19
บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้กาหนดขั้นตอนการดาเนินการตามลาดับ ดังนี1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 4. วิธีดาเนินการทดลอง 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ 2 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 4 ห้องเรียน รวมจานวน 130 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ 2/5 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 33 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่ม เนื่องจาก โรงเรียนจัดนักเรียนแต่ละห้องคละความสามารถกัน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้ามี 3 ชนิด ดังนี1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 2 จานวน 4 แผน ใช้เวลาการทดลอง 24 ชั่วโมง 2. แบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 2 เป็นข้อสอบปรนัย จานวน 30 ข้อ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก

บทที่ 3

  • Upload
    boonaon

  • View
    414

  • Download
    5

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3

บทที่ 3

วิธีด ำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ก าหนดขั้นตอนการด าเนินการตามล าดับ ดังนี้ 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 4. วิธีด าเนินการทดลอง 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จ านวน 4 ห้องเรียน รวมจ านวน 130 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จ านวน 33 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่ม เนื่องจากโรงเรียนจัดนักเรียนแต่ละห้องคละความสามารถกัน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้ามี 3 ชนิด ดังนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 4 แผน ใช้เวลาการทดลอง 24 ชัว่โมง 2. แบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นข้อสอบปรนัย จ านวน 30 ข้อ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก

Page 2: บทที่ 3

72

3. แบบวัดความพึงพอใจในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบชี้แนะ(Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 16 ข้อ 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีล าดับขั้นตอนการจัดท าดังนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม คู่มือ แบบเรียน ขอบข่ายเนื้อหาและวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 (ปรับปรุง พ.ศ. 2551) โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ก าหนดหน่วยการเรียนรู้ ดังแสดงในตาราง 6 ตาราง 6 เวลาเรียน เนื้อหา สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนรู้ เนื้อหา เวลา (ชั่วโมง)

1 กระบวนการทางเทคโนโลยี 9

2 วัสดุ และการใช้งาน 9 3 ความรู้พื้นฐานการออกแบบ เขียนแบบ และการอ่านแบบ 24

4 การออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์ 18

รวม 60

(โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม. 2551 : 160) 1.2 วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานการออกแบบ เขียนแบบ และการอ่านแบบ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ดังตาราง 7

Page 3: บทที่ 3

73

ตาราง 7 วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานการออกแบบ เขียนแบบ และการอ่านแบบ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

แผน การเรียนรู้ที่

เรื่อง

จ านวนชั่วโมง

ทฤษฎี ปฏิบัติ

1 การเขียนภาพออบลิก (Oblique) 2 4 2 การเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric) 1 5

3 การเขียนภาพทัศนียภาพ (Perspective) 2 4

4 การเขียนภาพฉาย (Orthographic) 1 5 รวม 24

1.3 วิเคราะห์สัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนที่คาดหวังและเวลาเพื่อท าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ดังตาราง 8 ตาราง 8 วิเคราะห์สัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนที่คาดหวังและเวลาเพื่อท าแผนการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial)

แผน การเรียนรู้ที่

เรื่อง จ านวน ชั่วโมง

1 1. ความรู้ ความหมาย และความส าคัญของการเขียนแบบรูปออบลิก (Oblique) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบรูปออบลิก (Oblique) 3. ลักษณะของรูปออบลิก (Oblique)

1 1 4

2 1. ความรู้ ความหมาย และความส าคัญของการเขียนแบบรูปไอโซเมตริก (Isometric) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบรูปไอโซเมตริก (Isometric)

1 1

3.ลักษณะของรูปไอโซเมตริก (Isometric) 4 3 1. ความรู้ ความหมาย และความส าคัญของการเขียนแบบรูป

ทัศนียภาพ (Perspective) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบรูปทัศนียภาพ (Perspective) 3.ลักษณะของรูป ทัศนียภาพ (Perspective)

1 1 4

Page 4: บทที่ 3

74

ตาราง 8 (ต่อ)

