6
ปญหาและอุปสรรคการใชสารการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 1 นายธงชัย สิงอุดม 2 ( พธ.บ.,ศศ.ม.) พระมหาจักพรรณ มหาวีโร (พธ.บ., M.A.Bud.,MA.Phi,Ph.D.Phi. ) พระมหาลิขิต รตนรํสี ( พธ.บ.,กศ.ม. ) บทคัดยอ เรื่อง การศึกษาปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชันที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดวัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรู พระพุทธศาสนา และ เพื่อการเปรียบเทียบปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 ของผูบริหารและครูผูสอน ซึ่ง จําแนกตําแหนง หนาทีและประสบการณทํางาน และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่ตอการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช vv2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 สําหรับ การวิจัยเรื่องนีใชระเบียบวิจัยประยุกตและการพรรณนา ปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 สําหรับกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือบริหาร ครูสอนและ นักเรียนทั้งเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 จํานวน 433 คน โดยมีผลการศึกษาพอสรุปไดดังนีจากการศึกษาขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 นั้น โดยภาครวม พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง เรียงลําดับอุปสรรคปญหาจากมากไปหานอยดังนี1) ดานสื่อและการเรียนรู 2) ดานการวัดและประเมินผล 3) ดานการจัดการเรียนรู 4) ดานเนื้อหาของหลักสูตร ผลการเปรียบเทียบขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคการใชสาระเรียนรู พระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชวงชั้นที4 จําแนกตามตําแหนงหนาที่โดยภาพรวมและรายดาน พบวาผูบริหารและครูผูสอนที่มีตําแหนงหนาที่แตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคไมแตกตางกัน อยางมี วินัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 3 สวนจําแนกตามประสับการณในการทํางาน โดยภาพรวมหลายดาน พบวา ผูบริหารและครูผูสอนที่มี ประสบการณในการทํางานแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคไมแตกตางกัน อยางมีวินัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 1 บทความนีสรุปจากงานวิจัยเรื่อง ปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นการศึกษาเลย เขต 1 พ.ศ.2549 2 อาจารยประจําวิทยาลัยสงฆเลย สํานักงานบริหารทั่วไป ภาควิชาหลักสูตรและการสอนและภาควิชาปรัชญาศาสนา วิทยาลัยสงฆเลย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สวนจําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยภาพรวมและรายดานพบวาผูบริหารและครูผูสอนที่มีประสบการณในการ ทํางานแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุประสรรคไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ปญหาและอุปสรรคการใชสารการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Embed Size (px)

Citation preview

ปญหาและอุปสรรคการใชสารการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4

ในโรงเรียนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 11

นายธงชัย สิงอุดม2 ( พธ.บ.,ศศ.ม.) พระมหาจักพรรณ มหาวีโร

(พธ.บ., M.A.Bud.,MA.Phi,Ph.D.Phi. ) พระมหาลิขิต รตนรํสี ( พธ.บ.,กศ.ม. )

บทคัดยอ

เรื่อง การศึกษาปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

2544 ชวงชันที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดวัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา และ เพื่อการเปรียบเทียบปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 ของผูบริหารและครูผูสอน ซึ่งจําแนกตําแหนง หนาที่ และประสบการณทํางาน และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่ตอการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช vv2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 สําหรับการวิจัยเรื่องน้ี ใชระเบียบวิจัยประยุกตและการพรรณนา

ปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 สําหรับกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือบริหาร ครูสอนและนักเรียนทั้งเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 จํานวน 433 คน โดยมผีลการศึกษาพอสรุปไดดังนี้

จากการศึกษาขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 นั้น โดยภาครวมพบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง เรียงลําดับอุปสรรคปญหาจากมากไปหานอยดังนี้

1) ดานสื่อและการเรียนรู 2) ดานการวัดและประเมินผล 3) ดานการจัดการเรียนรู 4) ดานเนื้อหาของหลักสูตร

ผลการเปรียบเทียบขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับปญหาและอุปสรรคการใชสาระเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชวงชั้นที่ 4 จําแนกตามตําแหนงหนาที่โดยภาพรวมและรายดาน

พบวาผูบริหารและครูผูสอนที่มีตําแหนงหนาที่แตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคไมแตกตางกัน อยางมีวินัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 3 สวนจําแนกตามประสับการณในการทํางาน โดยภาพรวมหลายดาน พบวา ผูบริหารและครูผูสอนที่มีประสบการณในการทํางานแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคไมแตกตางกัน อยางมีวินัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

1บทความนี้ สรุปจากงานวิจัยเรื่อง ปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสาํนักงานเขตพื้นการศึกษาเลย เขต 1 ป พ.ศ.2549

2อาจารยประจําวิทยาลัยสงฆเลย สํานักงานบริหารทั่วไป ภาควิชาหลักสูตรและการสอนและภาควิชาปรัชญาศาสนา วิทยาลัยสงฆเลย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวทิยาลัย

สวนจําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยภาพรวมและรายดานพบวาผูบริหารและครูผูสอนที่มีประสบการณในการ

ทํางานแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุประสรรคไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สวนขอมูลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจักการเรียนรู สาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา โดยภาพรวมพบวา มีความคิดเห็นตอสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงลําดับความคิดเห็นจากมากไปหานอย 3 ลําดับ แรกดังนี้

1. ควรมีพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนทุกแหง 2. นักเรียนควรเขารวมกิจกรรมการเรียนรูสาระพระพุทธศาสนาเชนวันสําคัญตางๆทางการพุทธศาสนา

3. นักเรียนเจตคติที่ดีตอการเรียนพระพุทธศาสนา สําหลับแนวทางในการใหแกปญหาการศึกษาปญหาและอุประสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตร

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 นั้น พบวา มีความตองการใหผูมีอํานาจเกี่ยวกับหลักสูตร ใหเห็นความสําคัญในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหมากกวานี้ และใหมีความสอดคลองและจัดเจน ซึ่งปจจุบัน หลักสูตรมีเนื้อหามาก ซับซอน เขาใจยาก สวนสื่อการสอนซึ่งมีความสําคัญไมนอยกวากันเลย กลับไมคอยมีสื่อที่สอดคลองและชัดเจน ถัดมาดานการวัดและประเมินผลปรากฏวา น้ําหนักหรือคาคะแนนดูจะใหความสําคัญนอยมาก ไมสมดุลลงไปดวย กับเนื้อหานักเรียน จึงใหความสนใจนอยและลดความสําคัญลงไปดวยผูมีอํานาจในการสรางหลักสูตรหรือคณะกรรมการจึงควรเห็นความสําคัญทั้งน้ําหนักคาคะแนนใหสอดคลองกับเนื้อหา สวนดานการจัดการเรียนรูนั้นเปนหนาที่ของผูบริหารและครูผูสอนควรคํานึงถึงบรรยากาศ และสภาพแวดลอมใหมากและใหดีโดยอาจจัดการเรียนการสอนใหมีครูพระสอนศีลธรรมมีสวนรวม หรือมารวมสอนในโรงเรียนเพื่อบรรยากาศที่ดี ใกลชิด สนทนาธรรมในชีวิตประจําวัน เพื่อกอใหเกิดทักษะและนําไปใชในการดํารงชีวิตไดอยางมีประสิทธิผล

บทนํา

สถานศึกษา อันประกอบดอยผูบริหาร ครู นักเรียน รวมถึงบุคลากรในวงการการศึกษา ตลอดจนชุมชนและสังคมทั้งหมดซึ่งถือเปนกัลยาณมิตรที่จะชวยกันชักนําสงเสริม กลอมเกลาใหนักเรียนเยาวชนไดใชกลไกแหงโยนิโสมนสิการความรูความคิดของตนขับเคลื่อนตัวเองใหกาวไปวิถีพุทธวิถีธรรมแหงไตรบรูณาการผานโดยมีสติเปนตัวยึดหรือจุดยืน ความมีสติสูความเปนมนุษยที่สมบูรณผูมีสังคมมนุษย ผูมีชีวิที่ดีงานรวมและสรางสรรคสังคม3 สังคมเปนสิ่งที่สังคมมีโอกาสใกลชิดกับสิ่งลําคาของสิ่งมนุษยชาติ สิ่งนั้นก็คือ “พุทธศาสนา”พระพุทธศาสนามีระบบการดําเนินชีวิต ระบบการปฏิบัติการศึกษาการพัฒนา “กิน อยู ดู ฟง เปน” โดยยึดหลักการพัฒนาผูเรียนดังกลาวขางตนและขั้นตอน ทั้ง ชุมชนและครอบครัวและโรเรียน ผูเรียนหรือนักเรียน จึงซึมซับและเกิดทักษะอันกอประโยชนใหเปน คนเกง คนดี และมีความสุข

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ จึงมีความสนใจอยากศึกษาปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสตรูการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 เพื่อจะไดเปนแนวทางในการจัดการการสอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและถือเปนแนวทางปฏิบัติการเรียนรูพระพุทธศาสนา โดยเนนการดําเนินพัฒนา คือนักเรียนของสถานศึกษาอันเปนการพัฒนาตามระบบไตรสิกขาที่เปนลักษณะบูรณาการทั้งในกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตร และกิจกรรมวิถีชีวิตแบบวัฒนธรรมเมตาอยางมีสติเปนจุดยืน และการกระทําในลักษณะ “การกิน อยู ฟง ใหเปน” 4 การพัฒนาและทักษะก็จะกอประโยชนสุขแกผูเรียนหรือผูถือปฏิบัติอยางแนนอน

ดังนั้น การศึกษาปญหาและอุปสรรค การใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 นั้น จําเปนตองศึกษาเรื่องนี้ใหชัดเจนตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูสาระพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1

3สิริกร มณีรินทร ดร. แนวทางดําเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ. ปฐมบท. สํานักพัฒนานวัตกรรมการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ 4 พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต) อางแลวหนา 4

วิธีการวิจัย การรวบรวมขอมูลจากเอกสารและภาคสนาม โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือ ประชากร (peoplelation) ที่ใชใน

การวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน ในโรงเรียนที่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 จํานวนทั้งหมด 6,248 คน สวนกลุมตัวอยางที่เปนผูบริหาร ครูผูสอนใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง (purspot ) โดยเลือกแตละโรงเรียน ประกอบดวยผูบริหาร และรองผูบริหาร จํานวน 2 คน และครูผูสอน จํานวน 2 คน สวนกลุมตัวอยางที่เปนนักเรียน ใชขนาดของกลุมตัวอยางตามตาราง เครซี่และมอแกน (Krezie and Morhan) ใชวิธีสุมอยางงาย (Sample random sampling ) โดยวิธีการจับฉลากใหไดจํานวนที่ครบตามสัดสวนที่กําหนดไว กลุมตัวอยางไดจําแนกเปน - ผูบริหารโรงเรียน จํานวน 36 คน ครูผูสอนจํานวน 36 คน สวนนักเรียนจํานวน 361 คน รวมทั้งสิ้น 433 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถาม ไดแบงเปน 2 ฉบับ

ฉบับที่ 1 สําหรับผูบริหารและครูผูสอน มี 2 ตอน ตอนที่ 1 สอบถามเก่ียวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist ) สอบถามเกี่ยวกับตําแหนงหนาที่ วุฒิการศึกษา ประสบการณในการทํางาน

ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 แบบสอบเปนแบบมาตราสวนประมาณคา ชนิด 5 ระดับของลิเคิรท ( Likest ’ line rating & cale )

ฉบับที่ 2 สําหรับนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 แบงออกเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพ แบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ สอบถามเกี่ยวกับ

เพศ และกําลังเรียนชั้น ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตาม

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 แบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคาชนิดระดับของลิเคิรท แบบเดียวกับการใชสําหรับผูบริหารและครูผูสอน การวิเคราะหขอมูลโดยการใชการหาคาความถี่ ( Frequency ) และหาคารอยละ ( Percentage ) แลวนําเสนอเปนตารางประกอบความเรียงทายตาราง และการวิเคราะหโดยการหาคาเฉลี่ย ( Mean ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard deviation ) เปนรายดาน และรายขอ นําเสนอเปนตารางประกอบความเรียงทายตาราง

ผลการวิจัย ผลการศึกษาขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรค การใชสาระการเรียนรู

พระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 โดยภาพรวมพบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง เรียงลําดับปญหาและอุปสรรคจากมากไปหานอย มีดังนี้

1) ดานสื่อและแหลงการเรียนรู 2) ดานการวัดและประเมินผล 3) ดานการจัดการเรียนรู 4) ดานการศึกษาตามหลักสูตร ผลการเปรียบเทียบขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับปญหาและอุปสรรคการใชสาระการเรียนรู

พระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 จําแนกตามตําแหนงหนาที่ โดยภาพรวมและรายตนพบวา ผูบริหารและครูผูสอนที่มีตําแหนงหนาที่แตกตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการเปรียบเทียบขอมูลความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนที่มีประสบการณในการทํางานแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนผลการศึกษาขอมูลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา โดยภาพรวม พบวา มีความคิดเห็นตอสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาอยูในระดับปานกลาง เพื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงลําดับความคิดเห็นจากมากไปหานอย มี 3 ลําดับแรก ดังน้ี 1) ควรมีครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนทุกแหง 2) นักเรียนควรเขารวมกิจกรรมการเรียนรู

สาระพระพุทธศาสนา เชน การฟงเทศน การสนทนาธรรม วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา 3) นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา

นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 มีความตองการในภาพรวมที่จะใหผูมีอํานาจได เสริมสราง ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในดานสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาใหเหมาะสม เนื้อหาไมยาก และสับสนไมสอดคลองกับน้ําหนักคาคะแนนในดานการวัดและประเมินผล สําหรับสื่อและแหลงการเรียนรู ยิ่งเปนสิ่งที่สําคัญมาก เนื่องจากหาสื่อที่เขาใจงายแบบรูปธรรมนอยมาก สวนใหญจะเปนหลักสูตรเนื้อหามาก สับสน เขาใจยาก รวมถึงกิจกรรมตาง ๆ ในทางพระพุทธศาสนานาน ๆ จะมีครั้งหนึ่ง ทางสถาบันการศึกษาควรจัดชมรม การมีสวนรวมและการปฏิบัติธรรม (นั่งสมาธิ) ขณะมาเรียน จะเพิ่มทักษะและความมั่นใจใหแกผูเรียน

วิจารณ ผูบริหาร ครูผูสอนและนักเรียน ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1 จังหวัดเลย สวนใหญการ

จัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู พระพุทธศาสนา ไดบริหารการจัดการเรียนการสอนตามสัดสวนเวลา สาระวิชาทั้ง 8 กลุมสาระ เพื่อการบริหารเวลาเปนไปตามกําหนดหรือขอบเขตของเวลา แตตามปรากฏการณจริงแลว การเรียนรูโดยการกระทํา เพื่อองคความรู ทักษะและคติ เปนแนวทางที่ควรคํานึงและปฏิบัติ แตสังคมไทยเราสวนใหญเปน “พุทธศาสนิกชน” พระพุทธศาสนามีระบบวัฒนธรรมเมตตา และระบบวัฒนธรรมปญญา ที่จะสรางสรรคใหเยาวชนเปนคนดีของสังคม ดังนั้น สถาบันการศึกษาจึงควรใหน้ําหนักหรือตระหนักถึงหลักพุทธธรรม ที่จะขัดเกลา กลอมเกลานิสัย อุปนิสัย ของเยาวชนใหเปนคนมีคุณธรรม จริยธรรม และมโนธรรม ในการดํารงวิถีชีวิตอยางมีความสุข เพราะพระพุทธศาสนามีทั้งระบบการศึกษา ระบบการดําเนินวิถีชีวิตที่ดีงามและชัดเจน สถาบันการศึกษาจึงควรมองเห็นความสําคัญในจุดนี้ การใหนักเรียนมีคุณธรรมมีสติไมประมาทในการดํารงชีวิต – การครองตน มีคุณธรรมคติ คือ ความอดทน ขยันหมั่นเพียรและคบเพื่อนที่ดี คุณธรรมเหลานี้เปนสิ่งที่สถาบันการศึกษาควรจะปลูกฝงใหเกิดมีขึ้นในเยาวชนคนเยาววัยตอโลก แตทันโลกทันเหตุการณในสังคมโลกาภิวัตน และใหสอดคลองกับสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา

บรรณานุกรม

การศาสนา,กรม. การพัฒนาสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมประชาชนประจําป 2550 นํามิติศาสนาสูวิถีชีวิตที่มั่นคงเพื่ออนาคตที ่

มั่นคง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, 2550.

เขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1, สํานักงาน. เอกสารหมายเลข 1/2549 อัตรากําลังขาราชการครู. 2549.

ธวัชชัย ชัยจริฉายากุล. การพัฒนาหลักสูตรจากแนวคิดสูปฏิบตั.ิ ภาควิชาศึกษาศาสตร, มหาวิทยาลัยมหิดล, 2527.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2527.

บุญเรือง ขจรศิลป. วิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ฟสิกสเซ็นเตอร, 2530.

พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). แนวทางการดําเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ. สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2546.

วิชาการ, กรม. การจัดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546.

วิชาการ, กรม. หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, 2544.