12

Click here to load reader

กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

Embed Size (px)

DESCRIPTION

กฎหมายคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว ฐานความคิด โอกาส และอุปสรรค@การประชุมการขับเคลื่อนเพื่อสนับสนุนทางเลือกของผูหญิงที่ทองไมพรอม ครั้งที่ 27A 22 กุมภาพันธ 2555A โรงแรมทีเคพาเลซ กรุงเทพฯAกรอบในการพูดคุย: พรบ. คุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550: เนื้อหาการนำเสนอ:@ •  ที่มาของกฎหมายความรุนแรงในครอบครัว: •  เนื้อหาที่นาสนใจของ พรบ. : •  นิยาม “ความรุนแรงในครอบครัว” และ “บุคคลในครอบครัว”: •  การแจงเหตุ: •  การชวยเหลือเบื้องตนและมาตรการบรรเทาทุกข: •  การล

Citation preview

Page 1: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

กฎหมายคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว

ฐานความคิด โอกาส และอุปสรรค@

การประชุมการขับเคลื่อนเพ่ือสนับสนุนทางเลือกของผูหญิงที่ทองไมพรอม ครั้งที่ 27 A

22 กุมภาพันธ 2555 A

โรงแรมทีเคพาเลซ กรุงเทพฯA

Page 2: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

กรอบในการพูดคุย: พรบ. คุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.

2550 :

เนื้อหาการนำเสนอ:@

•  ที่มาของกฎหมายความรุนแรงในครอบครัว:•  เนื้อหาที่นาสนใจของ พรบ. :

•  นิยาม “ความรุนแรงในครอบครัว” และ “บุคคลในครอบครัว”:

•  การแจงเหตุ:•  การชวยเหลือเบื้องตนและมาตรการบรรเทาทุกข:•  การลงโทษและการยอมความ:•  เจตนารมณของ พรบ. ในเรื่องการรักษาการสมรสและครอบครัว:

•  โอกาสและขอทาทายของ พรบ. :

Page 3: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

ท่ีมาของกฎหมาย@

-  การที่รัฐบาลไทยไปลงนามเปนภาคีของ “อนุสัญญาวาดวยการ

ขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ” ของสหประชาชาติ:

-  (ภายใตกรอบการยุติความรุนแรงตอผูหญิง และการคุมครองสิทธิ

ของผูหญิง):

- การผลักดันของกลุมผูหญิงภาคประชาสังคม:

Page 4: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

นิยาม “ความรุนแรงในครอบครัว” ตามพรบ. คุมครองฯ@

“การกระทำใด ๆ โดยมุงประสงคใหเกิดอันตรายแกรางกาย จิตใจ หรือ

สุขภาพ หรือกระทำโดยเจตนาในลักษณะที่นาจะกอใหเกิดอันตรายแก

รางกาย จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับหรือใช

อำนาจครอบงำผิดคลองธรรมใหบุคคลในครอบครัวตองกระทำการ

ไมกระทำการ หรือยอมรับการกระทำอยางใดอยางหนึ่งโดยมิชอบ แต

ไมรวมถึงการกระทำโดยประมาท”:

Page 5: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

นิยาม “บุคคลในครอบครัว” ตาม พรบ. คุมครองฯ@

“คูสมรส คูสมรสเดิม ผูที่อยูกินหรือเคยอยูกินฉันสามีภริยา โดยมิไดจด

ทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม สมาชิกในครอบครัว รวมทั้งบุคคล

ใด ๆ ที่ตองพึ่งพาอาศัยและอยูในครัวเรือนเดียวกัน” :

Page 6: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

การแจงเหตุ@

มาตรา 5 “ผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว หรือผูที่พบเห็น

หรือทราบการกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว มีหนาทีแ่จงตอ

พนักงานเจาหนาที่ เพื่อดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้”:

*** :

:

ในการรองทุกข ผูถูกกระทำอาจเปนผูรองทุกขเอง หรือใหพนักงานเจา

หนาที่ตาม พรบ. เปนผูรองทุกขแทน (มาตรา 6):

Page 7: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

การชวยเหลือเบ้ืองตน มาตรการบรรทาทุกขแกผูถูกกระทำ@

มาตรา 6 พนักงานเจาหนาที่ตาม พรบ. “มีอำนาจจัดใหผูถูก

กระทำ...เขารับการตรวจรักษาจากแพทย และขอรับคำปรึกษาแนะนำ

จากจิตแพทย นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห” รวมทั้งแจงความ

รองทุกขแทนผูถูกกระทำ:

มาตรา 10 และ 11 เม่ือแจงความรองทุกขแลวและระหวางพิจารณาคดี

ในศาล ใหพนักงานเจาหนาที่ออกคำส่ังกำหนดมาตรการหรือวิธีการ

บรรเทาทุกขใหแกผูถูกกระทำ ซ่ึงรวมถึง การเขารับการตรวจรักษา

จากแพทย การใหผูกระทำชดใชเงินชวยเหลือ การหามผูกระทำเขาใกล

ผูถูกกระทำ และการกำหนดวิธีการดูแลบุตร @

Page 8: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

การลงโทษและการยอมความ@

มาตรา 4 ความผิดฐานกระทำความรุนแรงในครอบครัวมีโทษจำคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไมเกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำและปรับ และเปนความผิดที่ ยอมความได@

:

เปรียบเทียบกับความผิดฐานทำรายรางกายตามประมวลกฎหมายอาญา:@

ม. 295 ความผิดฐานทำรายผูอื่นจนไดรับอันตรายแกทางรางกายหรือจิตใจ – จำคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกิน 4,000 บาท หรือทั้งจำและปรับ และยอมความไมได@

ม. 297 ความผิดฐานทำรายผูอื่นทำใหไดรับอันตรายสาหัส จำคุก 6 เดือนถึง 10 ป และยอมความไมได@

Page 9: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

การลงโทษและการยอมความ (มาตรการแทนการลงโทษ)@

มาตรา 12 ใหศาลกำหนดวิธีการฟนฟู บำบัดรักษา คุมความประพฤติ

ผูกระทำ ใหผูกระทำชดใชเงิน ทำงานบริการสาธารณะ ละเวนการกระ

ทำบางอยางที่อาจนำไปสูความรุนแรง หรือทำทัณฑบนไว ...แทนการ

ลงโทษผูกระทำความผิดก็ได@

:

:

@

Page 10: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

เจตนารมณของกฎหมาย@

มาตรา 15 “ไมวาการพิจารณาคดีการกระทำความรุนแรงในครอบครัวจะได

ดำเนินไปแลวเพียงใด ใหศาลพยายามเปรียบเทียบใหคูความไดยอมความ

กัน โดยมุงถึงความสงบสุขและการอยูรวมกันในครอบครัวเปนสำคัญ ทั้งนี้

ใหคำนึงถึงหลักการดังตอไปนี้ ประกอบดวย:

(1) การคุมครองสิทธิของผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว:

(2) การสงวนและคุมครองสถานภาพของการสมรสในฐานะที่เปนศูนย

รวมของชายและหญิงที่สมัครใจเขามาอยูกินกันฉันสามีภริยา ...”:

:

หมายเหตุทาย พรบ. ...ใหผูกระทำความผิดมีโอกาสกลับตัวและยับยั้งการก

ระทำผิดซ้ำ รวมทั้งสามารถรักษาความสัมพันธอันดีในครอบครัวไวได...:

Page 11: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

ขอทาทายสำหรับการใช พรบ. ใหมีประสิทธิภาพ@

-  ตัวบทหรือเนื้อหาของ พรบ. (พูดแลว):

-  กลไกการปฏิบัติเพื่อใหความชวยเหลือบรรเทาทุกขผูถูกกระทำ

และฟนฟู บำบัดรักษาผูกระทำ - ยังขาดกลไกและการประสาน

งานที่ดี:

-  ฐานความคิดของสังคมและเจาหนาที่ผูมีหนาที่รับผิดชอบ:

-  สำนึกทางกฎหมาย (legal consciousness) รวมกันของสังคม วา

ความรุนแรงในครอบครัวเปนอาชญากรรม:

-  กฎหมายขาดความออนไหวตอความสัมพันธเชิงอำนาจระหวางเพศ

ที่ไมเทาเทียม (กฎหมายมีลักษณะ gender neutral เปนกลางทางเพศ):

Page 12: กฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว-อ.วราภรณ์

โอกาสการใช พรบ. ใหมีประสิทธิภาพ@

-  ตัวบทหรือเนื้อหาของ พรบ. (พูดแลว):

-  ฐานความคิดของสังคมและเจาหนาที่ผูมีหนาที่รับผิดชอบ:

-  การมีกฎหมายเฉพาะแสดงถึงการใหความสำคัญตอปญหาความรุนแรงที่เพิ่มมากข้ึนของรัฐ และหนวยงานที่เกี่ยวของ:

-  กลไกการปฏิบัติเพื่อใหความชวยเหลือบรรเทาทุกขผูถูกกระทำ และฟนฟู บำบัดรักษาผูกระทำ :

-  มีความพยายาม ภายใตการสนับสนุนของ UN Women รวมมือกับบุคลากรที่จะสรางแนวปฏิบัติที่เปนที่ตกลงรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ:

-  การแกไข พรบ. ในอนาคต – มีความเปนไปได แตตองใชเวลา: