.2 ปดแผลดวยพลาสเตอร

ขอควรคํานึง กรณีมีแผลใหญและลึก หรือหามเลือดไมได ตองพบแพทยและบอกสาเหตุ เพ่ือรับการรักษาใหเร็วที่สุด

นอกจากนี้ควรเจาะเลือด เพ่ือดู seroconversion ของเชื้อที่สามารถติดทางเลือดได เชน ไวรัสตับอักเสบ ไวรัสเอดส เปนตน และตองมีการติดตามดูอาการของผูที่ไดรับอุบัติเหตุ จนแนใจวาไมมีการติดเชื้อ หากมีการติดเชื้อตองไดรับการรักษาอยางตอเนื่อง

2. แผลไฟไหม นํ้ารอนลวก พิจารณาเปน 2 กรณี ดังนี้ 2.1 กรณีเฉพาะชั้นผิวหนัง ระบายความรอนออกจากแผล โดยใชผาชุบน้ําประคบบริเวณ

บาดแผล แชลงในน้ําหรือเปดใหน้ําไหลผานบริเวณบาดแผลตลอดเวลา นานประมาณ 10 นาที ซึ่งจะชวยบรรเทาความเจ็บปวดได ทาดวยยาทาแผลไหม หามเจาะถุงน้ําหรือตัดหนังสวนที่พองออก ปดบริวณแผลดวยผาสะอาด เพ่ือปองกันการติดเชื้อ ถาแผลไหมมีบริเวณกวาง หรืออวัยวะที่สําคัญตองรีบนําสงโรงพยาบาล

2.2 กรณีลึกถึงเนื้อเยื่อใตผิวหนัง ไมตองระบายความรอนออกจากบาดแผล เพราะจะทําใหแผลติดเชื้อมากขึ้น หามใสยาใดๆทั้งสิ้นลงในบาดแผล ใชผาสะอาดหอตัวผูบาดเจ็บ เพ่ือปองกันสิ่งสกปรก ใหความอบอุน และรีบนําสงโรงพยาบาล

3. บาดแผลจากกระแสไฟฟาช็อต อาจทําใหเกิดแผลไหม เนื้อเยื่อท่ีลึกจากผิวหนังอาจจะไดรับผลกระทบดวย แตจะใชเวลาประมาณ 2-3 วัน จึงจะแสดงอาการออกมา ผูปวยที่ถูกไฟฟาดูดติดอยูกับบริเวณที่สัมผัส จะทําใหเกิดการไหมที่รุนแรง ควรปฏิบัติ ดังนี้

Page 151: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 133

3.1 ทําการดึงผูปวยออกจากกระแสไฟฟา วิธีที่งายที่สุด คือ ตัดกระแสไฟฟา โดยการปด สวิตซ แตถาไมสามารถกระทําไดโดยวิธีนี้ ตองดึงผูปวยออกจากกระแสไฟฟา โดยยืนบนกระดานที่ ไมเปยกนํ้า หรือยืนบนวัสดุที่เปนฉนวนชนิดอื่น เชน แผนยาง

3.2 เมื่อดึงผูปวยออกจากกระแสไฟฟาแลว ลงมือกระตุนหัวใจ และผายปอดใหทันที ตอง ชวยเหลือจนกระท่ังผูปวยหายใจได และควรรีบนําสงโรงพยาบาลทันที หากผูปวยมีอาการหนัก

4. สารกระเด็นเขาตา ควรปฏิบัติ ดังนี้ 4.1 ลางตาทันที โดยลืมตาและกรอรกตาในน้ํานานๆ

4.2 สารเคมีที่เปนดางเขาตา ใหลางดวยสารละลายกรดโบริก 4.3. สารเคมีที่เปนกรดเขาตา ใหลางดวยสารละลายโซเดียมไบคารบอเนตเจือจาง 4.4 หากสารชีวภาพหรือจุลชีพกระเด็นเขาตา หรือหลังลางตาแลวมีอาการอักเสบ ตองรีบไปพบ

แพทย 5. การดื่มหรือกลืนสารพิษ ควรปฏิบัติ ดังนี้

5.1 ลางปากใหสะอาด

5.2 ตองทราบวากลืนสารอะไร

5.3 ดื่มน้ํา หรือนม หรือไขขาว เพ่ือใหสารพิษในกระเพาะเจือจาง 5.4 ดื่ม activated charcoal เพ่ือดูดสารพิษในกระเพาะ

5.5 ทําใหอาเจียนและไปพบแพทย ขอควรระวังคือหามทําใหอาเจียน หากผูปวยหมดสติ หรือดื่มกรด หรือดางอยางแรง รวมถึงน้ํามันและทินเนอร

5.6 ถากลืนจุลชีพ ใหรีบไปพบแพทยและบอกชนิดของจุลชีพที่กลืนเขาไป 6. แกสรั่ว ควรปฏิบัติ ดังนี้

6.1 นําผูปวยออกไปยังบริเวณท่ีมีอากาศบริสุทธิ์ 6.2 ควรปลดเสื้อผาที่บริเวณคอและเอวใหหลวม และใหความอบอุนแกรางกาย

6.3 ทําการชวยเหลือ โดยการใหออกซิเจน หากไมมีออกซิเจนควรผายปอดใหดวยวิธีปากตอปากไปเรื่อยๆ จนกระท่ังผูปวยหายใจเองได

6.4 หากผูปวยไดรับแกสพิษ ควรอยูภายใตการดูแลของแพทย

Page 152: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

134 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 17 ความปลอดภัยทางชีวภาพและเทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรม

(Biosafety and Recombinant DNA Technology) ความปลอดภัยทางชีวภาพและเทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรม ในที่นี้ หมายถึง แนวคิดในการพิจารณา

ถึงผลกระทบ และประเมินความเสี่ยงหรืออันตรายตอความปลอดภัยของสุขภาพมนุษย ความหลากหลายทางชีวภาพ อันอาจเกิดจากการวิจัย ทดลองและพัฒนาการเคลื่อนยาย การจัดการ และการใชประโยชนจากสิ่งมีชีวิตที่เปนจุลชีพ รวมถึงจุลชีพที่ไดรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมโดยใชเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมในสวนที่มีการควบคุม ซึ่งเปนการปฏิบัติงานภายในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยเทานั้น

เทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรม หมายถึง การผสมสารพันธุกรรมจากแหลงที่มาตางกัน เพ่ือสรางสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms, GMOs) ซึ่งไมมีในธรรมชาติ ปจจุบันเทคโนโลยีนี้ไดกลายเปนพ้ืนฐานสําคัญของชีววิทยาและการแพทย และมีความเปนไปไดที่จะมีอิทธิพลอยางมาก เนื่องจากมีการศึกษาการเรียงรหัสพันธุกรรมของมนุษยเปนผลสําเร็จแลว วิธีการดานเทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรมนี้จะทําใหการรักษาโรคดวยยีนอาจกลายเปนวิธีการรักษาหลักของโรคไดในอนาคต นอกจากนี้ยังมีแนวโนมการสรางพาหะ (vector) ตัวใหมสําหรับการขนถายยีนที่ตองการ โดยใชเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีตัดแตงพันธุกรรมนี้ ทําโดยการโคลนนิ่งชิ้นสวนดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic Acid; DNA) ในเซลลเจาบานที่เปนแบคทีเรีย เพ่ือสรางผลิตภัณฑของดีเอ็นเอสวนที่ตองการสําหรับนําไปใชในการศึกษาตอไป ขั้นตอนดังกลาวอาจทําใหเกิดเปนสิ่งมีชีวิตใหมที่ไมเคยรูจัก สิ่งมีชีวิตเหลานี้อาจมีคุณลักษณะที่ไมสามารถทํานายหรือควบคุมได ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตราย ถาสิ่งมีชีวิตเหลานี้เล็ดลอดออกจากหองปฏิบัติการ ดังนั้นสําหรับการทํางานเกี่ยวกับ GMO การทดลองเกี่ยวกับการสรางหรือใชสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ควรทําภายหลังจากไดดําเนินการประเมินความเสี่ยงความปลอดภัยทางชีวภาพที่ถูกตองและเหมาะสมแลวเทานั้น โดยควรมีการประเมินคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตผูให (donor organism) ลักษณะคุณสมบัติของลําดับดีเอ็นเอซึ่งจะถูกขนสง (transfer) และคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตผูรับ (recipient organism) ซึ่งปจจัยเหลานี้มีผลตอการชวยในการตัดสินเกี่ยวกับระดับความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับการปฏิบัติงาน

17.1 ขอควรพิจารณาดานความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับการแสดงออกของชิ้นยีนบนพาหะ

ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพที่สูงขึ้นอาจจําเปนตองใชเมื่อ: 1. มีการสังเคราะหสารจากดีเอ็นเอของจุลชีพกอโรค ซึ่งอาจจะเพ่ิมความรุนแรงไดในสิ่งมีชีวิต

GMO

Page 153: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 135

2. ชิ้นสวนดีเอ็นเอยังไมเคยถูกศึกษาคุณลักษณะเฉพาะ เชน ระหวางการสราง genomic DNA

library จากจุลชีพกอโรค

3. ผลิตภัณฑจากยีนมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา 4. ผลิตภัณฑจากยีนเปนสารพิษ

17.2 พาหะยีนที่เปนไวรัสสําหรับการขนถายยีน พาหะยีนที่เปนไวรัส (viral vector) เชน adenovirus vectors ไดถูกใชสําหรับการขนถายยีนเขาสู

เซลลอ่ืน พาหะเหลานี้ไมมียีนที่จําเปนสําหรับการเพ่ิมจํานวน จึงตองเพ่ิมจํานวนในเซลลเพาะเลี้ยง การเก็บสํารองพาหะเหลานี้ อาจมีการปนเปอนดวยไวรัสที่สามารถเพ่ิมจํานวนได ซึ่งอาจจะเกิดจากกระบวนการ spontaneous recombination ในเซลลเพาะเลี้ยง หรืออาจไดมาจากขั้นตอนการทําใหบริสุทธิ์ที่ไมดีพอ ดังนั้นพาหะเหลานี้ควรไดรับการจัดการในที่มีความปลอดภัยทางชีวภาพระดับเดียวกับไวรัสตนแบบ

17.3 การประเมินความเสี่ยงสําหรับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม การประเมินความเสี่ยงสําหรับงาน GMO ควรพิจารณาในคุณลักษณะของสิ่งมีชีวิตผูให (donor

organism) และเซลลเจาบาน (host หรือ recipient organism) ตัวอยางของคุณลักษณะที่ตองไดรับการพิจารณาม ีดังตอไปนี้

17.3.1 ความอันตรายที่เกิดขึ้นโดยตรงจากยีนที่ใส (สิ่งมีชีวิตผูให; donor organism) การประเมินมีความจําเปน ในกรณีผลิตภัณฑยีนที่ใสเขาไปนั้น มีคุณสมบัติทางดานชีวภาพและเภสัช

วิทยา ที่อาจทําใหเกิดอันตรายได ตัวอยางเชน

1. สารพิษ

2. ไซโตคายน (cytokines) 3. ฮอรโมน

4. สารควบคุมการแสดงออกของยีน (gene expression regulators) 5. ยีนหรือสารควบคุมความรุนแรงของเชื้อ (virulence factors หรือ enhancers) 6. ยีนกอมะเร็ง 7. ยีนตอตานยาปฏิชีวนะ

8. สารกอภูมิแพ การพิจารณาสถานการณเหลานี้ควรจะรวมไปถึงการประเมินระดับของการแสดงปฏิกิริยาทางชีวภาพ

และเภสัชวิทยาดวย 17.3.2 อันตรายที่เก่ียวของกับเซลลเจาบาน (host หรือ recipient organism)

Page 154: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

136 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

1. ความไวของเซลลเจาบาน

2. ความสามารถในการกอโรคของเซลลเจาบาน ไดแก ความรุนแรงการติดเชื้อและการสรางสารพิษ

3. การเปลี่ยนแปลงของ host range

4. สถานะภูมิคุมกันของผูรับ

5. ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการสัมผัส

17.3.3 อันตรายที่เกิดจากการดัดแปลงเชื้อกอโรค โดยธรรมชาติยีนอาจไมไดสรางสารที่เปนอันตราย แตหากถูกดัดแปลงอาจกอโรคได ขอควรคํานึงใน

การจําแนกอันตรายเหลานี้ เชน

1. มีการติดเชื้อหรือกอใหเกิดโรคเพ่ิมหรือไม 2. มีการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมใดบางในตัวผูรับที่เปนผลจากการใสยีนแปลกปลอมลงไป

3. ยีนแปลกปลอมเปนตัวกอใหเกิดโรคจากจุลชีพตัวอ่ืนหรือไม 4. ถายีนแปลกปลอมเปนสวนที่กอใหเกิดโรค มีการคาดการณหรือไมวา ยีนนี้จะสามารถ นําไปสู

การกอใหเกิดโรคของ GMO หรือไม 5. กรณีเกิดการติดเชื้อ หรือเปนโรค มีวิธีการรักษาหรือไม 6. ความไวของสิ่งมีชีวิตที่ตัดแตงพันธุกรรมตอยาปฏิชีวนะหรือการรักษา มีผลกระทบมาจาก

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมหรือไม 7. การทําลายสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเปนไปไดหรือไม

ขอควรคํานึงเพิ่มเติม

การทดลองที่เกี่ยวกับการดัดแปลงพันธุกรรมจุลชีพ ควรมีการพิจารณาอยางละเอียดถี่ถวน ผูทดลองตองทําตามขอกําหนดสําหรับการทดลองที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดแตงพันธุกรรมของประเทศหรือสถาบันอย างเครงครัด หนวยงานหรือสถาบันที่มีกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการ ดังนี้

คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับหนวยงาน ( Institutional Biosafety

Committee; IBC) เพ่ือทําหนาที่สําคัญในการพิจารณา ใหคําแนะนําและตรวจสอบการดําเนินงานหรือโครงการวิจัยที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม รวมทั้งมีบทบาทในการตรวจสอบมาตรฐานของหองปฏิบัติการ และการหลุดรอดของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมจากหองปฏิบัติการ เพ่ือใหเปนไปตามแนวทางปฏิบัติความปลอดภัยทางชีวภาพ ทั้งนี้ใหหมายรวมถึงคณะกรรมการควบคุมความปลอดภัยทางชีวภาพตามกฎหมายวาดวยเชื้อโรคและพิษจากสัตวดวย

Page 155: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 137

คณะกรรมการเทคนิคด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (Technical Biosafety Committee; TBC) เพ่ือทําหนาที่ใหคําปรึกษาดานเทคนิคในการดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการวิจัยดานเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม ใหเปนไปตามแนวทางปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยทางชีวภาพ รวมถึงการบงชี้ประเภทของงานที่มีระดับความเสี่ยงอันตรายที่ยังไมมีความแนชัด ตลอดจนทําหนาที่ประสานงานกับหนวยงานที่มีหนาที่ควบคุมสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม และเปนแกนกลางในการประสานงานควบคูกับการสรางขีดความสามารถของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบัน (IBC)

การจําแนกประเภทการวิจัยและทดลองเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมและคําแนะนําในการดําเนินการสําหรับหองปฏิบัติการ เพ่ือความปลอดภัยทางชีวภาพทั้งตอผูปฏิบัติงานชุมชนและสิ่งแวดลอม สามารถดูรายละเอียดไดจาก แนวทางปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับการดําเนินงานดานเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม จัดทําโดยศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ

การประเมินความเสี่ยงกอนการปฏิบัติงานทดลองเกี่ยวกับการดัดแปลงพันธุกรรมจุลชีพเปนสิ่งจําเปน โดยตองคํานึงถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของมนุษยทั้งทางตรงหรือทางออม รวมถึงการเกิดผลกระทบตามมาภายหลังการทดลอง ซึ่งอาจเปนผลจากการดําเนินการที่เกี่ยวของกับการใชสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หนวยงานตองทําการประเมินความเสี่ยงอยางเหมาะสมและครอบคลุม เพ่ือทําใหมั่นใจวาเทคโนโลยีการตัดแตงพันธุกรรมจะไมกอใหเกิดโทษตอมนุษยชาติในอนาคต สําหรับรายละเอียดการประเมินความเสี่ยงสามารถดูรายละเอียดไดจากบทที่ 10 การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ

Page 156: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

138 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

บทที่ 18 การจัดการสารเคมีของหองปฏิบัติการ จุลชีววิทยาทางการแพทย (Chemical Management)

ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยนอกจากจะไดรับอันตรายจากจุลชีพหรือสารชีวภาพแลว ยังอาจเกิดอันตรายจากสารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการอีกดวย ดังนั้นจึงตองมีความรูดานสารเคมี เกี่ยวกับชนิด การเก็บรักษา การใชงาน ลักษณะการเกิดอันตรายของสารที่ ใช เปนตน คุณสมบัติของสารเคมีเหลานี้ปรากฏอยูในเอกสารขอมูลความปลอดภัยสารเคมี (material safety data sheet, MSDS) ซึ่งเปนเอกสารที่แสดงขอมูลของสารเคมีหรือเคมีภัณฑเกี่ยวกับลักษณะความเปนอันตราย พิษ วิธีใช การเก็บรักษา การขนสง การกําจัดและการจัดการอ่ืนๆ เพ่ือใหการดําเนินการเกี่ยวกับสารเคมีนั้นเปนไปอยางถูกตองและปลอดภัย สามารถขอไดจากบริษัทผูผลิตหรือผูจําหนายในปจจุบันตามประกาศของสหประชาชาติ เรื่องระบบการจําแนกและการติดฉลากสารเคมีที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก (The globally harmonized system

of classification and labeling of chemicals, GHS) เพ่ือใหเกิดความสอดคลองและเปนระบบเดียวกัน ไดกําหนดใหเรียกวา safety data sheet (SDS) พรอมกับไดกําหนดรูปแบบและขอมูลใน SDS ไว 16 หัวขอ โดยมีหัวขอ ดังตอไปนี้

1. ขอมูลเกี่ยวกับสารเคมี และบริษัทผูผลิตและหรือจําหนาย (identification of the substances/ preparation and of the company /undertake)

2. ขอมูลระบุความเปนอันตราย (hazards identification) 3. สวนประกอบและขอมูลเกี่ยวกับสวนผสม (composition/ information on ingredients) 4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures) 5. มาตรการผจญเพลิง (fire fighting measures) 6. มาตรการจัดการเมื่อมีการหกรั่วไหลของสารโดยอุบัติเหตุ (accidental release measures) 7. ขอปฏิบัติในการใชและการเก็บรักษา (handling and storage) 8. การควบคุมการรับสัมผัสและการปองกันภัยสวนบุคคล (exposure control/ personal

protection) 9. คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ (physical and chemical properties) 10. ความเสถียรและความไวตอการเกิดปฏิกิริยา (stability and reactivity) 11. ขอมูลดานพิษวิทยา (toxicological information) 12. ขอมูลเชิงนิเวศน (ecological information) 13. มาตรการการกําจดั (disposal considerations)

Page 157: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 139

14. ขอมูลสําหรับการขนสง (transport information) 15. ขอมูลเกี่ยวกับกฎขอบังคับ (regulatory information) 16. ขอมูลอื่น (other information)

18.1 การจัดกลุมสารเคมี การจัดกลุมสารเคมี อาจจําแนกไดตามความวองไวตอปฏิกิริยา และกําหนดใหสารที่เขากันไมได วางแยกเก็บใหหางจากกันอยางเด็ดขาด สารเคมีหลายพันชนิดที่ใชกันอยูอาจแบงไดเปน 6 กลุมคือ

- สารไวไฟ (flammable chemicals) - สารระเบิดได (explosive chemicals) - สารเปนพิษ (toxic chemicals) - สารกัดกรอน (corrosive chemicals) - สารกัมมันตรังสี (radioactive chemicals) - สารที่เขาไมได (incompatible chemicals)

18.2 หลักการเก็บสารเคมี 1. สถานที่เก็บสารควรเปนสถานที่ปดมิดชิด อยูภายนอกอาคาร ฝาผนังควรทําดวยสารทนไฟปดล็อคได

และมีปายบอกอยางชัดเจนวา “สถานที่เก็บสารเคม”ี

2. ภายในสถานที่เก็บสารเคมี ควรมีอากาศเย็นและแหง มีระบบถายเทอากาศที่ดี และแดดสองไมถึง 3. ชั้นวางสารเคมีภายในสถานที่เก็บสารเคมีตองมั่นคง แข็งแรง ไมมีการสั่นสะเทือน

4. ภาชนะท่ีบรรจุสารเคมี ตองมีปายชื่อที่ทนทานคิดอยู พรอมทั้งบอกอันตรายและขอควรระวังตางๆ

5. ภาชนะท่ีใสตองทนทานตอความดัน การสึกกรอนและแรงกระแทกจากภายนอก ควรมีภาชนะสํารอง ในกรณีที่เกิดการแตกหรือภาชนะรั่วจะไดเปลี่ยนไดทันที

6. ภาชนะเก็บสารที่ใหญและหนักไมควรเก็บในที่สูง เพ่ือจะไดสะดวกในการหยิบใช 7. ขวดไมควรวางบนพ้ืนโดยตรง หรือไมควรวางชอนบนขวดอ่ืน และมีระยะหางกันพอสมควรระหวาง

ชั้นที่เก็บสาร ไมควรวางสารตรงทางแคบ หรือใกลประตูหรือหนาตาง 8. ไมควรจัดเรียงสารตามลําดับตัวอักษร ควรเก็บสารตามลําดับการเขามากอนหลัง และตองใชกอน

หมดอายุ 9. ควรแยกเก็บสารเคมีในปริมาณนอย โดยใชภาชนะบรรจุขนาดเล็ก บริเวณที่เก็บสารควรรักษาความ

สะอาด มีความเปนระเบียบเรียบรอยอยางสม่ําเสมอ และมีการจัดเรียงอยางมีระบบ

10. ตองมีอุปกรณดับเพลิง อุปกรณปองกันภัย และเครื่องปฐมพยาบาลพรอมในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน

Page 158: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

140 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

การเก็บสารเคมีตองคํานึงถึงความไวในปฏิกิริยา การเขากันไมไดของสารเคมี (ดูรายละเอียดของสารเหลานี้ไดในภาคผนวก) และการหมดอายุของสารเคมีโดยสามารถดูไดจากฉลากขางบรรจุภัณฑ แตกรณีไมมีการระบุไวบนฉลาก ใหดําเนินการ ดังตอไปนี้

(1) ตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของสารเคมีวาไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน ความหนืด,

ความหนาแนน, ส,ี pH ตามคุณลักษณะของสารเคมี (2) หาขอมูลจากเวปไซตของบริษัทผูผลิต

(3) ติดตอกับผูจําหนายหรือผูผลิตสารเคมีนั้น ใหออกเอกสารรับรองคุณภาพ และหรือกําหนดวันหมดอายุของเคมี

(4) โดยปกติสารเคมีจะมีอายุการใชงานเฉลี่ยประมาณ 2 ป นับจากวันผลิต ทั้งนี้ตองเก็บอยูในอุณหภูมิที่เหมาะสม

(5) ทําการทดสอบสารเคมีกอนนําไปใช วาสามารถใชไดจริง โดยไมสงผลกระทบตอการทดสอบ

18.3 การเขาสูรางกายของสารเคมีและวิธีสังเกตอาการ 1) ระบบทางเดินหายใจ โดยการสูดดมไอระเหย ฝุนผง หรือละอองสารพิษ อาการเมื่อไดรับสารเคมี

เขาสูทางเดินหายใจ เชน เกิดการระคายเคืองในทางเดินหายใจ แสบจมูก วิงเวียน และหากไดรับสารในความเขมขนหรือปริมาณมากอาจทําใหปอดถูกทําลาย ผลในระยะยาวอาจเกิดมะเร็งปอด เปนตน

2) ทางปาก โดยการกินทั้งจากการตั้งใจและไมตั้งใจ อาการที่ไดรับสารทางนี้อาจเกิดการระคายเคืองตอระบบลําไส ปวดทอง แสบคอ ในระยะยาวอาจเกิดอันตรายตออวัยวะภายใน เชน ตับ ไต หรือระบบเลือด รวมทั้งการสะสมของสารที่นําไปสูการเปนมะเร็งได

3) ทางตา จากการที่สารในรูปของเหลว ไอระเหย หรือฝุนผงเขาสูตาอาจทําใหเกิดการระคายเคืองที่ตา มีอาการแสบ หากไดรับในความเขมขนหรือปริมาณมากอาจทําใหตาบอดได

4) ทางผิวหนัง แบงเปน 2 วิธี คือ โดยการซึมผานจากการสัมผัสที่ผิวหนังและการฉีด หรือทิ่มแทง อาการจากการที่สารเคมีเขาสูทางผิวหนังอาจเกิดการระคายเคือง ผิวหนังถูกทําลายถาวร และอาจเกิดมะเร็งผิวหนัง เปนตน

18.4 การจัดการกับสารเคมีหกหลนในหองปฏิบัติการ สําหรับแนวทางปฏิบัติในการกําจัดสารที่ทําหกหลน หากเปนสารเคมีอันตรายและทําหกเปนปริมาณ

มาก ควรคํานึงถึง การระเบิด การติดไฟ ความเปนพิษ และการขาดออกซิเจนสําหรับหายใจ เมื่อพิจารณาวาสารเคมีชนิดนั้นคืออะไร เปนของแข็งหรือของเหลว ทําหกบริเวณใดบนพ้ืน บนดินหรือในนํ้า มีโอกาสเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม ปริมาณที่ทําหก สภาพแวดลอมใกลเคียง และอันตรายที่อาจเกี่ยวของ เพ่ือการดําเนินการทําความสะอาดและกําจัดตามขั้นตอนอยางถูกตองเหมาะสม โดยทั่วไปถาเปนของเหลวจะใชตัวดูด

Page 159: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 141

ซับเฉพาะ หรือใชทรายดูดซับในบริเวณท่ีเกิดอุบัติเหตุ แลวรวบรวมนําไปกําจัดดวยวิธีที่เหมาะสม ระวังไมใหมีการสัมผัสรางกายโดยตรงหรือการฟุงกระจายของฝุนละอองหรือไอระเหย หองปฏิบัติการควรมีขั้นตอนดําเนินการสําหรับสารเคมีท่ีหก ดังนี้

18.4.1 การเตรียมวัสดุอุปกรณสําหรับจัดการสารเคมีที่หก ไดแก 18.4.1.1 วัสดุดูดซับ เชน ทรายแหง ขี้เลื่อย กระดาษซับแผนใหญ ฟองนํ้า 18.4.1.2 อุปกรณตัก กวาด รองรับสารที่หกหลน เชน แปรงขนแข็ง ถาดพลาสติก

18.4.1.3 สารเคมีสําหรับการสะเทิน เชน โซเดียมคารบอเนต (sodium carbonate) และโซเดียมไบซัลเฟต (sodium bisulfate) ซึ่งตองดําเนินการโดยผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้น และเตรียมวิธีการทําลายสารเคมีและวัสดุดูดซับที่ใชแลว

18.4.1.4 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมกับชนิดของสารเคมี 18.4.2 การจัดการทั่วไปเม่ือมีสารเคมีหกหลน ไดแก

18.4.2.1 แจงเตือนเจาหนาที่ผูที่มีโอกาสเขาสัมผัสใหทราบถึงบริเวณที่มีสารเคมีหกหลน กันใหผูไมเกี่ยวของออกจากพ้ืนที่

18.4.2.2 เมื่อมีสารเคมีหกในปริมาณนอย (นอยกวา 10 มิลลิลิตร) ใชกระดาษซับทิ้งในภาชนะท่ีเหมาะสม หากหกในปริมาณมากและเปนสารไมไวไฟและไมระเหย ใหใชสารดูดซับ ถาเปนกรดใชตัวสะเทินปฏิกิริยา (neutralizer) เชน โซเดียมไบคารบอเนต

18.4.2.3 หากสารไวไฟหก ตองปดแหลงความรอนและประกายไฟ 18.4.2.4 ระหวางการเก็บและทําความสะอาดพ้ืนที่ ตองใชอุปกรณปองกันอันตราย เชน

หนากาก และถุงมือ 18.4.2.5 ใชวัสดุดูดซับ เชน ทราย กระดาษซับ หรือฟองนํ้า ในการดูดซับหรือปองกันการ

กระจายของสารเคมีของเหลว 18.4.2.6 ตักสารเคมีที่หกหรือวัสดุดูดซับสารเคมีที่ใชแลว ใสภาชนะที่เหมาะสม ระบุฉลาก

ใหชัดเจนวาดูดซับสารเคมีอะไร ปริมาณประมาณเทาใด 18.4.2.7 วัสดุที่ดูดซับสารเคมีที่ระเหยงาย นําไปไวในตูดูดควันใหสารเคมีระเหยไปกอน แต

ตองระวังการเกิดประกายไฟ 18.4.2.8 เมื่อกําจัดสารเคมีที่หกแลว ควรทําความสะอาดพ้ืนที่ใหสะอาด โดยใชไมถูพ้ืนดาม

ยาว

Page 160: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

142 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

เอกสารอางองิ 1. World Health Organization. Laboratory biosafety manual. 3rd ed. Geneva: 2004.

2. Cdc.gov [internet]. Biosafety in microbiological and biomedical laboratories. 5th ed.

2007[cited 2017 Sep. 3]. Available from: https://www.cdc.gov/biosafety/publications/

bmbl5/bmbl.pdf

3. สุมล ปวิตรานนท, ศิริพรรณ วงศวานิช, อรอนงค รัชตราเชนชัย, บรรณาธิการ. แนวทางการดําเนินการความมั่นคงดานชีวภาพทางหองปฏิบัติการ. นนทบุรี: กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข; 2552.

4. จุฬาลักษณ บางเหลือ. โครงสรางพ้ืนฐานสําหรับหองปฏิบัติการ. ใน: วงศวรุตม บุญญานุโกมล, บรรณาธิการ. คูมือความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ (Manual of Laboratory Safety) หองปฏิบัติการกลางสําหรับการเรียนการสอนและวิจัย โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอํานาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล. อํานาจเจริญ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หนา 4 –15.

5. กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. คูมือปฏิบัติดานความปลอดภัยหองปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตรบริการ. กรุงเทพ: กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี; 2558.

6. กําธร มาลาธรรม, สุสัณห อาศนะเสน, บรรณาธิการ. คูมือการปองกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล. นนทบุรี: สถาบันบําราศนราดูร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย; 2556.

7. สํานักโรคติดตออุบัติใหม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คูมือการสวมใสและถอดชุดปองกันตน (Donning and Removing Personal Protective Equipment) สําหรับผูปฏิบัติงานปองกันและควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย; 2552.

8. วิษณุ ธรรมลิขิตกุล, บรรณาธิการ. เวชบันทึกศิริราช. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร ศิรริาชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2554.

9. ฐนิตา ทวีธรรมเจริญ. โครงการพัฒนาสูตรน้ํายาฆาเชื้อที่มี Chlorhexidine และสวนผสม [Internet]. 2009

[cited 2016 Dec 14]. Available from: http://www.si.mahidol.ac.th/km/admin/ add_information/star/star_files/337_1.pdf

10. คณะอนุกรรมการความปลอดภัยและอนามัยสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล. แนวปฏิบัติดานอนามัยสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพ: ทองสุขพริ้นท; 2555

Page 161: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 143

11. สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูมือการฝกอบรมผูปฏิบัติงานมูลฝอยติดเชื้อหลักสูตรการปองกันและระงับการแพรเชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ . พิมพครั้งที่ 3. นนทบุรี: โรงพิมพสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ; 2558.

12. กลุมพัฒนาระบบบริหาร กรมวิทยาศาสตรการแพทย . แผนบริหารความเสี่ยงตอปฏิบัติการ (Operations) จากภาวะฉุกเฉิน กรมวิทยาศาสตรการแพทย ประจําป พ.ศ. 2556 . นนทบุรี : กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข; 2556.

13. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเฉลิมพระเกียรติหัวเฉียว. คูมือความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ. กรุงเทพ: คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ; 2554.

14. สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คูมือการประเมินความเสี่ยงจากการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแกไข พ.ศ. 2554). นนทบุรี: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย; 2554.

15. สํานักงานวิจัย วิชาการและนวัตกรรม. แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. กรุงเทพ: คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี; 2559.

16. คณะกรรมการเทคนิคดานความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ. แนวทางปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยทางชีวภาพสําหรับการดําเนินงานดานเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม . พิมพครั้งที่ 9. ปทุมธานี: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง; 2559.

17. ชลภัทร สุขเกษม, สุดา ลุยศิริโรจนกุล, สหพัฒน บรัศวรักษม วิทวัช วิริยะรัตน, บรรณาธิการ.ความปลอดภัยและความมั่นคงทางชีวภาพสําหรับหองปฏิบัติการทางการแพทยและสัตวแพทย. กรุงเทพ: โรงพิมพอักษรสมัย (1999); 2554.

18. Tanita Thaweethamcharoen, M. Pharm, Siriwan Sasithornrojanachai. Confidence in the

Daily use of Antiseptic Alcohol. Siriraj Med J 2009; 61: 78-81.

19. Center for Disease Control and Prevention. Guideline for Disinfection and Sterilization in

Healthcare Facilities. In: William AR, David JW, editors. Atlanta; 2008. p 42, 96. 20. World Health Organization. Guidance on regulations for the Transport of Infectious

Substancess 2015–2016. WHO/HSE/GCR/2015.2. 21. Medi.moph.go.th. [internet]. Available from: http://medi.moph.go.th/kpi/DATAKPI/st_51.pdf

22. สุวิทย แวนเกต.ุ ตัวบงชี้ทางชีวภาพ (Biological Indicator). [อินเตอรเน็ต]. [เขาถึงเมื่อ ก.ค. 2560]. เขาถึงไดจาก: http://www.cssd-gotoknow.org/2015/02/biological-indicator.html

23. Disaster.go.th. [internet]. Available from: www.disaster.go.th/th/download-src.php?did=1107

24. Shawpat.or.th. [internet]. Available from: www.shawpat.or.th

Page 162: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

144 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

25. CWA 15793:2011 Laboratory biorisk management standard.[internet].[cited 2017 July 10].

Available from: http://www.uab.cat/doc/CWA15793_2011

26. ISO15190:2003 Medical laboratories--Requirements for safety. [internet]. [cited 2017 June

25]. Available from: http://med.mahidol.ac.th/patho/sites/default/files/u2/patho/

Doc_Form/ISO15190Y20030.pdf

27. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมเรื่องคูมือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๐.

[อินเตอรเน็ต]. [เขาถึงเมื่อ มิ.ย. 2560]. เขาถึงไดจาก: http://eis.diw.go.th/haz/hazard/pdf/pagad-

kep-2550.pdf

28. คณี อุนจิตติ. ความปลอดภัยทางหองปฏิบัติการ. พิมพครั้งที่ 1. นนทบุรี: สํานักมาตรฐานหองปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตรการแพทย; 2550.

29. Biorisk management Laboratory biosecurity guidance. World Health Organization.

[internet]. [cited 2017 June 15]. Available from: http://www.who.int/csr/resources/

publications/biosafety/WHO_CDS_EPR_2006_6.pdf

30. คูมือการประเมินคุณภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อสําหรับโรงพยาบาล . [อินเตอรเน็ต]. [เขาถึงเมื่อ 28

ก.ย. 2560]. เขาถึงไดจาก: http://env.anamai.moph.go.th/download/download/pdf/2557/.

31. คูมือการสวมใสและถอดชุดปองกันตน (Donning and Removing Personal Protective Equipment)

สําหรับผูปฏิบัติงานปองกันและควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข . สํานักโรคติดตออุบัติใหม กรมคว บ คุ ม โ ร ค . [ อิ น เ ต อ ร เ น็ ต ]. [เ ข า ถึ ง เ มื่ อ 1 0 มิ . ย . 2 5 6 0 ] . เ ข า ถึ ง ไ ด จ า ก : http://beid.ddc.moph.go.th/media/document_detail.php?id=46

Page 163: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 145

ภาคผนวก ก การจัดแยกประเภทสารเคมีตามการเขากันไมได (Incompatibility)

สารเคมีที่เขากันไมได คือ สารเคมีที่ทําปฏิกิริยากันแลวกอใหเกิดอันตราย อันตรายที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากการเกิดปฏิกิริยากันใหสารที่ไวไฟ กาซพิษ หรือใหสารที่เกิดการระเบิดได เพ่ือความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการควรมีความรูความเขาใจ และทราบวาสารเคมีใดบางที่เขากันไมได ดังตารางแสดงสารเคมีท่ีเขากันไมได (incompatible chemical) ดังนี้

สารเคมี สารเคมีที่เขากันไมได 1. acetic acid chromic acid, ethylene glycol, nitric acid, hydroxyl

compounds, perchloric acid, peroxides, permanganates

2. acetone concentrate sulphuric, nitric acid mixtures

3. acetylene chlorine, bromine, copper, fluorine, silver, mercury

4. alkali and alkaline earth

metals

water, chlorinated hydrocarbons, carbon dioxide,

halogens, alcohols, aldehydes, ketones, acids

5. aluminium (powdered) chlorinated hydrocarbons, halogens, carbondioxide,

organic acids

6. anhydrous ammonia mercury, chlorine, calcium hypochlorite, iodine,

bromine, hydrofluoric acid

7. ammonium nitrate acid, hydrogen peroxide acids, metal powders,

flammable liquids, chlorates, nitrites, sulphur, finely-divided organic combustible materials

8. arsenic compounds reducing agents

9. azides acids

10. bromine ammonia, acetylene, butadiene, hydrocarbons,

hydrogen, sodium, finely-divided metals, turpentine,

other hydrocarbons

11. calcium carbide water, ethanol

12. calcium oxide water

13. carbon activated calcium hypochlorite, oxidizing agents

Page 164: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

146 คูมือมาตรฐานความปลอดภัยหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข

สารเคมี สารเคมีที่เขากันไมได 14. chlorates ammonium salts, acids, metal powders, sulphur, finely-divided

organic or combustible materials

15. chromic acid acetic acid, naphthalene, camphor, glycerin, turpentine,

alcohols, flammable liquids

16. chlorine dioxide ammonia, methane, phosphine, hydrogen sulfide

17. chlorine ammonia, acetylene, butadiene, hydrocarbons,

hydrogen, sodium, finely-divided metals, turpentine,

other hydrocarbons

18. copper acetylene, hydrogen peroxide

19. cumene hydroperoxide acid, organic or inorganic

20. cyanides acids

21. flammable liquids

ammonium

nitrate, chromic acid, hydrogen peroxide, nitric acid,

sodium peroxide, halogens

22. hydrocarbons fluorine, chlorine, bromine, chromic acid, sodium

peroxide

23. hydrocyanic acid nitric acid, alkali

24. hydrofluoric acid aqueous or anhydrous ammonia

25. hydrogen peroxide copper, chromium, iron, most metals or their salts,

alcohol, acetone, organic materials, aniline,

nitromethane, flammable liquids, oxidizing gases

26. hydrogen sulphide fuming nitric acid, oxidizing gases

27. hypochlorites acid, activated carbon

28. iodine acetylene, ammonia (aqueous or anhydrous), hydrogen

29. mercury acetylene, fulminic acid, ammonia

30. mercuric oxide sulphur

31. nitrates sulphuric acid

32. nitric acid (conc.) acetic acid, aniline, chromic acid, hydrocyanic acid,

hydrogen sulphide, flammable liquids, flammable gases

33. oxalic acid silver, mercury

Page 165: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน

รางมาตรฐานความปลอดภยัหองปฏิบัตกิารจุลชีววิทยาทางการแพทยและสาธารณสุข 147

สารเคมี สารเคมีที่เขากันไมได 34. perchloric acid acetic anhydride, bismuth and its alloys, ethanol, paper,

wood

35. peroxides (organic) acids, avoid friction or shock

36. phosphorus (white) air, alkalines, reducing agents, oxygen

37. potassium carbon tetrachloride, carbon dioxide, water, alcohol,

acids

38. potassium chlorate acids

39. potassium perchlorate acids

40. potassium permanganate glycerin, ethylene glycol, benzaldehtyde, sulphuric acid

41. selenides reducing agents

42. silver acetylene, oxalic acid, tartaric acid, ammonium

compound, fulminic acid

43. sodium carbon tetrachloride, carbon dioxide, water

44. sodium peroxide ethanol, methanol, glacial acetic acid, acetic anhydride,

benzaldehyde, carbon disulfide, glycerin, ethylene

glycol, ethyl acetate, methyl acetate, furfural

45. sulphides acids

46. sulphuric acid potassium chlorate, potassium perchlorate, potassium

permanganate or compounds with similar light metals,

such as sodium, lithium

47. tellurides reducing agents

48. zinc powder sulphur

Page 166: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 167: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 168: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 169: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 170: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 171: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 172: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน
Page 173: þ 3 > ' , , þ ! , ' 1 % + ' ? . +û , . 2 ! ! / , , û , 7 ...nih.dmsc.moph.go.th/data/data/61/28DEC2017_2.pdf · 15.1 การเฝาระวังทางการแพทยและภูมิคุมกันวัคซีนของผูปฏิบัติงาน