2
บ้านเขาวอ หมู่ที่ 1 บ้านคลองขนาน หมู่ที่ 10 บ้านหนองสิต หมู่ที่ 2 บ้านวัดเหนือ หมู่ที่ 11 บ้านวัดใหญ่ หมู่ที่ 3 บ้านคลองกก หมู่ที่ 12 บ้านเขาชก หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งขุนพรหม หมู่ที่ 13 บ้านช่องสะท้อน หมู่ที่ 5 บ้านควนเหนือ หมู่ที่ 14 บ้านห้วยหอย หมู่ที่ 6 บ้านห้วยนาค หมู่ที่ 15 บ้านทุ่งค้อ หมู่ที่ 7 บ้านทับวัง หมู่ที่ 16 บ้านสถานีเก่า หมู่ที่ 8 บ้านห้วยตาสิงห์ หมู่ที่ 17 บ้านทุ่งควน หมู่ที่ 9 บ้านเขาเกรียบ หมู่ที่ 18 5. ระบบอาสาสมัครเพื่อความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน องค์การบริหารส่วนตำบลมีนโยบายในการดูแล และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทำให้เกิด การเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างอาสาสมัครตำรวจ ชุมชน (ตชต.) มีบทบาทหลักในการปราบปรามเหตุร้าย อาสาสมัครป้องกันตนเอง (อพป.) มีบทบาทหลักในการป้อง กันการเกิดเหตุ และอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) มีบทบาทหลักในการป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย จนเกิดชุดป้องกันตำบล เพื่อการเกื้อหนุนและช่วยเหลือ กันในการทำงาน อันจะเป็นการเสริมศักยภาพของระบบ อาสาสมัครในการดูแลและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น โดยมีองค์การบริหาร ส่วนตำบลบ้านควนสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน 6. ระบบองค์กรการเงินและสวัสดิการ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน มีแนวคิดในการ พึ่งตนเอง โดยต้องการให้คนในตำบลบ้านควนมีแหล่งเงิน ทุนของตนเอง ดอกเบี้ยต่ำ ช่วยเหลือผู้ที่ ไม่สามารถาแหล่ง ทุนภายนอก สร้างนิสัยการออมเงินไว้ ใช้ยามจำเป็น ช่วยกัน และกันระหว่างหมู่บ้าน นอกจากนี้ มีเป้าหมายเพื่อให้คนใน ตำบลบ้านควนมีสวัสดิการอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และ เป็นเครื่องมือในการรวมคน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เครือข่ายกองทุนหมูบ้านตำบลบ้านควน กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลบ้านควน กองทุนกลางกำนันผู้ ใหญ่บ้านตำบลบ้านบ้านควน กองทุน แม่ของแผ่นดิน 7. ระบบเกษตรพอเพียง ตำบลบ้านควน มีแนวคิดเรื่องการทำเกษตรผสม ผสานเพื่อลดต้นทุนการผลิต ลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน เป็นฐานความมั่นคงของรายได้ ความมั่นคงทางด้านอาหาร และความมั่นคงทางด้านสุขภาพกาย ใจ สร้างสำนึกจิต อาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่คนในตำบล เน้นการทำงานอย่างมี ส่วนร่วม กลุ่มปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพตำบลบ้านควน ศูนย์ บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจรตำบลบ้านควน สนใจแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ที่ : องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน 81 หมู่ที่ 12 ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 86110 โทร. 077-505723 โทรสาร 077-505722 จากตัวอำเภอหลังสวนเดินทางไปอีกประมาณ 8 กิโลเมตร ปลายทางตำบลบ้านควน ชุมชนท้องถิ่นที่ประกอบด้วยหมูบ้านทั้งหมด 18 หมู่ ชุมชนขนาดใหญ่ที่คนในชุมชนมีส่วนร่วม ในการกำหนดแผนพัฒนาและทิศทางการจัดการท้องถิ่น ตนเอง ตำบลบ้านควน เป็นชุมชนชาวสวน เพราะอาชีพ หลักของชาวชุมชนนั้นคือทำสวนผลไม้ สวนปาล์ม สวนยาง พารา และสวนมะพร้าว โดยมีอาชีพเสริม คือเลี้ยงสัตว์และ รับจ้าง ตำบลบ้านควนตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร มีประชากรจำนวน 8,053 คน(ชาย 3,918 คน และหญิง 4,076 คน) มีครัวเรือนทั้งหมด 2,697 ครัวเรือน มีพื้นที่ทั้งหมด 157.865 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนหมู่บ้าน 18 หมู่บ้าน คือ ต.บ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร 4. ระบบการดูแลสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน มีแนวคิดหลัก ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อสร้างสุขภาพ กาย จิต สังคม และปัญญาที่ดีให้แก่ประชาชน โดยมุ่งเน้น การรวมกลุ่มเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูช่วยเหลือกันเองใน ชุมชน ทั้งในรูปแบบของกลุ่มกิจกรรม ชมรม อสม. ชมรม ผู้สูงอายุ ผ่านกิจกรรมการดูแลรักษาสุขภาพกาย และจิต การตรวจรักษาและเฝ้าระวัง การสร้างสำนึกร่วมและจิต อาสาในการช่วยเหลือตัวเอง ช่วยเหลือเพื่อน ช่วยเหลือ ชุมชนและสังคม ผนวกการประสานความร่วมมือหน่วยงาน ราชการในระดับตำบล มีโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ชุมชนตำบลบ้านควน และองค์การบริหารส่วนตำบลบ้าน ควนสนับสนุนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูศูนย์พัฒนาครอบครัว ชมรมผู้สูงอายุ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ B B B B B B B B ‘มัจฉานุ’ ‘มัจฉานุ’ ‘มัจฉานุ’ พลังท้องถิ่นบ้านควน พลังท้องถิ่นบ้านควน พลังท้องถิ่นบ้านควน ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

แผ่นพับ มัจฉานุ พลังท้องถิ่นบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ด้วยฐานวิถีชีวิต วัฒนธรรมท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน ชาวชุมชนตำบลบ้านควนได้ร่วมกันฟื้นฟูวิถีชุมชนโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชาวชุมชนทุกระดับชั้น จากระดับบุคคล ครัวเรือน หมู่บ้าน จนมาระดับตำบล เชื่อมร้อยเชื่อมโยงทุกภาคส่วนในการทำงานพัฒนาชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน สาธารณสุขชุมชน และขาดไม่ได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กลายเป็นแกนสำคัญในการสร้างฐานพลังของชุมชน

Citation preview

Page 1: แผ่นพับ มัจฉานุ พลังท้องถิ่นบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

บ้านเขาวอ หมู่ที่ 1 บ้านคลองขนาน หมู่ที่ 10

บ้านหนองสิต หมู่ที่ 2 บ้านวัดเหนือ หมู่ที่ 11

บ้านวัดใหญ่ หมู่ที่ 3 บ้านคลองกก หมู่ที่ 12

บ้านเขาชก หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งขุนพรหม หมู่ที่ 13

บ้านช่องสะท้อน หมู่ที่ 5 บ้านควนเหนือ หมู่ที่ 14

บ้านห้วยหอย หมู่ที่ 6 บ้านห้วยนาค หมู่ที่ 15

บ้านทุ่งค้อ หมู่ที่ 7 บ้านทับวัง หมู่ที่ 16

บ้านสถานีเก่า หมู่ที่ 8 บ้านห้วยตาสิงห์ หมู่ที่ 17

บ้านทุ่งควน หมู่ที่ 9 บ้านเขาเกรียบ หมู่ที่ 18

5. ระบบอาสาสมัครเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน องค์การบริหารส่วนตำบลมีนโยบายในการดูแล

และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทำให้เกิด

การเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างอาสาสมัครตำรวจ

ชุมชน (ตชต.) มีบทบาทหลักในการปราบปรามเหตุร้าย

อาสาสมัครป้องกันตนเอง (อพป.) มีบทบาทหลักในการป้อง

กันการเกิดเหตุ และอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

(อปพร.) มีบทบาทหลักในการป้องกันและบรรเทาสาธารณ

ภัย จนเกิดชุดป้องกันตำบล เพื่อการเกื้อหนุนและช่วยเหลือ

กันในการทำงาน อันจะเป็นการเสริมศักยภาพของระบบ

อาสาสมัครในการดูแลและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ

ทรัพย์สินของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น โดยมีองค์การบริหาร

ส่วนตำบลบ้านควนสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน

6. ระบบองค์กรการเงินและสวัสดิการ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน มีแนวคิดในการ

พึ่งตนเอง โดยต้องการให้คนในตำบลบ้านควนมีแหล่งเงิน

ทุนของตนเอง ดอกเบี้ยต่ำ ช่วยเหลือผู้ที่ ไม่สามารถาแหล่ง

ทุนภายนอก สร้างนิสัยการออมเงินไว้ ใช้ยามจำเป็น ช่วยกัน

และกันระหว่างหมู่บ้าน นอกจากนี้ มีเป้าหมายเพื่อให้คนใน

ตำบลบ้านควนมีสวัสดิการอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และ

เป็นเครื่องมือในการรวมคน

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เครือข่ายกองทุนหมู่

บ้านตำบลบ้านควน กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลบ้านควน

กองทุนกลางกำนันผู้ ใหญ่บ้านตำบลบ้านบ้านควน กองทุน

แม่ของแผ่นดิน

7. ระบบเกษตรพอเพียง ตำบลบ้านควน มีแนวคิดเรื่องการทำเกษตรผสม

ผสานเพื่อลดต้นทุนการผลิต ลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน

เป็นฐานความมั่นคงของรายได้ ความมั่นคงทางด้านอาหาร

และความมั่นคงทางด้านสุขภาพกาย ใจ สร้างสำนึกจิต

อาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่คนในตำบล เน้นการทำงานอย่างมี

ส่วนร่วม

กลุ่มปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพตำบลบ้านควน ศูนย์

บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจรตำบลบ้านควน

สนใจแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ที่ :องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน81 หมู่ที่ 12 ตำบลบ้านควนอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 86110โทร. 077-505723 โทรสาร 077-505722

จากตัวอำเภอหลังสวนเดินทางไปอีกประมาณ 8 กิโลเมตร

ปลายทางตำบลบ้านควน ชุมชนท้องถิ่นที่ประกอบด้วยหมู่

บ้านทั้งหมด 18 หมู่ ชุมชนขนาดใหญ่ที่คนในชุมชนมีส่วนร่วม

ในการกำหนดแผนพัฒนาและทิศทางการจัดการท้องถิ่น

ตนเอง

ตำบลบ้านควน เป็นชุมชนชาวสวน เพราะอาชีพ

หลักของชาวชุมชนนั้นคือทำสวนผลไม้ สวนปาล์ม สวนยาง

พารา และสวนมะพร้าว โดยมีอาชีพเสริม คือเลี้ยงสัตว์และ

รับจ้าง ตำบลบ้านควนตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอหลังสวน

จังหวัดชุมพร มีประชากรจำนวน 8,053 คน(ชาย 3,918 คน

และหญิง 4,076 คน) มีครัวเรือนทั้งหมด 2,697 ครัวเรือน

มีพื้นที่ทั้งหมด 157.865 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนหมู่บ้าน

18 หมู่บ้าน คือ

ต.บ้านควน อ.หล

ังสวน จ.ชุมพร

4. ระบบการดูแลสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน มีแนวคิดหลัก

ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เพื่อสร้างสุขภาพ

กาย จิต สังคม และปัญญาที่ดี ให้แก่ประชาชน โดยมุ่งเน้น

การรวมกลุม่เพือ่การแลกเปลีย่นเรยีนรู ้ ชว่ยเหลอืกนัเองใน

ชุมชน ทั้งในรูปแบบของกลุ่มกิจกรรม ชมรม อสม. ชมรม

ผู้สูงอายุ ผ่านกิจกรรมการดูแลรักษาสุขภาพกาย และจิต

การตรวจรักษาและเฝ้าระวัง การสร้างสำนึกร่วมและจิต

อาสาในการช่วยเหลือตัวเอง ช่วยเหลือเพื่อน ช่วยเหลือ

ชมุชนและสงัคม ผนวกการประสานความรว่มมอืหนว่ยงาน

ราชการในระดับตำบล มี โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ

ชุมชนตำบลบ้านควน และองค์การบริหารส่วนตำบลบ้าน

ควนสนับสนุนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ศูนย์พัฒนาครอบครัว ชมรมผู้สูงอายุ และ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

BBBBBBBB

‘มัจฉานุ’‘มัจฉานุ’‘มัจฉานุ’พลังท้องถิ่นบ้านควนพลังท้องถิ่นบ้านควนพลังท้องถิ่นบ้านควนตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพรตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

Page 2: แผ่นพับ มัจฉานุ พลังท้องถิ่นบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

ตำบลบ้านควนเริ่มก่อตั้งเมื่อ

ประมาณปี พ.ศ.2459 ชื่อที่มา

ของบ้านควนมีข้อมูล เรื่องราว

เล่าขานกันไปต่างๆ นานา จาก

คำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ใน

ท้องถิ่นเล่าว่า ตำบลบ้านควน

เดิมนั้น มีการตั้งชื่อตำบลตาม

สภาพที่ตั้งตำบล ที่มีลักษณะ

พื้นที่เป็นที่สูง เป็นที่ควน

ชาวบ้านเรียกติดปากว่า

บ้านควน และบางความเชื่อก็

เลา่กนัวา่ ผูป้กครองชมุชนสมยั

ก่อนเรียกกันว่า ขุนควน ชุมชน

บริเวณนี้จึงเรียกว่าบ้านควน

ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็น อบต.

ในปี 2539 มีหมู่บ้านจำนวน 18

หมู่บ้าน

ตำบลบ้านควนได้รับการ

ยอมรับในเรื่องของความเป็น

หนึ่งเดียวกันของผู้นำระหว่าง

ท้องถิ่นและท้องที่ นายกองค์

การบริหารส่วนตำบลซึ่งเป็น

หัวขบวนของฝ่ายท้องถิ่นกับ

กำนันซึ่งเป็นหัวขบวนของฝ่าย

ท้องที่นั้น มีความเห็นที่สอด

คล้องตรงกันเป็นไปในทิศทาง

เดียวกัน จึงทำให้ทั้ง 2 ฝ่าย

สามารถทำงานประสานกันได้

อย่างราบรื่น ความเป็นหนึ่ง

เดียวของบ้านควนสะท้อนออก

มา ในการแข่ ง ขั น เ รื อยาว

ประจำปีของอำเภอหลังสวน

ที่ตำบลบ้านควนได้รับรางวัล

ชนะเลิศ

นอกจากนี้ ตำบลบ้านควน

มีประสบการณ์ ในการจัด

กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียน

รู้สำหรับคณะศึกษาดูงานใน

เรื่องต่างๆ เช่น โรงปุ๋ยชีวภาพ

ธนาคารต้นไม้ ป่าชุมชน การ

รักษาความสงบเรียบร้อย และ

มีความโดดเด่นในเรื่องต่างๆ

จนได้รับการยอมรับและได้

รั บ ร า งวั ล จ ากหน่ วยงาน

ต่าง ๆ

สมุดบัญชีธนาคารต้นไม้สมุดบัญชีธนาคารต้นไม้

ปจัจบุนั องคก์ารบรหิารสว่นตำบลบา้นควนมรีะบบ

การจัดการสุขภาวะชุมชนโดยชุมชนประกอบด้วยระบบ

ย่อย 7 ระบบ ดังนี้

1. ระบบบริหารจัดการตำบล เปิดพื้นที่ทางสังคมเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระดม

ความคิดเห็นและการร่วมทำงานจากทุกฝ่าย ผ่านการ

ประชุมระดับหมู่บ้านและตำบล และเป็นการจัดลำดับ

ความสำคัญของปัญหาในตำบลและเป็นกระบวนการ

ตัดสินใจจากมติของที่ประชุม รวมทั้งการรวมพลังผู้นำฝ่าย

ท้องที่ ท้องถิ่นและชุมชน การสร้างความสามัคคีของผู้นำ

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียว ความมีวินัยและการพึ่งตนเอง

เวทีสัญจร เวทีประชุมหมู่บ้าน เวทีประชุมสภา

อบต. สภาองค์กรชุมชนตำบลบ้านควน

เมล็ดพันธุ์ไม้นาน

าชนิด ที่เพาะหว่าน

ในใจคนบ้านควน

เมล็ดพันธุ์ไม้นาน

าชนิด ที่เพาะหว่าน

ในใจคนบ้านควน

2. ระบบจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้เท่า

ไม่ถึงการณ์และขาดความตระหนัก โดยเฉพาะการบุกรุก

แผ้วถางพื้นที่ป่าธรรมชาติเพื่อเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตสู่

เกษตรเชิงเดี่ยว เน้นการปลูกพืชเศรษฐกิจ คือ ยางพารา

และปาล์มน้ำมัน ช่วง ปี 2539-2547 ส่งผลให้พื้นที่ตำบล

บ้านควนประสบกับภัยธรรมชาติ เช่น น้ำหลากรุนแรง ฝน

ตกไม่สม่ำเสมอ ดินเสื่อม ประกอบกับสภาพปัญหาโลกร้อน

ผู้นำชุมชนส่วนหนึ่งจึงมีแนวคิดว่าควรรณรงค์ ให้ชาวตำบล

บ้านควนมีความตระหนักและสำนึกในการรักษาทรัพยากร

ธรรมชาติเพื่อให้ลูกหลานได้ ใช้ประโยชน์ยาวนานไปยังรุ่น

ลูกรุ่นหลาน

ป่าชุมชนบ้านช่องสะท้อน ป่าอนุรักษ์ต้นน้ำรุม

ธนาคารต้นไม้ กลุ่มอนุรักษ์ถ้ำเขาเกรียบ

3. ระบบภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนมีแนวคิดใน

การนำทุนวัฒนธรรมท้องถิ่นดั้งเดิมที่แสดงถึงรากเหง้า

และความเป็นตัวตนของคนในตำบลมาเป็นเครื่องมือ

สำคัญเพื่อทำให้เกิดการรวมตัวของคนทุกกลุ่มวัยผ่านงาน

ประเพณีที่สำคัญ เช่น งานลอยกระทง การแข่งเรือยาว

ที่รู้จักกันดี ในนาม “มัจฉานุ“เป็นต้น ซึ่งทำให้เกิดการหล่อ

หลอมทางจิตวิญญาณ เกิดความรักและความสามัคคีของ

คนในตำบล เกิดการสร้างชื่อเสียงให้แก่ตำบลทำให้คนใน

ตำบลมีศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจในการเป็นคนบ้านควน

สภาวัฒนธรรมตำบลบ้านควน ครูภูมิปัญญาท้อง

ถิ่นด้านมโนราห์ กลุ่มอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น