แผน การเรียนรู้ที่

เรื่อง จ านวน ชั่วโมง

4 1. ความรู้ ความหมาย และความส าคัญของการเขียนแบบภาพฉาย (Orthographic) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบภาพฉาย (Orthographic) 3.ลักษณะของภาพฉาย (Orthographic)

1 1 4

รวม 24

1.4 วิเคราะห์สัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนที่คาดหวังและเวลาเพื่อท าแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ดังตาราง 9 ตารางที่ 9 วิเคราะห์สัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้ ความคิดรวบยอดและจุดประสงค์การเรียนรู้

แผนการ เรียนรู้ที่

บทที่/เรื่อง

ความคิดรวบยอด

จุดประสงค์การเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

1 1.ความรู้ความหมายและความส าคัญของการเขียนรูป ออบลิก (Oblique) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบรูป

1. รูปออบลิก (Oblique) หมายถึงภาพ 3 มิติที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากันทุกด้าน ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงด้านหน้า ด้านข้างและด้านบน โดยขอบล่างจะตั้งตรงขึ้นในแนวดิ่ง จะด้านข้างเอียง 45 องศากับ แนวระดับเท่ากันด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียวท าให้มองเห็นภาพเหมือนของจริง 2. ภาพออบลิก (Oblique)มีความส าคัญในการใช้จินตนาการจากแนว ความคิดออกมาเป็น

1. บอกความหมายของการเขียนรูป ออบลิก (Oblique) ได้ 2. บอกความส าคัญของการเขียนรูปออบลิก (Oblique)

1 1

Page 5: บทที่ 3

75

ตาราง 9 (ต่อ)

แผนการ เรียนรู้ที่

บทที่/เรื่อง

ความคิดรวบยอด

จุดประสงค์การเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

ออบลิก (Oblique) 3. ลักษณะของรูปออบลิก (Oblique)

ภาพเขียนลงในกระดาษเขียนแบบที่จะน ามาให้ ช่างเฟอร์นิเจอร์จัดสร้างให้ 3. ความรู้ในด้านการเขียนแบบ รูปออบลิก (Oblique) เกี่ยวกับประวัติการเขียนแบบ เครื่องมือเขียนแบบวิธีการเขียนแบบ และ วิวัฒนาการ ในการเขียนแบบ 4.การใช้เครื่องมือในการเขียนแบบ มีวิธีการหรือข้ันตอนในการรายระเอียด ซึ่งมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันของชนิดหรือประเภทเครื่องมือแต่ละประเภท เช่น ไม้ที ใช้ส าหรับขีดเส้นในแนวระนาบดินสอด าหรือไส้ดินสอแต่ละประเภทใช้เขียนภาพหรือขีดเส้นในรูปแบบ ของความหมายที่ต่างกัน

3.ตอบค าถามเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบรูปออบลิก (Oblique). 4. ล าดับขั้นตอนของวิวัฒนาการในงานเขียนแบบได้ 5. บอกวิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบได้ 6. ฝึกใช้เครื่องมือเขียนแบบตาม ใบงานได้ 7. เขียนรูปออบลิก (Oblique) ในลักษณะต่าง ๆ ได้

1 3

2 1.ความรู้ความหมายและความส าคัญของการเขียนรูป ไอโซเมตริก

1. รูปไอโซเมตริก (Isometric)หมายถึงภาพ 3 มิติที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากันทุกด้าน ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงด้านหน้า ด้านข้างและด้านบน โดยขอบล่าง

1. บอกความหมายของการเขียนรูป ไอโซเมตริก (Isometric) 2. บอกความส าคัญ

1

Page 6: บทที่ 3

76

ตาราง 9 (ต่อ)

แผนการ เรียนรู้ที่

บทที่/เรื่อง

ความคิดรวบยอด

จุดประสงค์การเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

(Isometric) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบรูป ไอโซเมตริก (Isometric) 3. ลักษณะของรูปไอโซเมตริก (Isometric)

จะตั้งตรงขึ้นในแนวดิ่ง จะด้านข้างเอียง 30 องศากับ แนวระดับเท่ากันด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียวท าให้มองเห็นภาพเหมือนของจริง 2. ภาพไอโซเมตริก (Isometric)มีความส าคัญในการใช้จินตนาการจากแนว ความคิดออกมาเป็นภาพเขียนลงในกระดาษเขียนแบบที่จะน ามาให้ 3. ความรู้ในด้านการเขียนแบบ รูปไอโซเมตริก(Isometric) เกี่ยวกับประวัติการเขียนแบบ เครื่องมือเขียนแบบ วิธีการเขียนแบบ และวิวัฒนาการ ในการ เขียนแบบ

ของการเขียนรูป ไอโซเมตริก (Isometric) 3.ตอบค าถามเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบรูปไอโซเมตริก (Isometric) 4. ล าดับขั้นตอนของวิวัฒนาการในงานเขียนแบบได้ 5. บอกวิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบได้ 6. ฝึกใช้เครื่องมือเขียนแบบตามใบงานได้

1

1

4.การใช้เครื่องมือในการเขียนแบบ มีวิธีการหรือข้ันตอนในการเขียนรายระเอียด ซึ่งมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันของชนิดหรือประเภทเครื่องมือแต่ละประเภท เช่น ไม้ท ี ใช้ส าหรับขีดเส้นในแนวระนาบ ดินสอด าหรือไส้ดินสอแต่ละประเภทใช้เขียนภาพหรือขีดเส้นที่ต่างกัน

7. เขียนรูปไอโซเมตริก (Isometric) ในลักษณะต่าง ๆ ได้

3

Page 7: บทที่ 3

77

ตาราง 9 (ต่อ)

แผนการ เรียนรู้ที่

บทที่/เรื่อง

ความคิดรวบยอด

จุดประสงค์การเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

3 1.ความรู้ความหมายและความส าคัญของการเขียนรูปทัศนียภาพ (Perspective) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบรูป ทัศนียภาพ (Perspective)

1. รูปทัศนียภาพ (Perspective) หมายถึงภาพ 3 มิติที่มีมุมมอง เสมือนจริงมากท่ีสุดเริ่มโดยการเขียนภาพแบบมองจุดรวมสายตาจุดเดียว มองแบบจุดรวมสองจุดและมองแบบจุดรวมสามจุด 2. การใช้เครื่องมือในการเขียนแบบ มีวิธีการหรือข้ันตอนในรายละเอียด ซึ่งมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันของชนิดหรือประเภทของเครื่องมือแต่ละประเภท เช่น ไม้ที ใช้ส าหรับขีดเส้นในแนวระนาบ ดินสอด าหรือไส้ดินสอแต่ละประเภทใช้เขียนภาพหรือขีดเส้นที่ต่างกัน

1. บอกความหมายของการเขียนภาพทัศนียภาพ (Perspective) 2. สามารถเขียนเส้นได้ตามชี้แนะ เช่น เส้นเบา เส้นหนัก

1 1

3. ลักษณะของรูปทัศนียภาพ (Perspective)

3. ลักษณะของรูปทัศนียภาพ (Perspective) มีมุมมองที่แตกต่างกันออกไป เช่น ระดับสายตา ระดับสูงกว่าสายตา ระดับต่ ากว่า สายตา

3.สามารถเลือกใช้เครื่องมือได้อย่างเหมาะสมตามชนิดของชิ้นงาน 4. สามารถเขียนภาพทัศนียภาพ (Perspective) ลักษณะมุมที่แตกต่างกันได้

1 3

Page 8: บทที่ 3

78

ตาราง 9 (ตอ่)

แผนการ เรียนรู้ที่

บทที่/เรื่อง

ความคิดรวบยอด

จุดประสงค์การเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

4 1.ความรู้ความหมายและความส าคัญของการเขียนแบบภาพฉาย (Orthographic) 2. วิธีการใช้เครื่องมือในการเขียนแบบภาพฉาย (Orthographic)

1. การเขียนภาพฉายเป็นการเขียนภาพสองมิติที่มองเห็นเพียงด้าน ใดด้านหนึ่งของภาพสามมิติ (Pictorial) แล้วน าภาพแต่ละด้านมาจัดเรียงให้อยู่ในระบบของการมองภาพฉายที่เปน็มาตรฐาน สากล 2. การเขียนภาพฉายที่ถูกต้อง แม่นย่ า และรวดเร็ว จะต้อง ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการเขียนแบบ และการเลือกใช้เครื่องมือจึงเป็นสิ่งส าคัญอย่างมาก

1. สามารถบอกลักษณะของภาพด้านต่าง ๆได้ เช่น ด้านหน้า (Front view) ด้านข้าง (Side view) ด้านบน (Top view) 2. สามารถเขียนภาพฉายด้านต่าง ๆ ได้ เช่น ด้านหน้า (Front view) ด้านข้าง (Side view) ด้านบน (Top view) ได้ถูกต้อง

1

2

3. ลักษณะของภาพฉาย (Orthographic)

3. ลักษณะของภาพฉาย (Orthographic)เป็นภาพที่มองในรูปของภาพสองมติ เพ่ือช่วยให้รายระเอียดของภาพสามมิติ (Pictorial) มีความชัดเจนยิ่งขึ้น

3. สามารถอ่านและเขียนภาพฉายด้านต่าง ๆได้ เช่น ด้านหน้า (Front view) ด้านข้าง (Side view) ด้านบน (Top view) ได้ถูกต้อง

3

รวม 24

Page 9: บทที่ 3

79

1.5 จัดท าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรือ่ง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 4 แผน 1.6 น าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เสนออาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือตรวจสอบจุดประสงค์ เนื้อหา สื่อ ความเหมาะสม และการประเมินผล แก้ไขปรับปรุงตามท่ีเสนอแนะ ดังนี้ ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับความชัดเจนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ครูผู้สอน กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมระหว่างผู้สอนกับนักเรียน 1.7 น าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เสนอผู้เชี่ยวชาญ เพ่ือตรวจสอบจุดประสงค์ เนื้อหา สื่อ ความเหมาะสม และการประเมินผล เพ่ือแก้ไขปรับปรุงตามที่เสนอแนะ ดังนี้ แก้ไขปรับปรุงเกี่ยวกับการให้คะแนนของใบงานเพ่ือตรวจเป็นผลงานนักเรียน และให้เพ่ิมขั้นตอนเกี่ยวกับ การปฏิบัติให้ชัดเจนเหมาะสมกับเวลา ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร ซึ่งมีความรู้ มีความชัดเจนในเนื้อหาและการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วย 1) อาจารย์ ระพิน สุวรรณมุข ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน กศ.ม. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษายโสธรเขต 2 2) อาจารย์ คณภัทร บุญศรี หัวหน้ากองช่างเทศบาลต าบลกุดชุมพัฒนา วศ.บ. วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เชี่ยวชาญด้านการเขียนแบบและออกแบบ 3) อาจารย์ ยิ่งยศ บุญยิ่ง ศึกษานิเทศก์ช านาญการ สาขาวิชา วัดผลประเมินผล กศ.ม. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษายโสธรเขต 2 1.8 ปรับปรุงตามค าแนะน า ก่อนน าไปให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน ประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยใช้เกณฑ์ของลิเคอร์ท (Likert) (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 102) ดังนี้ 5 หมายถึง ถูกต้อง/เหมาะสม/สอดคล้อง มากท่ีสุด 4 หมายถึง ถูกต้อง/เหมาะสม/สอดคล้อง มาก 3 หมายถึง ถูกต้อง/เหมาะสม/สอดคล้อง ปานกลาง 2 หมายถึง ถูกต้อง/เหมาะสม/สอดคล้อง น้อย 1 หมายถึง ถูกต้อง/เหมาะสม/สอดคล้อง น้อยที่สุด 1.9 น าแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เชี่ยวชาญประเมินมาหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทุกแผน โดยยึดเกณฑ์ความเหมาะสมค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป เมื่อเทียบกับเกณฑ์แปลความหมาย ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 103)

Page 10: บทที่ 3

80

เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนน

ค่าเฉลี่ย ระดบัความคิดเห็น 4.51 – 5.00 มีความเหมาะสมมากท่ีสุด 3.51 – 4.50 มีความเหมาะสมมาก 2.51 – 3.50 มีความเหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 มีความเหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ปรากฏว่าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.51 อยู่ในเกณฑ์มีความเหมาะสมมากที่สุด ดังแสดงในตาราง 14 (ภาคผนวก ข : 137 – 139) 1.10 น าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง เขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่แก้ไขแล้วไปทดลองใช้ (Try – out) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/4 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร จ านวน 35 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 1.11 น าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์เพ่ือน าไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียน กุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร จ านวน 33 คน ต่อไป 2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนแบบสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แบบเลือกตอบจ านวน 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ มีขั้นตอนด าเนินการดังนี้

2.1 ศึกษาเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้จากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนแบบสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2.2 ศึกษาวิธีสร้างข้อสอบแบบปรนัย แบบเลือกตอบจ านวน 4 ตัวเลือก จากหนังสือเทคนิคการสอน และรูปแบบการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ วิชาคณิตศาสตร์เบื้องต้น (สมนึก ภัททิยธนี. 2547 : 7 – 28) 2.3 สร้างแบบทดสอบจ านวน 50 ข้อ เพ่ือจะเลือกไว้ใช้จริง 30 ข้อ ดังแสดงใน ตาราง 17 (ภาคผนวก ง : 143 – 164)

Page 11: บทที่ 3

81

2.4 น าแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือพิจารณาเนื้อหา ความเหมาะสม ความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และข้อค าถามครอบคลุมเนื้อหา แล้วแก้ไขปรับปรุงตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาเสนอแนะ ดังนี้ ปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบเกี่ยวกับ ข้อค าถามให้กระชับเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ตัดตัวเลือกที่มีความหมายซ้ าซ้อนและปรับปรุงแก้ไขตัวเลือกใหม่ ในบางข้อ 2.5 น าแบบทดสอบที่ปรับปรุงตามท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาข้อเสนอแนะเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหากับจุดประสงค์การเรียนรู้ ความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และแก้ไขตามค าแนะน าของ โดยใช้เกณฑ์ให้คะแนน ดังนี้ (สมนึก ภัทธิยธนี. 2546 : 218 – 220) ให้คะแนน 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้

ให้คะแนน 0 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้ ให้คะแนน –1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้

2.6 น าแบบทดสอบจ านวน 50 ข้อ ที่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญและปรับปรุงแก้ไขตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะน า ดังนี้ ปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบบางข้อที่มีความถูกผิดที่เห็นชัดเกินไป แล้วมาวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามของแบบทดสอบกับ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ผลการประเมินพบว่า แบบทดสอบมีค่า IOC เท่ากับ 1.00 ทุกข้อ ดังแสดง ในตาราง 16 (ภาคผนวก ค : 140 – 142) 2.7 น าแบบทดสอบที่แก้ไขปรับปรุงแล้วจ านวน 50 ข้อ ไปทดลองกับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร จ านวน 35 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง หลังจากทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนแบบสามมิติ (Pictorial) เรียบร้อยแล้ว โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objective Congruence) (สมนึก ภัทธิยธนี. 2546 : 220) เลือกข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 – 1.00 เป็นข้อสอบที่อยู่ในเกณฑ์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาที่ใช้ได้ ผลการประเมินพบว่า แบบทดสอบมีค่า IOC เท่ากับ 1.00 ทุกข้อ ดังแสดงในตาราง 16 (ภาคผนวก ค : 140 – 142) 2.8 น ากระดาษค าตอบของนักเรียนมาตรวจให้คะแนน ข้อถูกได้ 1 คะแนน ข้อผิด หรือไม่ตอบหรือตอบเกิน 1 ข้อเลือกได้ 0 คะแนน แล้วน าแบบทดสอบไปหาค่าอ านาจจ าแนก (B) ตามวิธีการกูดแมน , เฟลทเชอร์ และชไนเดอร์ (เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภัททิยธนี. 2545 : 31)

Page 12: บทที่ 3

82

ซึ่งมีค่าระหว่าง 0.20 – 1.00 คัดเลือกแบบทดสอบที่มีค่าค่าอ านาจจ าแนก (B) ระหว่าง 0.22 – 0.58 จ านวน 30 ข้อ ข้อ ดังแสดงในตาราง 18 (ภาคผนวก จ : 165 – 167) 2.9 น าแบบทดสอบจ านวน 30 ข้อที่เลือกไว้มาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้วิธีของโลเวท (Lovett Method) โดยน าแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ฉบับเดียวไปทดสอบกับนักเรียน กลุ่มเดียว เพียงครั้งเดียว (สมนึก ภัทธิยธนี. 2549 : 230) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ทัง้ฉบับ เท่ากับ 0.80

2.10 จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ เพ่ือใช้ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับ กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม ฃจังหวัดยโสธร จ านวน 33 คน ต่อไป

3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแลโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ(Direct Instruction) เรื่อง การเขียนแบบสามมิติ (Pictorial) 3.1 ศึกษาทฤษฎีและวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียน ซึ่งเป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามข้ันตอนดังนี้ 3.2 ศึกษาข้อความท่ีแสดงความพอใจ และสร้างแบบสอบถามจ านวน 20 ข้อ เป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ 5 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด 4 หมายถึง พึงพอใจมาก 3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง พึงพอใจน้อย 1 หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด 3.3 น าแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่สร้างขึ้น 20 ข้อ พร้อมค าศัพท์นิยามเฉพาะเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือพิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง และปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง ดังนี้ ปรับปรุงแก้ไขข้อค าถามของแบบสอบถามความพึงพอใจบางข้อให้เกี่ยวข้องกับผู้เรียน โดยเน้นที่กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นส าคัญ 3.4 น าเสนอแบบสอบถามที่สร้างข้ึนพร้อมค าศัพท์นิยามเฉพาะเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 3 ท่านชุดเดิม เพ่ือประเมินความเที่ยงตรงและครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี้

Page 13: บทที่ 3

83

ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นเป็นตัวแทนลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรมที่ระบุไว้ ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นเป็นตัวแทนลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรมที่ระบุหรือไม่ ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นไม่เป็นตัวแทนลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรมที่ระบุไว้ 3.5 น าคะแนนที่ได้จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความพึงพอใจ (IC) เลือกข้อค าถามที่มีค่าระหว่าง 0.50 – 1.00 เป็นข้อค าถามที่อยู่ในเกณฑ์ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาที่ใช้ได้ (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540 : 117) ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 ทุกข้อ พร้อมทั้งปรับปรุงแก้ไขตามที่เสนอแนะเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของภาษา ดังแสดงในตาราง 19 (ภาคผนวก ช : 178 – 180) 3.6 น าแบบสอบถามที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้วจ านวน 20 ข้อ ไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร จ านวน 35 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 3.7 วิเคราะห์หาค่าอ านาจจ าแนกรายข้อ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์รายข้อกับคะแนนรวม (Item total Correlation) โดยใช้สูตรสัมพันธ์อย่างง่ายของเปียร์สัน (สมบัติ ท้ายเรือค า. 2551 : 111 – 114 ) คัดเลือกข้อค าถามของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.26 – 0.65 ได้แบบสอบถามจ านวน 16 ข้อ ดังแสดงในตาราง 20 (ภาคผนวก ฌ : 185 – 187 ) 3.8 น าแบบสอบถามความพึงพอใจที่หาค่าอ านาจจ าแนกแล้ว จ านวน 16 ข้อ วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้วิธีการหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient) หรือการหาค่าความสอดคล้องภายในของแบบวัดตามวิธีของ ครอนบาค (Cronbach) มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.85

3.9 พิมพ์เป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพ่ือน าไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร จ านวน 33 คน ต่อไป

Page 14: บทที่ 3

84

4. วิธีด าเนินการทดลอง การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง (The single , pretest – posttest Design) ประกอบด้วย กลุ่มทดลองเพียงกลุ่มเดียว มีการวัดผลก่อนการทดลอง ( 1T ) หลังจากการจัดกระท าตามโปรแกรม (X) แล้ว มีการวัดผลหลังการทดลอง ( 2T ) (ประวิต เอราวรรณ์. 2551 : 38 – 39) ดังตาราง 10 ตาราง 10 แผนการทดลองแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว

กลุ่มทดลอง( XE ) Pretest Treatment Posttest

1T X 2T ในการเขียนผังการทดลองขอใช้สัญลักษณ์เพ่ือสื่อความหมายดังต่อไปนี้ XE = การทดลอง 1T = การวัดผลก่อนการทดลอง (Pretest) X = การจัดกระท าตามการทดลอง (Treatment) 2T = การวัดผลหลังการทดลอง (Posttest) 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลตามล าดับขั้น ดังนี้ 5.1 เก็บข้อมูลจากคะแนนทดสอบก่อนเรียน 5.2 เก็บข้อมูลจากผลงาน และแบบทดสอบระหว่างเรียน 5.3 เก็บข้อมูลจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจ านวน 30 ข้อ 5.4 เก็บข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน

Page 15: บทที่ 3

85

6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 6.1 สถิติที่ใช้หาคุณภาพเครื่องมือการทดสอบหาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตรดัชนีสอดคล้อง IOC (Index of Item Objective Congruence) (สมนึก ภัททิยธนี. 2549 : 220) ดังนี้ 6.1.1 หาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC

IOC = N

R

เมื่อ IOC แทน ดัชนคีวามสอดคล้องระหว่างผลการเรียนที่คาดหวัง กับสาระหรือระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง R แทน ผลรวมระหว่างความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จ านวนผู้เชีย่วชาญทั้งหมด

6.1.2 การวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อแบบอ้างอิงเกณฑ์ มักจะกล่าวถึงลักษณะ ด้านความยากและอ านาจจ าแนก แต่ข้อแบบอ้างอิงเกณฑ์เป็นข้อสอบที่เน้นความสามารถในการวัดตามจุดประสงค์นั้นอย่างแท้จริง แม้จะเป็นข้อที่ง่ายหรือยากก็ถือเป็นข้อสอบที่ไม่มีค่าความยาก จึงไม่ได้น ามาชี้ถึงคุณภาพและไม่ได้น ามาเป็นเกณฑ์ส าคัญในการคัดข้อสอบ สิ่งที่ส าคัญคือ ค่าอ านาจจ าแนก (สมนึก ภัทธิยธน.ี 2549 : 214)

การหาค่าอ านาจจ าแนก จากผลการทดสอบครั้งเดียว (หลังสอบ) เป็นวิธีหาค่าอ านาจ จ าแนกของข้อสอบ ที่เสนอโดยเบรนแนน (Brennan) ค่าอ านาจจ าแนก ที่หาค่าโดยวิธีนี้เรียกว่า ดัชนี (B – Index หรือ Brennan) โดยใช้สูตร ดังนี้

B = 1 2

U L

N N

เมื่อ B แทน ค่าอ านาจจ าแนก U แทน จ านวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์ท่ีตอบถูก

Page 16: บทที่ 3

86

L แทน จ านวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก 1N แทน จ านวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์ 2N แทน จ านวนผู้ไม่รอบรู้หรือไม่สอบผ่านเกณฑ์ 6.1.3 หาค่าความเชื่อมั่นใช้วิธีของโลเวท (Lovett Method) โดยน าแบบทดสอบแบบ อิงเกณฑ์ฉบับเดียวไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มเดียว เพียงครั้งเดียว (สมนึก ภัทธิยธนี. 2549 : 230) ใช้สูตรดังนี้

2

2ccK X - Xi ir =1- (K -1) (X - C)i

เมื่อ ccr แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ K แทน จ านวนข้อของแบบทดสอบทั้งฉบับ Xi แทน คะแนนสอบของนักเรียนแต่ละคน

C แทน คะแนนตัดจุด 6.2 สถิติพ้ืนฐาน 6.2.1 ร้อยละ (Percentage) โดยใช้สูตร ดังนี้ (สมนึก ภัทธิยธน.ี 2549 : 260)

P = N

f 100

เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่หรือคะแนนทีต่้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จ านวนความถี่ทั้งหมดหรือคะแนนเต็ม

6.2.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยใช้สูตร ดังนี้ (ประวิต เอราวรรณ์ และ นุชวนา เหลืองอังกูร. 2550 : 29)

=

Page 17: บทที่ 3

87

เมื่อ แทน ค่าตัวกลางเลขคณิต หรือค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จ านวนสมาชกิในกลุ่มตัวอย่าง 6.2.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตร ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2549 : 250)

S =

22N

N N 1

เมื่อ S แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม แทน ผลรวม 6.2.4 การหาค่าประเมินของแผนการสอนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct instruction) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพ สามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ 80/80 (เผชิญ กิจระการ. 2544 : 49 – 50) ดังนี้

Process 1E =

N ×100A

เมื่อ 1E แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ แทน คะแนนการวัดกระบวนการเรียนรู้ทุกชุดรวมกัน กับการประเมินกิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ A แทน คะแนนเต็มการวัดกระบวนการเรียนรู้ทุกแผนรวมกัน N แทน จ านวนนักเรียน

Page 18: บทที่ 3

88

Process 2E = Y

N ×100B

เมื่อ 2E แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ Y แทน คะแนนรวมของการทดสอบหลังเรียนและประเมิน กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ B แทน คะแนนเต็มการทดสอบหลังเรียน N แทน จ านวนนักเรียน 6.3 การหาค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index : E.I.) โดยใช้สูตรตามวิธีการของ Goodman และ Schnieider (สมนึก ภัททิยธนี และ เผชิญ กิจระการ. 2545 : 31 – 32) ดังนี้ 6.4 สถิติที่ใช้หาคุณภาพเครื่องมือการทดสอบหาความเที่ยงตรง ของแบบสอบถาม ความพึงพอใจ 6.4.1 ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับพฤติกรรมความพึงพอใจ ด้วยการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้สูตรดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือค า. 2551 : 107 – 108)

RIOC = N

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับพฤติกรรมเป้าหมาย R แทน ผลรวมคะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญ

ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน – ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน (คะแนนเต็ม จ านวนนักเรียน) – ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน

Page 19: บทที่ 3

89

6.4.2 ค่าอ านาจจ าแนกของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) ชั้นมัธยมปีที่ 2 โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์สัมพันธ์อย่างง่ายของเปียร์สัน (Pearson) (สมบัติ ท้ายเรือค า. 2551 : 111 – 114)

xy2 2

r

2 2-N XY X Y

N X - X N Y - Y( ) ( )

( ) ( )[ ][ ]

เมื่อ xyr แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

N แทน จ านวนนักเรียน XY แทน ผลบวกของผลคูณคะแนนครั้งแรกและครั้งที่สองเป็นคู่ ๆ X แทน ผลบวกของคะแนนสอบครั้งแรก Y แทน ผลบวกของคะแนนสอบครั้งที่สอง 2X แทน ก าลังสองของคะแนนครั้งแรก 2Y แทน ก าลังสองของคะแนนครั้งที่สอง

6.4.3 การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) โดยใช้วิธีของครอนบาค (สมบัติ ท้ายเรือค า. 2551 : 114) ใช้สูตรดังนี้

2

i

2

i

11

Sk

k S

เมื่อ แทน ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อม่ัน

K แทน จ านวนข้อ

2

iS แทน ผลรวมของความแปรปรวนรายข้อ 2

iS แทน ความแปรปรวนรวม