2

ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ
Page 2: ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ

กระบวนการจัดท ารัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ

แหง่ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗

สปช. เสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ในการจัดทําร่างรัฐธรรมนญูต่อคณะกรรมาธิการ

ยกร่างรัฐธรรมนญู ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก

(มาตรา ๓๑ (๒) และวรรคสาม)

หากจัดทําร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จภายใน ๑๒๐ วัน คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ

สิ้นสุดลง (มาตรา ๓๘ วรรคสอง)

ตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการ

ยกร่างรัฐธรรมนญู สิ้นสุดลง(มาตรา ๓๘ วรรคสอง)

สมาชิก สปช. อาจแก้ไขเพิม่เตมิรา่งรัฐธรรมนญูได้ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ เสร็จสิ้นการพิจารณา (ครั้งแรก) โดยมผีู้รับรอง ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจํานวนสมาชิก สปช.

(มาตรา ๓๖ วรรคสอง)

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนญู ๓๖ คน (มาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง)

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนญูจัดทํารา่งรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุม เนื้อหา ๑๐ เรื่อง ตามมาตรา ๓๕ โดยพจิารณาความเหน็และขอ้เสนอแนะของ สปช. และความเหน็ของ สนช. ครม. คสช. ประชาชนรวมทั้งหน่วยงานทีเ่กีย่วขอ้งมาประกอบการพจิารณาดว้ย ภายใน ๑๒๐ วันนับแต่วันที่ได้รับ

ความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏริูปแห่งชาติ (มาตรา ๓๔ วรรคสอง)

ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตัง้ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันประชุมสภาปฏริูป แห่งชาติครั้งแรก (มาตรา ๓๒ วรรคสอง)

๑. ประธานคณะกรรมาธิการยกรา่งรัฐธรรมนูญ ตามที่ คสช. เสนอ ๒. สภาปฏริูปแห่งชาติเสนอ ๒๐ คน ๓. คณะรัฐมนตรเีสนอ ๕ คน ๔. สภานิติบัญญัติแห่งชาติเสนอ ๕ คน ๕. คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ ๕ คน

ร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนญูจัดทําเสรจ็แล้ว

เสนอร่างรัฐธรรมนูญต่อประธานสภาปฏริูปแห่งชาติ

จัดให้มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเหน็ให้แล้วเสร็จภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันไดร้ับร่างรัฐธรรมนูญ

(มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง)

ส่งร่างรัฐธรรมนูญ ให้ ครม. และ คสช. พิจารณาเสนอความเห็น หรืออาจยื่นคําขอแก้ไขเพิ่มเติมภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ไดร้ับรา่งรัฐธรรมนูญ

(มาตรา ๓๖ วรรคสาม)

ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ(มาตรา ๓๖ วรรคสี่)

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนญูพิจารณาคําขอแก้ไขเพิ่มเตมิให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วนั นับแต่วันที่ครบกําหนด

ยื่นแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิก สปช. ซึ่งคณะกรรมาธิการยกรา่งรัฐธรรมนูญ อาจแก้ไขเพิม่เตมิได้

ตามที่เห็นสมควร (มาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง)

สปช. พิจารณาเห็นชอบหรือไม่เหน็ชอบทั้งฉบับ

โดยต้องมมีติภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับ

ร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ

ทั้งนี้ สปช. จะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญ

มิได้ เว้นแต่เป็นข้อผดิพลาดที่มิใช่สาระสําคญั และ

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนญู เห็นชอบด้วยกับ

การแก้ไขเพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่าง

รัฐธรรมนูญเห็นว่าจําเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้สมบรูณ์ขึ้น

(มาตรา ๓๗ วรรคสอง)

เห็นชอบ

ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาตินําร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตรยิ์

ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติเห็นชอบ

(มาตรา ๓๗ วรรคสาม)

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสดุลง

ไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนด

สภาปฏิรูปแห่งชาตสิิ้นสดุลง ไม่เห็นชอบ

ร่างรัฐธรรมนูญตกไป

แต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติ

และคณะกรรมาธกิารยกร่างรัฐธรรมนญู

ชดุใหม ่

(มาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง)

คณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญสิ้นสดุลง

สภาปฏิรูปแห่งชาต ิ

สิ้นสุดลง

ไม่ทรงเห็นชอบและพระราชทานคืนมา

พ้น ๙๐ วันแล้วมิได้พระราชทานคืนมา

ทรงลงพระปรมาภไิธย

ประกาศในราชกจิจานุเบกษา

บังคับใช้ (มาตรา ๓๗ วรรคสาม)

หมายเหตุ

ครม. หมายถึง คณะรัฐมนตรี

คสช. หมายถึง คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

สปช. หมายถึง สภาปฏิรูปแหง่ชาติ

สนช. หมายถึง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร