12
วรรณภิงคาร สุ จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 8 ฉบับที่ 22 เมษายน - พฤษภาคม 2555 ISSN : 1906-9014 (สงวนลิขสิทธิ์) 3 นานาทรรศนะ หน้า รู้จักเขา...รู้จักเรา ผ่านการสอนภาษาไทยในต่างประเทศ นานาสาระทางวิชาการ หน้า KM Project ภาควิชาภาษาตะวันตก 6 เก็บมาฝาก หน้า kappa kappa ratta 8 วิจัยชวนคิด หน้า สอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ... วิจัยภาษา วิจัยมนุษย์ 9 กระดานศิษย์เก่า หน้า ศิษย์เก่านเรศวรสัมพันธ์...ผูกพันมนุษยศาสตร์ 10

จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

Embed Size (px)

DESCRIPTION

จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

Citation preview

Page 1: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

วรรณภิงคารสุจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ปีที่ 8 ฉบับที่ 22 เมษายน - พฤษภาคม 2555ISSN : 1906-9014 (สงวนลิขสิทธิ์)

มหาว ิทยาลัยนเรศวร

คณ

ะมนุษยศาสตร์

3นานาทรรศนะ หน้ารู้จักเขา...รู้จักเรา ผ่านการสอนภาษาไทยในต่างประเทศ

นานาสาระทางวิชาการ หน้า KM Project ภาควิชาภาษาตะวันตก

6

เก็บมาฝาก หน้าkappa kappa ratta

8

วิจัยชวนคิด หน้าสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ...

วิจัยภาษา วิจัยมนุษย์

9

กระดานศิษย์เก่า หน้าศิษย์เก่านเรศวรสัมพันธ์...ผูกพันมนุษยศาสตร์

10

Page 2: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

ข้อมูลผู้เขียน

1. ดร.พงศกร เมธีธรรม

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

2. อ.สถิตย์ ลีลาถาวรชัย

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

3. ดร.โสภา มะสึนาริ

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาตะวันออก

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

e-mail: [email protected]

4. ดร.วิชาติ บูรณะประเสริฐสุข

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

e-mail: [email protected]

5. ว่าที่ร้อยตรีมาโนชญ์ สองแกะ

ประธานชมรมศิษย์เก่าสุวรรณภิงคาร คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

6. สุรีย์พร ชุมแสง

นักประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

ที่ปรึกษาคณบดีคณะมนุษยศาสตร์

รองคณบดีฝ่ายบริหาร

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ

รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต

บรรณาธิการดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ

กองบรรณาธิการดร.ชมนาด อินทจามรรักษ์

อ.วราภรณ์ เชิดชู

อ.สถิตย์ ลีลาถาวรชัย

อ.วทัญญ ฟักทอง

ว่าที่ร้อยตรีมาโนชญ์ สองแกะ

ศิลปกรรมณัฐวุฒิ นลินรัตนกุล

เลขานุการสุรีย์พร ชุมแสง

งานประชาสัมพันธ์ :คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์ 0-5596-2035

http://www.human.nu.ac.th

บทบรรณาธิการ

ดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ

บรรณาธิการ

[email protected]

ต่างๆ หลากหลายภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส

ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาพม่า ภาษาเวียดนาม

และภาษาอินโดนีเซีย โดยเปิดเป็นหลักสูตร ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท

และปริญญาเอก ตลอดจนหลักสูตรอบรมระยะสั้น เช่น ภาษาไทยสำหรับ

ชาวต่างประเทศ ภาษาอังกฤษสำหรับครู ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร และ

อบรมล่ามภาษาพม่า เป็นต้น เราจึงมีกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน

การสอนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษาและ

นิสิตกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ การเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญมาบรรยาย

ทางวิชาการ และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ รวมทั้งการจัดกิจกรรม การจัดการ

ความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เราได้คัดสรรมา

นำเสนอผ่านคอลัมน์ต่างๆ ภายในเล่ม

โดยนานาทรรศนะ ฉบับนี้ เป็นบทสัมภาษณ์อาจารย์รุ่นใหม่ไฟแรง

ดร.พงศกร เมธีธรรม ที่ได้รับคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาให้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนบุคลากร และนักศึกษาไทยกับ

ประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยไปสอนภาษาไทย ณ มหาวิทยาลัย

ยูนนานนอร์มอล ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

นานาสาระทางวิชาการ เป็นการสรุปสาระสำคัญจากกิจกรรมการ

จัดการความรู้ด้านการเรียนการสอนของภาควิชาภาษาตะวันตก ซึ่งนำเสนอ

เป็น สองภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

เก็บมาฝากฉบับนี้ ดร.โสภา มะสึนาริ หัวหน้าภาควิชาภาษา

ตะวันออก นำเสนอตัวอย่างเนื้อหาจากแบบฝึกการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น

ซึ่งเป็นกลวิธีการสอนอ่านเบื้องต้นที่ผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุ่นมาถ่ายทอดให้แก่

ผู้เข้าอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการภาษาญี่ปุ่น ที่ภาควิชาภาษา

ตะวันออกจัดขึ้น

วิจัยชวนคิด ได้รับเกียรติจาก ดร.วิชาติ บูรณะประเสริฐสุข อาจารย์

ประจำภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ร่วมชวนคิดในประเด็น “สอนภาษาไทยให้ชาวต่าง ประเทศ.. วิจัยภาษา

วิจัยมนุษย์” ผู้ที่สนใจเรื่องการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศพลาดไม่ได้

เลยทีเดียว

ปิดท้ายด้วย กระดานศิษย์เก่า ชวนผู้สำเร็จการศึกษาจาก

มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่กระจายตัวอยู่ในหลายจังหวัดและหลายสาขาอาชีพ

มาสมัครเข้าใช้ฐานข้อมูลสารสนเทศศิษย์เก่า เพื่อรวมตัวพบปะสังสรรค์ และ

ร่วมกันจัดกิจกรรมดีๆ เพื่อสร้างสรรค์สังคม และพัฒนาคณะและมหาวิทยาลัย

อันเป็นที่รักของพวกเราทุกคน

หวังว่าสุวรรณภิงคารฉบับนี้จะเป็นที่พึงพอใจของทุกอ่านทุกท่าน

เหมือนเช่นที่ผ่านมา

สุวรรณภิงคารฉบับนี้นำเสนอในประเด็นเกี่ยวกับ

การเร ียนการสอนภาษาซึ ่งเป็นพันธกิจหลักของคณะ

มนุษยศาสตร์ ปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์ เปิดสอนภาษา

Page 3: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 2555 3

นาน

าทรร

ศน

ะดร

.พงศ

กร

เมธีธ

รรม

ขอให้อาจารย์เล่าถึงที่มาของการเดินทางไปสอนภาษาไทย

ให้กับ ชาวจีนที่คุนหมิง

ในช่วงระหว่างเดือน มีนาคม ถึง มิถุนายน ผมได้รับ

คัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้เข้าร่วม

โครงการแลกเปลี ่ยนบุคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศ

อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง หรือใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Staff

and Student Exchange Program between Thailand and

Greater Mekong Sub-Region (GMS) Countries โดยเดินทาง

ไปปฏิบัติงานราชการที่สำนักวิชาภาษาต่างประเทศ (School of

Foreign Languages) มหาวิทยาลัยยูนนานนอร์มอล (Yunnan

Normal University) ณ เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรฯ นั้นเป็นโครงการ

ที ่อยู ่ภายใต้โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน

อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง 6

ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน

โครงการนี้ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 มีเป้าหมาย

ที ่จะเสริมสร้างและส่งเสริมความร่วมมือกันในด้านการค้า

ด้านการลงทุน ด้านแรงงาน ด้านเทคโนโลยี และด้านการศึกษา

โดยที่โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรฯ นั้นจัดตั้งขึ้นเพื่อที่รองรับ

นโยบายด ้านความร ่วมม ือทางด ้านการศ ึกษาโดยตรง

มีจุดประสงค์ที ่จะส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางด้าน

วิชาการให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นในภูมิภาค

สำหรับขั้นตอนการสมัครนั้น ไม่ได้ยุ่งยากซับซ้อน

มากนัก เพียงแต่ต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เตรียมหลักฐาน

ที่จำเป็นให้พร้อมก่อนเดือนกันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่โครงการ

แลกเปลี่ยนบุคลากรฯ จะเปิดรับสมัคร ดังนั้นผู้ที่สนใจจะต้อง

เตร ียมหล ักฐานประกอบการสม ัครด ังต ่อไปน ี ้ ให ้พร ้อม

หลักฐานแรกคือ หนังสือตอบรับจากสถาบันอุดมศึกษา

ในประเทศอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยที่จะต้องระบุลักษณะ

กิจกรรมที่ชัดเจนพร้อมทั้งมีกำหนดระยะเวลาเข้าร่วมโครงการ

ที่แน่นอน ผู้สมัครจะต้องติดต่อกับสถาบันอุดมศึกษาเจ้าภาพ

ในประเทศกลุ่มลุ่มแม่น้ำโขงและดำเนินการขอหนังสือตอบรับ

เอง ส่วนหลักฐานที่สอง คือ หลักฐานแสดงความสามารถ

ในการใช้ภาษาอังกฤษหรือภาษาที่ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน

ในสถาบันเจ้าภาพที่จะไปแลกเปลี่ยน เมื่อมีหลักฐานครบ

ทั้งสองอย่างแล้ว จึงแนบส่งเรื่องไปพร้อมกับใบสมัครเข้าร่วม

โครงการผ่านทางงานวิเทศสัมพันธ์ หากในสถาบันมีผู้สมัคร

เกินกว่า 1 คน ทางมหาวิทยาลัยจะคัดเลือกให้เหลือผู้สมัคร

เพียง 1 คน ก่อนส่งเรื่องต่อไปยังสำนักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา เพื่อดำเนินการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการในระดับ

ต่อไป

อาจารย์ไปสอนอะไรบ้าง มีการเตรียมตัวอย่างไร

ทางมหาว ิทยาล ัย เจ ้ าภาพได ้มอบหมายให ้ผม

รับผิดชอบ 3 รายวิชา นั้นคือ 1. สอนรายวิชาการสนทนา

ภาษาไทยเบื้องต้น (Thai Basic Conversation) ให้กับ

นิสิตเอกภาษาไทย 2. สอนรายวิชาวัฒนธรรมไทย (Thai

Culture) ให้กับนิสิตเอกการท่องเที่ยวภาษาอังกฤษ และ

3. ร่วมบรรยายในประเด็น Controversial Issues in Applied

Linguistics ให้กับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษ

สำหรับรายวิชาการสนทนาภาษาไทยเบื้องต้น ผมได้

ขอคำปรึกษาจากคณาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ ที่มี

ประสบการณ์การสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ อันได้แก่

ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร ดร.อภิชัย รุ่งเรือง และ

อาจารย์อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์ นอกจากที่อาจารย์ทั้งสามท่าน

จะได้บอกเล่าประสบการณ์และแนวทางการสอน ท่านยัง

เอื้อเฟื้อตำรา พร้อมแนะนำหนังสือที่เหมาะสมต่อการเรียน

การสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติด้วย นอกจากนี้ผมยังได้

ศึกษาวลีและประโยคภาษาไทยที่จำเป็นต่อการสื่อสารในชีวิต

ประจำวันเพิ่มเติมจากหนังสือ Lonely Planet: Thai Phrasebook

แต่งโดย Bruce Evans พร้อมทั้งเทียบเคียงวลีและประโยค

ภาษาไทยกับวลีและประโยคภาษาจีนกลางกับหนังสือ Lonely

Planet: Mandarin Chinese Phrasebook ซึ่งแต่งโดย Anthony

Garnaut

ในรายวิชาวัฒนธรรมไทย ผมได้อ่านเนื้อหาเพิ่มเติม

และศึกษามุมมองหลากหลายผ่านหนังสือ Thai Ways และ More

Thai Ways แต่งโดย Denis Segaller หนังสือ A Common Core:

Thais and Americans แต่งโดย John Paul Fieg หนังสือ Very

Thai: Everyday Popular Culture แต่งโดย Philip Cornwel-Smith

และ John Goss หนังสือ Culture Shock Thailand: A Survival

Guide to Customs and Etiquette แต่งโดย Robert Cooper

และเล่มสุดท้ายคือ หนังสือ Thai Culture in Transition:

Collected Writings of William J. Klausner แต่งโดย William

J. Klausner นอกเหนือไปจากข้อมูลที่ได้จากหนังสือแล้วนั้น

ผมยังได้สัมภาษณ์ นิสิตชาวต่างชาติที่กำลังเรียนที่มหาวิทยาลัย

นเรศวร ว่ามีประเด็นใดของวัฒนธรรมไทยที่มีความสนใจ

มากเป็นพิเศษ และน่าที่จะได้มีการสอนเพิ่มเติมหรือเปิด

อภิปรายในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น

ส่วนในการบรรยายประเด็นเรื่อง Controversial Issues

in Applied Linguistics นั้น ผมไม่ได้เตรียมตัวอะไรมากนัก

เนื่องจากเป็นเนื้อหาที่สอนเป็นประจำในรายวิชา Current

Issues in Approaches to Teaching English as a Foreign

Language อยู่แล้ว เพียงแต่เพิ่มเติมหรือผนวกตัวอย่าง

สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศจีนเข้าไปในเนื้อหาให้มากยิ่งขึ้น

เวลาสอนจริง เหมือนที่คาดคิดหรือเตรียมไว้หรือไม่ อาจารย์

พบปัญหาอะไร และมีวิธีการแก้ไขอย่างไร

ผมได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นมาว่า นิสิตจีนกลุ่มที่จะไป

สอนนั้น เรียนภาษาไทยมาเพียงแค่หนึ่งเทอมเท่านั้น ผมเลย

เข้าใจว่านิสิตคงจะพูดฟังอ่านเขียนไทยได้น้อย และไม่

คล่องแคล่วในการใช้ภาษาไทยเท่าที่ควร ผมจึงคาดว่าตลอด 4

เดือนที่จะไปสอน คงจะใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับบทสนทนา

พื้นฐาน เช่น การสวัสดี การถามสารทุกข์ การอำลา หรือฝึก

การออกเสียงภาษาไทยให้ชัด และอาจต้องฝึกเขียน ฝึกสะกดคำ

คัดลายมือในบางโอกาสด้วย แต่ผมประเมินนิสิตชาวจีนกลุ่มนี้

ผิดไป นิสิตในชั้นเรียนมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ สามารถพูด ฟัง

อ่าน เขียน ได้อยู่ในขั้นดีมาก หากเทียบกับระยะเวลาแค่เพียง 1

ภาคเรียนที่ได้เริ่มเรียนภาษาไทย โชคดีที่ผมได้เตรียมเนื้อหา

ไปมากพอสมควร ผมจึงได้ปรับบทเรียนโดยมีการเพิ่มเติมวลี

และประโยคภาษาไทยที่มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันในระดับ

ที่สูงและซับซ้อนมากขึ้น มากกว่าแค่การทักทายเบื้องต้น หรือ

บทสนทนาในร้านอาหาร ผมได้สอนให้นิสิตได้เรียนรู้คำศัพท์

วลี และประโยคในสถานการณ์ที่ต้องไปพบแพทย์ บอกอาการ

เจ็บป่วย และรู้จักชื่อยาที่ใช้รักษาอาการต่างๆ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ

การบรรยายบุคลิกและลักษณะนิสัยของคน การเดินทาง

ท่องเที่ยวในประเทศไทย และการรับประทานอาหารพื้นเมือง

ของไทย ซึ่งตอนแรกอาจดูเหมือนกับว่าจะเป็นเรื่องที่ห่างไกลตัว

นิสิตสักหน่อย แต่นิสิตกลับให้ความสนใจอย่างมาก นั่นเป็น

เพราะในปีการศึกษา 2556 นิสิตทุกคนจะเดินทางมาศึกษา

ภาษาไทยเพิ่มเติม ที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่

เป็นระยะเวลา 1 ปี การได้รู้จักภาษา “คำเมือง” ที่ใช้เรียกชื่อ

“อาหารเมืองเหนือ” เท่ากับเป็นการเตรียมความพร้อมในการ

ใช้ชีวิตในเมืองเชียงใหม่ ที่มีการใช้ภาษาไทยกลางและภาษา

ไทยล้านนาควบคู่กันไป

อาจารย์มีข้อเสนอแนะสำหรับผู้ที ่จะสอนภาษาไทยให้กับ

ชาวต่างประเทศ หรือผู้สนใจควรจะรู้เรื่องอะไรบ้าง

นอกเหนือไปจากองค์ความรู้ทางด้านภาษา ศิลป-

วัฒนธรรมของไทยแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการควรมีความรู้พื้นฐาน

ในเชิงภาษาศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ของนักเรียนชาว

ต่างชาติที่เราจะสอนด้วย ความรู้นี้จะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้

การเรียนการสอนภาษาไทยเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น นั่นคือเราจะสามารถคาดคะเนปัญหาของผู้เรียน

ได้ก่อน เช่น การออกเสียง การจดจำคำศัพท์ การเรียงประโยค

แล้วจะได้เตรียมแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ก่อน หาวิธีการหรือเทคนิค

ที่จะช่วยให้นักเรียนก้าวข้ามความยากนี้ไปได้อย่างไม่ลำบากนัก

บางครั้งเราอาจมีการเชื่อมโยง เทียบเคียง หรือ เปรียบเหมือน

เปรียบต่าง ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมแม่ของนักเรียนต่างชาติ

กับภาษาและวัฒนธรรมไทย

อีกหนึ่งประเด็นที่สำคัญ หากเราไม่สามารถพูด

สื่อสารภาษาแม่ของนักเรียนชาวต่างชาติได้ เราควรจะมีทักษะ

การพูดฟังอ่านเขียนภาษาอังกฤษที ่ด ี

เพราะจากประสบการณ ์การสอน

ภาษาไทยให้กับนิสิตจีนนั้น นิสิต

ท ุกคนมีความร ู ้ภาษาอ ังกฤษที ่ด ี

ยามที ่น ิส ิตไม่เข ้าใจหรือไม่แน่ใจ

ตรงส่วนไหนของบทเรียน ผมก็

สามารถที ่จะสนทนา ทบทวน

ซักถามโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื ่อ

กลาง อีกทั้งหากผู้สอนภาษาไทย

ให้กับชาวต่างชาติ มีประสบการณ์

การสอนภาษาที่สองมาบ้าง และมีความรู้

เบื ้องต้นในศาสตร์การสอนภาษาที ่สอง

(Second Language Teaching) ศาสตร์

การเรียนรู้ภาษาที่สอง (Second Language

Acquisition) และศาสตร์การอ่าน การเขียนภาษา

ที่สอง (Second Language Literacy) ก็จะช่วยให้

การเรียนการสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สุดท้ายนี้อยากให้อาจารย์มีข้อเสนอแนะการไปสอนภาษา

ในต่างแดนอย่างไรบ้าง

ข้อได้เปรียบของการเรียนภาษา หรือเป็นอาจารย์

สอนภาษา คือการที่ได้มีโอกาสไปใช้ชีวิตต่างแดน ได้พบปะ

ผู้คนมากหน้าหลายตา ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมของ

ชาติพันธุ์ที่หลากหลาย แต่มีสิ่งหนึ่งที่ผมต้องเตรียมตัวทุกครั้ง

ก่อนออกเดินทางไปยังต่างแดน ไม่ใช่เสื้อผ้า ของที่ระลึก

เครื่องปรุงไทย วีซ่า หรือตั๋วเครื่องบิน แต่ต้องเตรียมเปิดใจ

ให้กว้างอย่างมาก เตรียมพร้อมที่จะยอมรับและปรับตัว

หลายครั้งผมต้องฝึกอดทนอดกลั้น เพื่อให้เวลากับตัวเราเอง

มากพอที่เราจะรู้สึกคุ้นชินและเข้าใจกับสภาพแวดล้อม สังคม

และวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ ผมรู้จักประเทศจีนมาตั้งแต่

เด็กๆ ทั้งที่รู้จักผ่านคนพูดกันปากต่อปาก ผ่านงานวรรณกรรม

ผ่านงานภาพยนตร์ และผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ บ่อยครั้งที่ผม

กลับไม่พบสิ่งที่เราได้ยินได้ฟังได้อ่านมาเลย หรืออาจเป็นไปได้

ว่าสิ่งที่เคยรู้มานั้น เป็นเรื่องของการใส่สีใส่ไข่จนเกินจริงไป

แต่ก็มีอีกหลายเหตุการณ์ ที่เป็นจริงและรุนแรงมากกว่าที่เคยรู้

หลายเท่าทวีคูณ ทั้งๆ ที่ในบางเรื่องผมได้เตรียมตัวเตรียมใจ

ไปอย่างดี แต่พอได้พบกับสภาพความจริง ก็ตกตะลึงเกินรับได้

จนเสียหลักไปบ้าง จนต้องรีบตั้งสติคิดทบทวนและบอกกับ

ตัวเองย้ำๆ ซ้ำๆ ว่า การได้เดินทางมาพำนักในต่างแดน ล้วนเป็น

กำไรของ “คนรักภาษา คนเรียนภาษา” เป็นกำไรชีวิต

ที่ไม่เพียงแต่ที่จะได้เรียนรู้คนต่างชาติต่างภาษาต่างวัฒนธรรม

เท่านั้น แต่ที่สำคัญ เรายังได้รู้จักตัวตนของเราเองมากยิ่งขึ้น

อีกด้วย

ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณ ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร

ดร.อภิชัย รุ่งเรือง และ อาจารย์อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์ ที่ได้

ช่วยแนะนำและเอื ้อเฟื ้อหนังสือตำราที่เกี ่ยวข้องกับการสอน

ภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ ขอขอบคุณ ดร.ศศิธร จันทโรทัย

และ ผศ.เอกสัณห์ ชินอัครพงษ์ ที่ได้ให้ข้อมูลเชิงลึกด้านภาษา

และวัฒนธรรมจีน จนผมสามารถนำไปใช้เพื่อปรับตัวใน

ประเทศจีน ตลอดระยะเวลา 4 เดือนได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยัง

ขอขอบคุณ อาจารย์พัฒน์ วัฒนสินธุ์ ที่ได้แนะนำโครงการนี้

พร้อมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน และความเป็นอยู่

ที่มหาวิทยาลัยเจ้าภาพ

รูจักเขา...รูจักเรา้ ้ผ่านการสอนภาษาไทยในต่างประเทศ

Page 4: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 25554

ขอให้อาจารย์เล่าถึงที่มาของการเดินทางไปสอนภาษาไทย

ให้กับ ชาวจีนที่คุนหมิง

ในช่วงระหว่างเดือน มีนาคม ถึง มิถุนายน ผมได้รับ

คัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้เข้าร่วม

โครงการแลกเปลี ่ยนบุคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศ

อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง หรือใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Staff

and Student Exchange Program between Thailand and

Greater Mekong Sub-Region (GMS) Countries โดยเดินทาง

ไปปฏิบัติงานราชการที่สำนักวิชาภาษาต่างประเทศ (School of

Foreign Languages) มหาวิทยาลัยยูนนานนอร์มอล (Yunnan

Normal University) ณ เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรฯ นั้นเป็นโครงการ

ที ่อยู ่ภายใต้โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน

อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง 6

ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน

โครงการนี้ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 มีเป้าหมาย

ที ่จะเสริมสร้างและส่งเสริมความร่วมมือกันในด้านการค้า

ด้านการลงทุน ด้านแรงงาน ด้านเทคโนโลยี และด้านการศึกษา

โดยที่โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรฯ นั้นจัดตั้งขึ้นเพื่อที่รองรับ

นโยบายด ้านความร ่วมม ือทางด ้านการศ ึกษาโดยตรง

มีจุดประสงค์ที ่จะส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางด้าน

วิชาการให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นในภูมิภาค

สำหรับขั้นตอนการสมัครนั้น ไม่ได้ยุ่งยากซับซ้อน

มากนัก เพียงแต่ต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เตรียมหลักฐาน

ที่จำเป็นให้พร้อมก่อนเดือนกันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่โครงการ

แลกเปลี่ยนบุคลากรฯ จะเปิดรับสมัคร ดังนั้นผู้ที่สนใจจะต้อง

เตร ียมหล ักฐานประกอบการสม ัครด ังต ่อไปน ี ้ ให ้พร ้อม

หลักฐานแรกคือ หนังสือตอบรับจากสถาบันอุดมศึกษา

ในประเทศอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยที่จะต้องระบุลักษณะ

กิจกรรมที่ชัดเจนพร้อมทั้งมีกำหนดระยะเวลาเข้าร่วมโครงการ

ที่แน่นอน ผู้สมัครจะต้องติดต่อกับสถาบันอุดมศึกษาเจ้าภาพ

ในประเทศกลุ่มลุ่มแม่น้ำโขงและดำเนินการขอหนังสือตอบรับ

เอง ส่วนหลักฐานที่สอง คือ หลักฐานแสดงความสามารถ

ในการใช้ภาษาอังกฤษหรือภาษาที่ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน

ในสถาบันเจ้าภาพที่จะไปแลกเปลี่ยน เมื่อมีหลักฐานครบ

ทั้งสองอย่างแล้ว จึงแนบส่งเรื่องไปพร้อมกับใบสมัครเข้าร่วม

โครงการผ่านทางงานวิเทศสัมพันธ์ หากในสถาบันมีผู้สมัคร

เกินกว่า 1 คน ทางมหาวิทยาลัยจะคัดเลือกให้เหลือผู้สมัคร

เพียง 1 คน ก่อนส่งเรื่องต่อไปยังสำนักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา เพื่อดำเนินการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการในระดับ

ต่อไป

อาจารย์ไปสอนอะไรบ้าง มีการเตรียมตัวอย่างไร

ทางมหาว ิทยาล ัย เจ ้ าภาพได ้มอบหมายให ้ผม

รับผิดชอบ 3 รายวิชา นั้นคือ 1. สอนรายวิชาการสนทนา

ภาษาไทยเบื้องต้น (Thai Basic Conversation) ให้กับ

นิสิตเอกภาษาไทย 2. สอนรายวิชาวัฒนธรรมไทย (Thai

Culture) ให้กับนิสิตเอกการท่องเที่ยวภาษาอังกฤษ และ

3. ร่วมบรรยายในประเด็น Controversial Issues in Applied

Linguistics ให้กับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษ

สำหรับรายวิชาการสนทนาภาษาไทยเบื้องต้น ผมได้

ขอคำปรึกษาจากคณาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ ที่มี

ประสบการณ์การสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ อันได้แก่

ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร ดร.อภิชัย รุ่งเรือง และ

อาจารย์อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์ นอกจากที่อาจารย์ทั้งสามท่าน

จะได้บอกเล่าประสบการณ์และแนวทางการสอน ท่านยัง

เอื้อเฟื้อตำรา พร้อมแนะนำหนังสือที่เหมาะสมต่อการเรียน

การสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติด้วย นอกจากนี้ผมยังได้

ศึกษาวลีและประโยคภาษาไทยที่จำเป็นต่อการสื่อสารในชีวิต

ประจำวันเพิ่มเติมจากหนังสือ Lonely Planet: Thai Phrasebook

แต่งโดย Bruce Evans พร้อมทั้งเทียบเคียงวลีและประโยค

ภาษาไทยกับวลีและประโยคภาษาจีนกลางกับหนังสือ Lonely

Planet: Mandarin Chinese Phrasebook ซึ่งแต่งโดย Anthony

Garnaut

ในรายวิชาวัฒนธรรมไทย ผมได้อ่านเนื้อหาเพิ่มเติม

และศึกษามุมมองหลากหลายผ่านหนังสือ Thai Ways และ More

Thai Ways แต่งโดย Denis Segaller หนังสือ A Common Core:

Thais and Americans แต่งโดย John Paul Fieg หนังสือ Very

Thai: Everyday Popular Culture แต่งโดย Philip Cornwel-Smith

และ John Goss หนังสือ Culture Shock Thailand: A Survival

Guide to Customs and Etiquette แต่งโดย Robert Cooper

และเล่มสุดท้ายคือ หนังสือ Thai Culture in Transition:

Collected Writings of William J. Klausner แต่งโดย William

J. Klausner นอกเหนือไปจากข้อมูลที่ได้จากหนังสือแล้วนั้น

ผมยังได้สัมภาษณ์ นิสิตชาวต่างชาติที่กำลังเรียนที่มหาวิทยาลัย

นเรศวร ว่ามีประเด็นใดของวัฒนธรรมไทยที่มีความสนใจ

มากเป็นพิเศษ และน่าที่จะได้มีการสอนเพิ่มเติมหรือเปิด

อภิปรายในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น

ส่วนในการบรรยายประเด็นเรื่อง Controversial Issues

in Applied Linguistics นั้น ผมไม่ได้เตรียมตัวอะไรมากนัก

เนื่องจากเป็นเนื้อหาที่สอนเป็นประจำในรายวิชา Current

Issues in Approaches to Teaching English as a Foreign

Language อยู่แล้ว เพียงแต่เพิ่มเติมหรือผนวกตัวอย่าง

สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศจีนเข้าไปในเนื้อหาให้มากยิ่งขึ้น

เวลาสอนจริง เหมือนที่คาดคิดหรือเตรียมไว้หรือไม่ อาจารย์

พบปัญหาอะไร และมีวิธีการแก้ไขอย่างไร

ผมได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นมาว่า นิสิตจีนกลุ่มที่จะไป

สอนนั้น เรียนภาษาไทยมาเพียงแค่หนึ่งเทอมเท่านั้น ผมเลย

เข้าใจว่านิสิตคงจะพูดฟังอ่านเขียนไทยได้น้อย และไม่

คล่องแคล่วในการใช้ภาษาไทยเท่าที่ควร ผมจึงคาดว่าตลอด 4

เดือนที่จะไปสอน คงจะใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับบทสนทนา

พื้นฐาน เช่น การสวัสดี การถามสารทุกข์ การอำลา หรือฝึก

การออกเสียงภาษาไทยให้ชัด และอาจต้องฝึกเขียน ฝึกสะกดคำ

คัดลายมือในบางโอกาสด้วย แต่ผมประเมินนิสิตชาวจีนกลุ่มนี้

ผิดไป นิสิตในชั้นเรียนมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ สามารถพูด ฟัง

อ่าน เขียน ได้อยู่ในขั้นดีมาก หากเทียบกับระยะเวลาแค่เพียง 1

ภาคเรียนที่ได้เริ่มเรียนภาษาไทย โชคดีที่ผมได้เตรียมเนื้อหา

ไปมากพอสมควร ผมจึงได้ปรับบทเรียนโดยมีการเพิ่มเติมวลี

และประโยคภาษาไทยที่มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันในระดับ

ที่สูงและซับซ้อนมากขึ้น มากกว่าแค่การทักทายเบื้องต้น หรือ

บทสนทนาในร้านอาหาร ผมได้สอนให้นิสิตได้เรียนรู้คำศัพท์

วลี และประโยคในสถานการณ์ที่ต้องไปพบแพทย์ บอกอาการ

เจ็บป่วย และรู้จักชื่อยาที่ใช้รักษาอาการต่างๆ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ

การบรรยายบุคลิกและลักษณะนิสัยของคน การเดินทาง

ท่องเที่ยวในประเทศไทย และการรับประทานอาหารพื้นเมือง

ของไทย ซึ่งตอนแรกอาจดูเหมือนกับว่าจะเป็นเรื่องที่ห่างไกลตัว

นิสิตสักหน่อย แต่นิสิตกลับให้ความสนใจอย่างมาก นั่นเป็น

เพราะในปีการศึกษา 2556 นิสิตทุกคนจะเดินทางมาศึกษา

ภาษาไทยเพิ่มเติม ที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่

เป็นระยะเวลา 1 ปี การได้รู้จักภาษา “คำเมือง” ที่ใช้เรียกชื่อ

“อาหารเมืองเหนือ” เท่ากับเป็นการเตรียมความพร้อมในการ

ใช้ชีวิตในเมืองเชียงใหม่ ที่มีการใช้ภาษาไทยกลางและภาษา

ไทยล้านนาควบคู่กันไป

อาจารย์มีข้อเสนอแนะสำหรับผู้ที ่จะสอนภาษาไทยให้กับ

ชาวต่างประเทศ หรือผู้สนใจควรจะรู้เรื่องอะไรบ้าง

นอกเหนือไปจากองค์ความรู้ทางด้านภาษา ศิลป-

วัฒนธรรมของไทยแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการควรมีความรู้พื้นฐาน

ในเชิงภาษาศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ของนักเรียนชาว

ต่างชาติที่เราจะสอนด้วย ความรู้นี้จะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้

การเรียนการสอนภาษาไทยเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น นั่นคือเราจะสามารถคาดคะเนปัญหาของผู้เรียน

ได้ก่อน เช่น การออกเสียง การจดจำคำศัพท์ การเรียงประโยค

แล้วจะได้เตรียมแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ก่อน หาวิธีการหรือเทคนิค

ที่จะช่วยให้นักเรียนก้าวข้ามความยากนี้ไปได้อย่างไม่ลำบากนัก

บางครั้งเราอาจมีการเชื่อมโยง เทียบเคียง หรือ เปรียบเหมือน

เปรียบต่าง ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมแม่ของนักเรียนต่างชาติ

กับภาษาและวัฒนธรรมไทย

อีกหนึ่งประเด็นที่สำคัญ หากเราไม่สามารถพูด

สื่อสารภาษาแม่ของนักเรียนชาวต่างชาติได้ เราควรจะมีทักษะ

การพูดฟังอ่านเขียนภาษาอังกฤษที ่ด ี

เพราะจากประสบการณ ์การสอน

ภาษาไทยให้กับนิสิตจีนนั้น นิสิต

ท ุกคนมีความร ู ้ภาษาอ ังกฤษที ่ด ี

ยามที ่น ิส ิตไม่เข ้าใจหรือไม่แน่ใจ

ตรงส่วนไหนของบทเรียน ผมก็

สามารถที ่จะสนทนา ทบทวน

ซักถามโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื ่อ

กลาง อีกทั้งหากผู้สอนภาษาไทย

ให้กับชาวต่างชาติ มีประสบการณ์

การสอนภาษาที่สองมาบ้าง และมีความรู้

เบื ้องต้นในศาสตร์การสอนภาษาที ่สอง

(Second Language Teaching) ศาสตร์

การเรียนรู้ภาษาที่สอง (Second Language

Acquisition) และศาสตร์การอ่าน การเขียนภาษา

ที่สอง (Second Language Literacy) ก็จะช่วยให้

การเรียนการสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สุดท้ายนี้อยากให้อาจารย์มีข้อเสนอแนะการไปสอนภาษา

ในต่างแดนอย่างไรบ้าง

ข้อได้เปรียบของการเรียนภาษา หรือเป็นอาจารย์

สอนภาษา คือการที่ได้มีโอกาสไปใช้ชีวิตต่างแดน ได้พบปะ

ผู้คนมากหน้าหลายตา ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมของ

ชาติพันธุ์ที่หลากหลาย แต่มีสิ่งหนึ่งที่ผมต้องเตรียมตัวทุกครั้ง

ก่อนออกเดินทางไปยังต่างแดน ไม่ใช่เสื้อผ้า ของที่ระลึก

เครื่องปรุงไทย วีซ่า หรือตั๋วเครื่องบิน แต่ต้องเตรียมเปิดใจ

ให้กว้างอย่างมาก เตรียมพร้อมที่จะยอมรับและปรับตัว

หลายครั้งผมต้องฝึกอดทนอดกลั้น เพื่อให้เวลากับตัวเราเอง

มากพอที่เราจะรู้สึกคุ้นชินและเข้าใจกับสภาพแวดล้อม สังคม

และวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ ผมรู้จักประเทศจีนมาตั้งแต่

เด็กๆ ทั้งที่รู้จักผ่านคนพูดกันปากต่อปาก ผ่านงานวรรณกรรม

ผ่านงานภาพยนตร์ และผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ บ่อยครั้งที่ผม

กลับไม่พบสิ่งที่เราได้ยินได้ฟังได้อ่านมาเลย หรืออาจเป็นไปได้

ว่าสิ่งที่เคยรู้มานั้น เป็นเรื่องของการใส่สีใส่ไข่จนเกินจริงไป

แต่ก็มีอีกหลายเหตุการณ์ ที่เป็นจริงและรุนแรงมากกว่าที่เคยรู้

หลายเท่าทวีคูณ ทั้งๆ ที่ในบางเรื่องผมได้เตรียมตัวเตรียมใจ

ไปอย่างดี แต่พอได้พบกับสภาพความจริง ก็ตกตะลึงเกินรับได้

จนเสียหลักไปบ้าง จนต้องรีบตั้งสติคิดทบทวนและบอกกับ

ตัวเองย้ำๆ ซ้ำๆ ว่า การได้เดินทางมาพำนักในต่างแดน ล้วนเป็น

กำไรของ “คนรักภาษา คนเรียนภาษา” เป็นกำไรชีวิต

ที่ไม่เพียงแต่ที่จะได้เรียนรู้คนต่างชาติต่างภาษาต่างวัฒนธรรม

เท่านั้น แต่ที่สำคัญ เรายังได้รู้จักตัวตนของเราเองมากยิ่งขึ้น

อีกด้วย

ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณ ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร

ดร.อภิชัย รุ่งเรือง และ อาจารย์อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์ ที่ได้

ช่วยแนะนำและเอื ้อเฟื ้อหนังสือตำราที่เกี ่ยวข้องกับการสอน

ภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ ขอขอบคุณ ดร.ศศิธร จันทโรทัย

และ ผศ.เอกสัณห์ ชินอัครพงษ์ ที่ได้ให้ข้อมูลเชิงลึกด้านภาษา

และวัฒนธรรมจีน จนผมสามารถนำไปใช้เพื่อปรับตัวใน

ประเทศจีน ตลอดระยะเวลา 4 เดือนได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยัง

ขอขอบคุณ อาจารย์พัฒน์ วัฒนสินธุ์ ที่ได้แนะนำโครงการนี้

พร้อมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน และความเป็นอยู่

ที่มหาวิทยาลัยเจ้าภาพ

นาน

าทรร

ศน

ะดร

.พงศ

กร

เมธีธ

รรม

Page 5: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 2555 5

ขอให้อาจารย์เล่าถึงที่มาของการเดินทางไปสอนภาษาไทย

ให้กับ ชาวจีนที่คุนหมิง

ในช่วงระหว่างเดือน มีนาคม ถึง มิถุนายน ผมได้รับ

คัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้เข้าร่วม

โครงการแลกเปลี ่ยนบุคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศ

อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง หรือใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Staff

and Student Exchange Program between Thailand and

Greater Mekong Sub-Region (GMS) Countries โดยเดินทาง

ไปปฏิบัติงานราชการที่สำนักวิชาภาษาต่างประเทศ (School of

Foreign Languages) มหาวิทยาลัยยูนนานนอร์มอล (Yunnan

Normal University) ณ เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรฯ นั้นเป็นโครงการ

ที ่อยู ่ภายใต้โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน

อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง 6

ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน

โครงการนี้ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 มีเป้าหมาย

ที ่จะเสริมสร้างและส่งเสริมความร่วมมือกันในด้านการค้า

ด้านการลงทุน ด้านแรงงาน ด้านเทคโนโลยี และด้านการศึกษา

โดยที่โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรฯ นั้นจัดตั้งขึ้นเพื่อที่รองรับ

นโยบายด ้านความร ่วมม ือทางด ้านการศ ึกษาโดยตรง

มีจุดประสงค์ที ่จะส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางด้าน

วิชาการให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นในภูมิภาค

สำหรับขั้นตอนการสมัครนั้น ไม่ได้ยุ่งยากซับซ้อน

มากนัก เพียงแต่ต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เตรียมหลักฐาน

ที่จำเป็นให้พร้อมก่อนเดือนกันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่โครงการ

แลกเปลี่ยนบุคลากรฯ จะเปิดรับสมัคร ดังนั้นผู้ที่สนใจจะต้อง

เตร ียมหล ักฐานประกอบการสม ัครด ังต ่อไปน ี ้ ให ้พร ้อม

หลักฐานแรกคือ หนังสือตอบรับจากสถาบันอุดมศึกษา

ในประเทศอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยที่จะต้องระบุลักษณะ

กิจกรรมที่ชัดเจนพร้อมทั้งมีกำหนดระยะเวลาเข้าร่วมโครงการ

ที่แน่นอน ผู้สมัครจะต้องติดต่อกับสถาบันอุดมศึกษาเจ้าภาพ

ในประเทศกลุ่มลุ่มแม่น้ำโขงและดำเนินการขอหนังสือตอบรับ

เอง ส่วนหลักฐานที่สอง คือ หลักฐานแสดงความสามารถ

ในการใช้ภาษาอังกฤษหรือภาษาที่ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน

ในสถาบันเจ้าภาพที่จะไปแลกเปลี่ยน เมื่อมีหลักฐานครบ

ทั้งสองอย่างแล้ว จึงแนบส่งเรื่องไปพร้อมกับใบสมัครเข้าร่วม

โครงการผ่านทางงานวิเทศสัมพันธ์ หากในสถาบันมีผู้สมัคร

เกินกว่า 1 คน ทางมหาวิทยาลัยจะคัดเลือกให้เหลือผู้สมัคร

เพียง 1 คน ก่อนส่งเรื่องต่อไปยังสำนักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา เพื่อดำเนินการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการในระดับ

ต่อไป

อาจารย์ไปสอนอะไรบ้าง มีการเตรียมตัวอย่างไร

ทางมหาว ิทยาล ัย เจ ้ าภาพได ้มอบหมายให ้ผม

รับผิดชอบ 3 รายวิชา นั้นคือ 1. สอนรายวิชาการสนทนา

ภาษาไทยเบื้องต้น (Thai Basic Conversation) ให้กับ

นิสิตเอกภาษาไทย 2. สอนรายวิชาวัฒนธรรมไทย (Thai

Culture) ให้กับนิสิตเอกการท่องเที่ยวภาษาอังกฤษ และ

3. ร่วมบรรยายในประเด็น Controversial Issues in Applied

Linguistics ให้กับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษ

สำหรับรายวิชาการสนทนาภาษาไทยเบื้องต้น ผมได้

ขอคำปรึกษาจากคณาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ ที่มี

ประสบการณ์การสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ อันได้แก่

ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร ดร.อภิชัย รุ่งเรือง และ

อาจารย์อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์ นอกจากที่อาจารย์ทั้งสามท่าน

จะได้บอกเล่าประสบการณ์และแนวทางการสอน ท่านยัง

เอื้อเฟื้อตำรา พร้อมแนะนำหนังสือที่เหมาะสมต่อการเรียน

การสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติด้วย นอกจากนี้ผมยังได้

ศึกษาวลีและประโยคภาษาไทยที่จำเป็นต่อการสื่อสารในชีวิต

ประจำวันเพิ่มเติมจากหนังสือ Lonely Planet: Thai Phrasebook

แต่งโดย Bruce Evans พร้อมทั้งเทียบเคียงวลีและประโยค

ภาษาไทยกับวลีและประโยคภาษาจีนกลางกับหนังสือ Lonely

Planet: Mandarin Chinese Phrasebook ซึ่งแต่งโดย Anthony

Garnaut

ในรายวิชาวัฒนธรรมไทย ผมได้อ่านเนื้อหาเพิ่มเติม

และศึกษามุมมองหลากหลายผ่านหนังสือ Thai Ways และ More

Thai Ways แต่งโดย Denis Segaller หนังสือ A Common Core:

Thais and Americans แต่งโดย John Paul Fieg หนังสือ Very

Thai: Everyday Popular Culture แต่งโดย Philip Cornwel-Smith

และ John Goss หนังสือ Culture Shock Thailand: A Survival

Guide to Customs and Etiquette แต่งโดย Robert Cooper

และเล่มสุดท้ายคือ หนังสือ Thai Culture in Transition:

Collected Writings of William J. Klausner แต่งโดย William

J. Klausner นอกเหนือไปจากข้อมูลที่ได้จากหนังสือแล้วนั้น

ผมยังได้สัมภาษณ์ นิสิตชาวต่างชาติที่กำลังเรียนที่มหาวิทยาลัย

นเรศวร ว่ามีประเด็นใดของวัฒนธรรมไทยที่มีความสนใจ

มากเป็นพิเศษ และน่าที่จะได้มีการสอนเพิ่มเติมหรือเปิด

อภิปรายในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น

ส่วนในการบรรยายประเด็นเรื่อง Controversial Issues

in Applied Linguistics นั้น ผมไม่ได้เตรียมตัวอะไรมากนัก

เนื่องจากเป็นเนื้อหาที่สอนเป็นประจำในรายวิชา Current

Issues in Approaches to Teaching English as a Foreign

Language อยู่แล้ว เพียงแต่เพิ่มเติมหรือผนวกตัวอย่าง

สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศจีนเข้าไปในเนื้อหาให้มากยิ่งขึ้น

เวลาสอนจริง เหมือนที่คาดคิดหรือเตรียมไว้หรือไม่ อาจารย์

พบปัญหาอะไร และมีวิธีการแก้ไขอย่างไร

ผมได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นมาว่า นิสิตจีนกลุ่มที่จะไป

สอนนั้น เรียนภาษาไทยมาเพียงแค่หนึ่งเทอมเท่านั้น ผมเลย

เข้าใจว่านิสิตคงจะพูดฟังอ่านเขียนไทยได้น้อย และไม่

คล่องแคล่วในการใช้ภาษาไทยเท่าที่ควร ผมจึงคาดว่าตลอด 4

เดือนที่จะไปสอน คงจะใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับบทสนทนา

พื้นฐาน เช่น การสวัสดี การถามสารทุกข์ การอำลา หรือฝึก

การออกเสียงภาษาไทยให้ชัด และอาจต้องฝึกเขียน ฝึกสะกดคำ

คัดลายมือในบางโอกาสด้วย แต่ผมประเมินนิสิตชาวจีนกลุ่มนี้

ผิดไป นิสิตในชั้นเรียนมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ สามารถพูด ฟัง

อ่าน เขียน ได้อยู่ในขั้นดีมาก หากเทียบกับระยะเวลาแค่เพียง 1

ภาคเรียนที่ได้เริ่มเรียนภาษาไทย โชคดีที่ผมได้เตรียมเนื้อหา

ไปมากพอสมควร ผมจึงได้ปรับบทเรียนโดยมีการเพิ่มเติมวลี

และประโยคภาษาไทยที่มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันในระดับ

ที่สูงและซับซ้อนมากขึ้น มากกว่าแค่การทักทายเบื้องต้น หรือ

บทสนทนาในร้านอาหาร ผมได้สอนให้นิสิตได้เรียนรู้คำศัพท์

วลี และประโยคในสถานการณ์ที่ต้องไปพบแพทย์ บอกอาการ

เจ็บป่วย และรู้จักชื่อยาที่ใช้รักษาอาการต่างๆ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ

การบรรยายบุคลิกและลักษณะนิสัยของคน การเดินทาง

ท่องเที่ยวในประเทศไทย และการรับประทานอาหารพื้นเมือง

ของไทย ซึ่งตอนแรกอาจดูเหมือนกับว่าจะเป็นเรื่องที่ห่างไกลตัว

นิสิตสักหน่อย แต่นิสิตกลับให้ความสนใจอย่างมาก นั่นเป็น

เพราะในปีการศึกษา 2556 นิสิตทุกคนจะเดินทางมาศึกษา

ภาษาไทยเพิ่มเติม ที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่

เป็นระยะเวลา 1 ปี การได้รู้จักภาษา “คำเมือง” ที่ใช้เรียกชื่อ

“อาหารเมืองเหนือ” เท่ากับเป็นการเตรียมความพร้อมในการ

ใช้ชีวิตในเมืองเชียงใหม่ ที่มีการใช้ภาษาไทยกลางและภาษา

ไทยล้านนาควบคู่กันไป

อาจารย์มีข้อเสนอแนะสำหรับผู้ที ่จะสอนภาษาไทยให้กับ

ชาวต่างประเทศ หรือผู้สนใจควรจะรู้เรื่องอะไรบ้าง

นอกเหนือไปจากองค์ความรู้ทางด้านภาษา ศิลป-

วัฒนธรรมของไทยแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการควรมีความรู้พื้นฐาน

ในเชิงภาษาศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ของนักเรียนชาว

ต่างชาติที่เราจะสอนด้วย ความรู้นี้จะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้

การเรียนการสอนภาษาไทยเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น นั่นคือเราจะสามารถคาดคะเนปัญหาของผู้เรียน

ได้ก่อน เช่น การออกเสียง การจดจำคำศัพท์ การเรียงประโยค

แล้วจะได้เตรียมแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ก่อน หาวิธีการหรือเทคนิค

ที่จะช่วยให้นักเรียนก้าวข้ามความยากนี้ไปได้อย่างไม่ลำบากนัก

บางครั้งเราอาจมีการเชื่อมโยง เทียบเคียง หรือ เปรียบเหมือน

เปรียบต่าง ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมแม่ของนักเรียนต่างชาติ

กับภาษาและวัฒนธรรมไทย

อีกหนึ่งประเด็นที่สำคัญ หากเราไม่สามารถพูด

สื่อสารภาษาแม่ของนักเรียนชาวต่างชาติได้ เราควรจะมีทักษะ

การพูดฟังอ่านเขียนภาษาอังกฤษที ่ด ี

เพราะจากประสบการณ ์การสอน

ภาษาไทยให้กับนิสิตจีนนั้น นิสิต

ท ุกคนมีความร ู ้ภาษาอ ังกฤษที ่ด ี

ยามที ่น ิส ิตไม่เข ้าใจหรือไม่แน่ใจ

ตรงส่วนไหนของบทเรียน ผมก็

สามารถที ่จะสนทนา ทบทวน

ซักถามโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื ่อ

กลาง อีกทั้งหากผู้สอนภาษาไทย

ให้กับชาวต่างชาติ มีประสบการณ์

การสอนภาษาที่สองมาบ้าง และมีความรู้

เบื ้องต้นในศาสตร์การสอนภาษาที ่สอง

(Second Language Teaching) ศาสตร์

การเรียนรู้ภาษาที่สอง (Second Language

Acquisition) และศาสตร์การอ่าน การเขียนภาษา

ที่สอง (Second Language Literacy) ก็จะช่วยให้

การเรียนการสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สุดท้ายนี้อยากให้อาจารย์มีข้อเสนอแนะการไปสอนภาษา

ในต่างแดนอย่างไรบ้าง

ข้อได้เปรียบของการเรียนภาษา หรือเป็นอาจารย์

สอนภาษา คือการที่ได้มีโอกาสไปใช้ชีวิตต่างแดน ได้พบปะ

ผู้คนมากหน้าหลายตา ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมของ

ชาติพันธุ์ที่หลากหลาย แต่มีสิ่งหนึ่งที่ผมต้องเตรียมตัวทุกครั้ง

ก่อนออกเดินทางไปยังต่างแดน ไม่ใช่เสื้อผ้า ของที่ระลึก

เครื่องปรุงไทย วีซ่า หรือตั๋วเครื่องบิน แต่ต้องเตรียมเปิดใจ

ให้กว้างอย่างมาก เตรียมพร้อมที่จะยอมรับและปรับตัว

หลายครั้งผมต้องฝึกอดทนอดกลั้น เพื่อให้เวลากับตัวเราเอง

มากพอที่เราจะรู้สึกคุ้นชินและเข้าใจกับสภาพแวดล้อม สังคม

และวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ ผมรู้จักประเทศจีนมาตั้งแต่

เด็กๆ ทั้งที่รู้จักผ่านคนพูดกันปากต่อปาก ผ่านงานวรรณกรรม

ผ่านงานภาพยนตร์ และผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ บ่อยครั้งที่ผม

กลับไม่พบสิ่งที่เราได้ยินได้ฟังได้อ่านมาเลย หรืออาจเป็นไปได้

ว่าสิ่งที่เคยรู้มานั้น เป็นเรื่องของการใส่สีใส่ไข่จนเกินจริงไป

แต่ก็มีอีกหลายเหตุการณ์ ที่เป็นจริงและรุนแรงมากกว่าที่เคยรู้

หลายเท่าทวีคูณ ทั้งๆ ที่ในบางเรื่องผมได้เตรียมตัวเตรียมใจ

ไปอย่างดี แต่พอได้พบกับสภาพความจริง ก็ตกตะลึงเกินรับได้

จนเสียหลักไปบ้าง จนต้องรีบตั้งสติคิดทบทวนและบอกกับ

ตัวเองย้ำๆ ซ้ำๆ ว่า การได้เดินทางมาพำนักในต่างแดน ล้วนเป็น

กำไรของ “คนรักภาษา คนเรียนภาษา” เป็นกำไรชีวิต

ที่ไม่เพียงแต่ที่จะได้เรียนรู้คนต่างชาติต่างภาษาต่างวัฒนธรรม

เท่านั้น แต่ที่สำคัญ เรายังได้รู้จักตัวตนของเราเองมากยิ่งขึ้น

อีกด้วย

ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณ ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร

ดร.อภิชัย รุ่งเรือง และ อาจารย์อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์ ที่ได้

ช่วยแนะนำและเอื ้อเฟื ้อหนังสือตำราที่เกี ่ยวข้องกับการสอน

ภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ ขอขอบคุณ ดร.ศศิธร จันทโรทัย

และ ผศ.เอกสัณห์ ชินอัครพงษ์ ที่ได้ให้ข้อมูลเชิงลึกด้านภาษา

และวัฒนธรรมจีน จนผมสามารถนำไปใช้เพื่อปรับตัวใน

ประเทศจีน ตลอดระยะเวลา 4 เดือนได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยัง

ขอขอบคุณ อาจารย์พัฒน์ วัฒนสินธุ์ ที่ได้แนะนำโครงการนี้

พร้อมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน และความเป็นอยู่

ที่มหาวิทยาลัยเจ้าภาพ

นาน

าทรร

ศน

ะดร

.พงศ

กร

เมธีธ

รรม

5

6

Page 6: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 25556

ข ้อมูลจากการจัดการองค์ความรู ้ย ังกล่าวถึงข ้อ

ถกเถียงในการจัดการเรียนการสอนที่ยังไม่สามารถยุติได้

นั่นคือประเด็นเกี่ยวกับภาษาที่ควรใช้ในการเรียนการสอนวิชา

ภาษาต่างประเทศ คณาจารย์บางท่านใช้ภาษาแม่ของผู้เรียน

เพื่อช่วยให้การบรรยายเกิดความชัดเจน ในขณะที่อาจารย์

อีกกลุ ่มปฏิเสธการใช้ภาษาแม่ของผู ้เรียนและสร้างความ

ท้าทายในห้องเรียนด้วยการสื ่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ

ตลอดเวลา สำหรับภาควิชาภาษาตะวันตก นิสิตบางส่วน

ได้เสนอให้ใช้เฉพาะภาษาต่างประเทศเป็นสื ่อในการเรียน

การสอน ในขณะที่นิสิตอีกส่วนหนึ่งยังคงต้องการให้ผู้สอน

ใช้ภาษาไทยควบคู่ไปกับภาษาต่างประเทศ เนื่องจากการใช้

ภาษาไทยอาจทำให้การอธิบายความรู้ต่างๆ ชัดเจน และ

รวดเร็วแก่การเข้าใจ

สำหรับภาควิชาภาษาตะวันตก การจัดการองค์

ความรู้ ทำให้ได้ข้อสรุปว่า คณาจารย์ยังไม่ควรรีบปฏิเสธ

การสอดแทรกภาษาไทยเป็นสื่อในการเรียนการสอน และใน

ขณะเดียวกันก็ไม่ควรมองข้ามความสำคัญของการสื่อสารกับ

ผู้เรียนด้วยภาษาต่างประเทศ คณาจารย์จึงจำเป็นต้องสังเกต

บรรยากาศของห้องเรียนและเลือกใช้ภาษาในการสื่อสารกับ

ผู้เรียนให้เหมาะสมกับโอกาส

นอกเหนือจากประเด็นเร ื ่องภาษาในห้องเร ียน

การจัดการองค์ความรู้ยังสนับสนุนให้มีการผสมผสานวิธีการ

สอนแบบห้องบรรยายเข้ากับวิธีการสอนแบบใหม่ ซึ่งจะอาศัย

เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อช่วยในการเรียนรู้ การเปิดห้องเรียนสู่

เทคโนโลยีและกลวิธีใหม่ๆ จะเป็นการเปิดแวดวงการเรียน

ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสสู่การศึกษาวิจัยแนวใหม่ที่มีคุณค่า

อีกด้วย

การจัดการองค์ความรู้ยังทำให้เกิดข้อเสนอที่สำคัญ

อีกประการคือ ถึงเวลาแล้วที่ภาควิชาภาษาตะวันตกจะต้อง

จัดทีมวิจัยการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส

ในบริบทของมหาวิทยาลัยนเรศวร ทั้งหมดก็เพื่อพัฒนา

คุณภาพนิสิตในสองสาขาวิชาที่ประกอบขึ้นเป็นภาควิชาภาษา

ตะวันตกของเรา

เรียบเรียงจาก รายงาน KM Project ภาควิชาภาษาตะวันตก

http://www.human.nu.ac.th/th/docs/download/QA-

KM%20project-West.pdf

นาน

าสาร

ะทาง

วิชาก

าร

ปัจจุบัน การจัดการองค์ความรู้ หรือ knowledge

management กลายเป็นวิธีการที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย

ในการแก้ปัญหาและการบรรลุเป้าหมายต่างๆ ของสถาบัน

การศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันตกได้นำวิธีการดังกล่าวมาใช้

เพื่อพัฒนานิสิตในสาขาวิชาภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส

ซึ่งเป็นสองวิชาเอกที่เปิดสอนในภาควิชา ณ เวลานี้

จากข้อมูลการจัดการองค์ความรู้พบว่า นิสิตภาควิชา

ภาษาตะวันตกมักขาดแรงจูงใจในการเรียนกระบวนวิชาเอก

แต่กลับมีความสนใจและกระตือรือร้นมากกว่าในชั ้นเรียน

ภาษาอื่นๆ หรือวิชาเลือกเสรีนอกสาขา นอกจากนี้นิสิตของ

ภาควิชาภาษาตะวันตกยังขาดทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ ซึ่งเป็น

ทักษะที่จำเป็นในวงวิชาการสมัยใหม่ และยังจะเป็นประโยชน์

ต่อนิสิตในโลกของการทำงาน เห็นได้ว่าตำแหน่งหน้าที่สำคัญๆ

ในโลกของการทำงานมักตกเป็นของบุคลที่มีความสามารถใน

การคิดเชิงวิพากษ์ การเสริมทักษะดังกล่าวจึงเป็นสิ่งสำคัญ

และเร่งด่วนในการพัฒนาคุณภาพนิสิต

สำหรับปัญหาการขาดแรงจูงใจในชั้นเรียนกระบวน

วิชาเอก ข้อมูลจากการจัดการองค์ความรู้ชี้ให้เห็นว่า ผู้สอน

ควรสร้างแรงจูงใจด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งการแทรกอารมณ์ขัน

เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน การใช้เทคโนโลยีและ

เครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัยในการสร้างสื่อการสอน การสร้าง

เว็บไซต์เสริมการเรียนรู้ หรือแม้แต่การฉายภาพยนตร์ หรือ

จัดการเล่นต่างๆ ในห้องเรียนวิชาเอก นอกจากนี้การจัดการ

องค์ความรู้ยังทำให้ได้ข้อสรุปว่า คณาจารย์ควรค้นหา

เป้าหมายด้านอาชีพการงานของนิสิตและสร้างแผนการสอน

ให้สอดคล้องกับเป้าหมายเหล่านั้น

ด้านการเสริมทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ คณาจารย์

ในสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศสได้แบ่งปันกลวิธีในการเสริมทักษะ

ดังกล่าวอย่างมากมาย เนื่องจากรายวิชาต่างๆในสาขาภาษา

ฝรั่งเศส มักมีการสอดแทรกคำถามปลายเปิดเพื่อให้ผู้เรียน

ได้ฝึกตอบคำถามโดยใช้ความวิธีคิดเชิงวิพากษ์อยู่ตลอดเวลา

นอกจากนี้ กระบวนวิชาต่างๆในสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส

ยังกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดวิเคราะห์และเปรียบเทียบ

ประเด็นต่างๆ ทั้งในเชิงวิชาการและในเชิงการใช้ชีวิตประจำวัน

อีกกลวิธีที่ใช้ได้ผลอยู่เสมอในการกระตุ้นการคิดวิเคราะห์ของ

ผู้เรียนคือการให้นิสิตจับกลุ่มแสดงบทบาทสมมติ ซึ่งนิสิตจะได้

ฝึกถกเถียงจัดการและแก้ปัญหาต่างๆ กับสมาชิกในกลุ่ม โดย

อาศัยวิธีคิดดังกล่าว

อ.สถ

ิตย์

ลีลาถ

าวรช

ัย

KM Project ภาควิชาภาษาตะวันตก

Page 7: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

นาน

าสาร

ะทาง

วิชาก

ารอ.

สถิตย

์ ล

ีลาถา

วรชัย

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 2555 7

assignments, which can effectively “motivate learners’

critical thinking when learners have to discuss problems,

ask questions, and negotiate issues among themselves.”

The KM report also points to an ongoing debate

which concerns the members of the western languages

department: the question of language choice for instruction

medium. Some instructors prefer the aid of L1 (students’

native language) for the clarity of their L2 lectures while

others prefer to communicate only in L2 to create

challenge. For students of the western languages depart-

ment, some expect their teachers to speak only in French

or English during the lessons while others find it easier and

more practical to follow the lectures with some aids of Thai.

Nevertheless, the KM report warns the instructors

to be “sensitive to a balance of L1 and L2 use with the

students in the classroom.” Instructors shouldn’t rush to

ban the use of L1 in classrooms at the same time that they

must not deny the importance of L2 for class communica-

tion. They should instead observe their classes and decide

accordingly which language choice is more fitting for which

portion of the lecture.

The KM report still encourages the instructors to

incorporate “blended learning and blended instructions.”

Technologies and other innovative teaching methods

should be embraced in class to enhance students’ learning

experiences. By welcoming technologies and innovations,

areas in French and English educations will progress

towards a more vibrant terrain of studies and research.

The report finally proposes a formation of a

research team “to investigate issues related to language

learning and teaching in the NU context.” It will be for the

good of the students of the French and English sections –

the two subdivisions which comprise the department of

western languages.

Adapted from KM Project Report, Western Languages Department

h t t p : //www .human .nu . a c . t h/ t h/docs/down l oad/QA-

KM%20project-West.pdf

In recent years, knowledge management (KM)

has been widely employed by academic institutions to meet

a range of educational goals and issues. The department of

western languages has adopted the KM strategy for the

potential development of students majoring in French and

English – its undergraduate members.

At least two major issues have been addressed in

the department’s KM report. Students of the department

appear to lack enough motivation in their major classes

although they “tended to pay more attention to other

languages or courses” outside of the department, as

stated in the report. The department is also concerned

about the students’ ability in critical thinking. While critical

thinking has been a major drive in the scholarly society

especially in the modern academia, it is still a key vehicle

towards success in the world of practical careers. Better job

positions are often given to individuals with higher critical

competences. The KM report urges the faculties to tackle

with the issue for the students’ academic and career

success.

In order to enhance the students’ motivation in

their major classes, instructors are advised to “use humor

to achieve a pleasant learning environment for learners.”

Modern technologies have also proven effective in this

battle for class attention. A number of faculties have

already found success using animations, movies, games,

and telephone applications to brighten their classrooms.

The instructors are also urged to plan their lessons

according to the students’ career interests.

The French section has a lot to share when it

comes to critical thinking. For members of the French

section, critical thinking is no longer a new fad since most

of their courses have been designed for the students “to

think, compare, and analyze various contexts from everyday

to academic situations.” Questions thrown during the

French classes are often left open-ended to incite critical

debates. The French lecturers have recommended role-play

KM Project Western Languages Department

Page 8: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

อ่านชื่อเรื่องแล้ว ผู้อ่านคงจะงงว่า คืออะไร คำเฉลยก็คือ เป็นเนื้อหาจากแบบฝึก

การอ่านออกเสียงภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในแบบฝึกหัดที่จะช่วยให้นิสิตทราบจังหวะ

ในการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นกลวิธีการสอนการอ่านเบื้องต้น ที่อาจารย์ซานาเอะ

อุเอะดะ ผู้อำนวยการโรงเรียนอุเอะกักคุเอ็น โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ได้แนะนำให้แก่

ผู้เข้าร่วมอบรมในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการภาษาญี่ปุ่น ทั้งนี้การฝึกการอ่านลักษณะนี้

ผู้เขียนคิดว่า อาจจะทำในตอนท้ายหรือต้นชั่วโมง หรือในช่วงที่นิสิตเริ่มไม่มีสมาธิ

ในการเรียน ในที่นี้จะขอนำเสนอบทอ่านที่เป็นที่ชื่นชอบของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นทั่วโลก

จำนวน 2 บท ดังนี้

การฝึกฝนในบทเหล่านี้เป็นการเล่นคำ อาจไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงความหมาย เพราะส่วนมาก มีความหมาย

ที่ไม่ค่อยเป็นเรื่องเป็นราวสักเท่าใดนัก เช่นในเรื่องที่ 1 ฝึกคำ (tsu)ตัวเล็ก เนื้อหาเกี่ยวกับ ตัวคัปปะ ท่อนแรก

มีความว่า คัปปะขโมยทรัมเปตไปเป่า ท่อนที่สอง คัปปะขโมยผักไปตัดหั่นและกิน สำหรับในเรื่องที่ 2 ฝึกคำ (tsu)

ตัวใหญ่ เนื้อหา เกี่ยวกับนกหัวขวานขี้โกหกที่เจาะต้นไม้ เป็นต้น

เก็บ

มาฝ

ากดร

.โสภ

า ม

ะสึน

าริ

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 25558

kappa kapparatta

kappa kapparatta

Page 9: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

"สอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ...

วิจัยช

วนค

ิด

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 2555 9

การเรียนรู ้ภาษาที ่ 2 ไม่ได้หมายถึงความรู ้

ความสามารถที่ผู ้เรียนมีต่อภาษาเป้าหมายที่เรียนเท่านั ้น

หากแต่ยังหมายรวมถึงกระบวนการการเรียนรู้และความเข้าใจ

ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับตัวผู้เรียนที่ส่งผลให้ความสามารถ

ในภาษาที่ 2 ของผู้เรียนแต่ละคนแตกต่างกันไป ถึงแม้ว่า

จะมีภาษาแม่ภาษาเดียวกันก็ตาม

นักภาษาศาสตร์ นักจิตวิทยา พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อ

การเรียนรู้ภาษาที่ 2 ได้แก่ แรงจูงใจ ความถนัด อายุ ภูมิหลัง

ทางสังคม และความมั่นใจในตนเอง ทำให้ผู้เรียนมีความ

สามารถในภาษาที่ 2 ในระดับที่แตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะมี

ภาษาแม่เดียวกันก็ตาม แนวคิดทฤษฎีที่พยายามชี้ให้เห็นถึง

ความสำคัญของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับตัวผู้เรียนที่ส่งผล

ต่อความสามารถในการเรียนรู้ภาษาที่ 2 ได้แก่ สมมติฐาน

การคัดกรองที่ส่งผลต่อการเรียนภาษาที่ 2 (Affective Filter

Hypothesis) อธิบายในแง่ความเข้าใจภาษา(Comprehension)

ของผู้เรียนภาษาที่ 2 ว่า “แรงจูงใจ ความมั่นใจในตนเอง

และความวิตกกังวลมีผลทำให้ผู้เรียนภาษาที่ 2 สร้างตัว

คัดกรองที่มีประสิทธิภาพแตกต่างกัน กล่าวคือ หากผู้เรียน

มีแรงจูงใจและมีความมั่นใจในตนเองในระดับต่ำ แต่มีความ

วิตกกังวลในระดับสูงก็จะสร้างตัวกรองที่มีประสิทธิภาพสูง

ทำให้ความความรู้เกี่ยวกับภาษาที่ป้อนเข้าไม่สามารถเข้าสู่ตัว

ผู้เรียนทำให้ไม่สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา

ดังกล่าวได้” ส่วนทฤษฎีแบบจำลองมอนิเตอร์ (The Monitor

Model Theory) ได้พยายามชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างในหมู่

ผู้เรียนภาษาที่ 2 ในแง่การผลิตภาษา (Production) ว่า

“ความมั่นใจในตนเองและความกังวลมีผลต่อการแสดงออก

ทางด้านภาษา กล่าวคือ หากผู้เรียนภาษาที่ 2 ขาดความ

มั่นใจในตนเองจะส่งผลให้ผู้เรียนใช้มอนิเตอร์ภายในตัวเพื่อ

ตรวจสอบความผิดพลาดในขณะผลิตภาษามากเกินจำเป็น

ทำให้สื่อสารด้วยภาษาดังกล่าวไม่ราบรื่น” แนวคิดทฤษฎีต่างๆ

ข้างต้นทำให้เราตระหนักว่าการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาที่

2 ไม่สามารถวิจัยโดยละเลยปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับตัว

ผู้เรียนและต้องตระหนักถึงความแตกต่างในตัวผู้เรียนทุกครั้งที่

การทำวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาที่ 2

งานวิจัยที่ผ่านมาของผู้เขียนจึงวิจัยโดยอยู่บนพื้นฐาน

“เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับความแตกต่างของ

ผู้เรียน” อาทิ “การศึกษาปัญหาในการเขียน : ความแตกต่าง

ระหว่างผู้เรียนสายมนุษยศาสตร์กับสายวิทยาศาสตร์” เพื่อ

พิสูจน์ข้อค้นพบของงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่ว่า “ผู้เรียนสาย

วิทยาศาสตร์จะมีความคิดที ่เป็นระบบมากกว่าผู ้เรียนสาย

มนุษยศาสตร์ และผู้เรียนสายมนุษยศาสตร์จะมีความสามารถ

ในด้านการเลือกใช้คำให้เหมาะสมแก่การเขียนมากกว่าผู้เรียน

สายวิทยาศาสตร์” โดยพบว่าในยุคปัจจุบันผู ้เรียนสาย

มนุษยศาสตร์ไม่ได้มีความสามารถในด้านการใช้คำให้เหมาะ

สมแก่งานเขียนในระดับที ่ด ีกว่าผู ้เร ียนสายวิทยาศาสตร์

จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามพบว่า ผู้เรียนทั้งสาย

มนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์อ่านหนังสือที่ใช้สำนวนเขียน

น้อยลง ส่วนใหญ่ใช้เวลาสื่อสารทางโปรแกรมเครือข่ายสังคม

อาทิ เอ็มเอสเอ็น เฟซบุค อินสตราแกรม ทวิตเตอร์

เป็นเหตุให้ไม่มีโอกาสซึมซับภาษาสวยงาม ขาดคลังคำที่เหมาะ

แก่งานเขียน แต่ในส่วนของผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์ก็ยังคง

มีการจัดระบบความคิดก่อนที ่จะเข ียนดีกว่าผู ้ เร ียนสาย

มนุษยศาสตร์ หรือหากพิจารณาในแง่บุคลิกภาพของผู้เรียน

ที่แบ่งออกเป็น ผู้เรียนที่ชอบเรียนแบบชอบสื่อสารแสดงออก

(active learner ) และผู้เรียนที่ชอบเรียนแบบเรียนรู้แบบซึมซับ

(passive learner) เช่น ผู้เรียนชาวญี่ปุ่น ผู้สอนควรกำหนด

บทบาทของตนเองอย่างไร ควรมีวิธีการสอนผู้เรียนทั้งสอง

กลุ่มนี้อย่างไร การจัดให้ผู้เรียนทั้งสองคุณลักษณะนี้เรียนร่วม

ชั้นเรียนจะทำให้เกิดสัมฤทธิผลในการเรียนหรือไม่ประเด็นนี้

ผู้เขียนสนใจแต่ยังไม่ได้ศึกษา โดยขณะนี้มุ่งศึกษาการจัดระบบ

คำในคลังคำในใจของผู้เรียนภาษาที่ 2 เช่น “ศึกษาการจัด

ระบบคำในคลังคำในใจที่แตกต่างกันระหว่างผู้เรียนภาษาไทย

ที่มีภาษาแม่แตกต่างจากภาษาไทยเปรียบเทียบกับผู ้เรียน

ภาษาไทยที่มีภาษาแม่คล้ายคลึงกับภาษาไทย” โดยศึกษาใน

กลุ่มตัวอย่างที่เป็นชาวเกาหลีและชาวลาว และ “การศึกษา

การจัดระบบคำในคลังคำในใจของผู ้ที ่เริ ่มเรียนภาษาไทย

เปรียบเทียบกับผู้ที่เรียนภาษาไทยในระดับสูง” เพื่อให้เห็นถึง

พัฒนาการของการจัดระบบคำของผู้เรียนภาษาที่ 2 งานวิจัย

ทั้งสองชิ้นอยู่บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า “คำเป็นศูนย์กลางของ

ความเข้าใจภาษาและการผลิตภาษา” การศึกษาการจัดระบบ

คำในคลังคำในใจในกลุ ่มผู ้เร ียนจะทำให้เราเข้าถึงความ

แตกต่าง เข้าใจปัจจัยภายในของผู้เรียนภาษาที่ 2 ผลการวิจัย

ยังนำไปสู่การพัฒนาวิธีการสอนและสื่อการสอนภาษาที่ 2 ที่มี

ประสิทธิภาพได้อีกด้วย

ดร.ว

ิชาติ

บูรณ

ะประ

เสริฐ

สุข

วิจัยภาษา วิจัยมนุษย์"

Page 10: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

กระด

านศ

ิษย์เ

ก่าว่า

ที่ร้อ

ยตรีม

าโน

ชญ์ ส

องแก

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 255510

นับจากวันที่เริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยนเรศวร มีบัณฑิต

ที ่สำเร็จการศึกษาในทุกระดับการศึกษารวมกว่าแสนคน

ซึ่งผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยนเรศวรกระจายอยู่ใน

หลายจังหวัดและหลากหลายสาขาอาชีพ และมีการรวมตัวกัน

ในนามกลุ่มศิษย์เก่า เพื่อพบปะสังสรรค์และร่วมกันจัดกิจกรรม

เนื่องในโอกาสต่างๆ อยู่เป็นประจำ คอลัมน์กระดานศิษย์เก่า

ฉบับนี้ จึงขอนำทุกท่านมาพบกับหน่วยงานใหม่ที่จะทำหน้าที่

เป็นสื ่อกลางและช่องทางใหม่ที ่จะทำให้ศิษย์เก่าทุกท่านมี

โอกาสได้ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น คือ “กองพัฒนาศิษย์เก่า

สัมพันธ์”

กองพัฒนาศิษย์เก่าสัมพันธ์ จัดตั้งขึ ้นเพื่อปฏิบัติ

ภารกิจด้านการประสานงานระหว่างนิสิตปัจจุบัน ศิษย์เก่า

และมหาวิทยาลัยให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน สืบสานความ

สัมพันธ์ ตลอดจนการให้และรับข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน

สร้างการมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าให้มีบทบาทในการพัฒนา

มหาวิทยาลัย รวมทั้งสนับสนุนมหาวิทยาลัยให้เป็นที่รู้จัก และ

เป็นที่ยอมรับของสังคม กองพัฒนาศิษย์เก่าสัมพันธ์ จึงได้

จัดทำ “ระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยนเรศวร” ซึ่งเป็น

ระบบที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้บันทึกข้อมูลศิษย์เก่า โดยเชื่อม

กับฐานข้อมูลนิสิตจากกองบริการการศึกษา เป็นระบบที่

สามารถตรวจสอบข้อมูลศิษย์เก่าได้ ทั้งรหัสนิสิต ชื่อ-นามสกุล

ที่อยู่ คณะ ปีที่เข้าศึกษาและปีที่สำเร็จการศึกษา และระบบ

ดังกล่าวยังสืบค้นข้อมูลในส่วนของศิษย์เก่าที ่ม ีช ื ่อเสียง

ศิษย์เก่าคนเด่นคนดัง ศิษย์เก่าดีเด่น รวมไปถึงศิษย์เก่า

ที่ได้รับรางวัลต่างๆ อีกด้วย

นอกจากนี้ศิษย์เก่ายังสามารถ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ทำเนียบศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยนเรศวร และ Webboard

กระดานข่าวศิษย์เก่า ข่าวกิจกรรมต่างๆ โดยเข้าไปติดตาม

รายละเอียดได้ที่ http://www.nualumni.nu.ac.th

ขั้นตอนการเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ

1. ผู้ที่สามารถเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ

เพื ่อทำการปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวได้จะต้องเป็นผู ้ที ่สำเร็จ

การศึกษาจากวิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก และมหาวิทยาลัยนเรศวร

2. ศิษย์เก่าต้องทำการสมัครสมาชิก เพื ่อรับ

Username/Password เพื่อเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนตัวจาก

เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบ โดยสามารถ Download ใบสมัครได้ที่

http://alumnibase.nu.ac.th

3. เมื่อได้รับการยืนยัน และได้รับ Username/ Pass-

word จากเจ้าหน้าที่ดูแลระบบแล้ว ศิษย์เก่าสามารถเข้าสู่

ระบบเพื่อทำการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้ที่ http://alumnibase.

nu.ac.th

และในส่วนของคณะมนุษยศาสตร์ ก็ได้ตระหนักถึง

ความสำคัญของศิษย์เก่าที่จะมีส่วนช่วยในการพัฒนาศักยภาพ

ของคณะมนุษยศาสตร์ได้เป็นอย่างดี จึงมีการจัดตั้งชมรม

ศิษย์เก่าขึ้น จากการรวมตัวของบรรดาศิษย์เก่าที่มีอุดมการณ์

มีความเสียสละกลุ่มหนึ่ง โดยศิษย์เก่าส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่า

ควรมีชื่อชมรมตามสถาบันการศึกษา จึงเป็นการจุดประกาย

ให้มีการจัดตั้ง “ชมรมศิษย์เก่าสุวรรณภิงคาร” ตามสัญลักษณ์

ของคณะมนุษยศาสตร์ ในแบบขององค์กรอิสระ ที่ไม่แสวงหา

ผลประโยชน์ โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานระหว่าง

ศิษย์เก่าฯ ที่จะมาร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์

ของศิษย์ปัจจุบันและศิษย์เก่ารุ่นต่างๆ

โดยศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์ทุกท่านสามารถ

เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชมรมได้ที่ http://www.human.

nu.ac.th/humanalumni ซึ่งในเว็บไซต์ดังกล่าวท่านสามารถ

ลงทะเบียนศิษย์เก่า เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการติดต่อประสานงาน

การแจ้งข่าวสารกิจกรรมของชมรม นอกจากนี้ ท่านยังสามารถ

ใช้กระดานสนทนาของชมรมในการสื่อสารกับเพื่อนร่วมรุ่น

ได้อีกด้วย

แม้ว ่าว ันนี ้งานด้านศิษย์เก ่าสัมพันธ์ย ังมีความ

เข้มแข็งไม่มากพอ เมื่อเทียบกับสมาคมศิษย์เก่าของสถาบัน

อื่นๆ แต่ก็เชื่อมั่นได้ว่าวันหนึ่งเราจะมีความเข้มแข็งขึ้นอย่าง

แน่นอน หากศิษย์เก่าทุกท่านตั้งใจที่จะส่งเสริมสนับสนุนงาน

ศิษย์เก่าให้มีความเข้มแข็งตลอดจนเข้ามามีส่วนร่วมในการ

พัฒนา ทั้งนี้ก็ต้องอาศัยการหลอมรวมใจให้เป็นหนึ่งเดียวกัน

ของบรรดาศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยนเรศวรทุกคน ที่จะทำอย่างไร

ร่วมกัน เพื่อตอบแทนคุณแก่มหาวิทยาลัยนเรศวรของเรา

“นเรศวรรวมใจรักมั่นไวนิรันดร นเรศวรเรานั้นเกียรติเกรียงไกร

อุดมการณสรางไวดวยใจมั่นรักภักดี เลือดเนื้อยอมพลี เพื่อศักดิ์และศรียืนยง”

สดุดีนเรศวร

คำร้อง พรรณี สายแสง-ทำนอง สธน โรจนตระกูล

ÈÔÉÂ�à¡‹Ò¹àÃÈÇÃÊÑÁ¾Ñ¹¸�….¼Ù¡¾Ñ¹Á¹ØÉÂÈÒʵÃ�

Page 11: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : เมษายน - พฤษภาคม 2555 11

ข่าวก

ิจกรร

มสุร

ีย์พร

ชุมแ

สง

วันที่ 17 พฤษภาคม 2555 รองศาสตราจารย์

ดร.กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ และ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิรัช นิยมธรรม รองคณบดีฝ่ายวิจัยและ

วิเทศสัมพันธ์ เข้าร่วมประชุมหารือกับสถาบันการต่างประเทศ

สราญรมย์ (SIFA) นำโดยเอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการ

ต่างประเทศ และผู้บริหารของมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต

จังหวัดชลบุรี เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางและแผนการจัด

กิจกรรมร่วมกันภายใต้โครงการพันธมิตรวิชาการ ณ ห้องเวนิช

ตึกวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต

จังหวัดชลบุรี

วันที่ 27 เมษายน 2555 ผู้ช่วยศาสตราจารย์แก้วกร

เมืองแก้ว รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต คณะมนุษยศาสตร์

เป็นผู้แทนคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้ารับ

การอบรมโครงการอบรมนาฏศิลป์แก่ครู - อาจารย์ ระดับ

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จัดโดยสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย

เพื ่อเป็นการทบทวนท่ารำที ่ถูกต้องและฝึกปฏิบัติเพิ ่มเติม

แก่ครู-อาจารย์ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในเขต

ภาคเหนือ และนำไปประยุกต์สอนนักเรียนในหลักสูตรต่อไป

ณ ห้องพระราชทานปริญญาบัตร อาคารอเนกประสงค์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ 3 มีนาคม 2555 ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์

จินายน อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร พร้อมด้วยคณะ

ผู้บริหารมหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะผู้บริหารคณะมนุษย-

ศาสตร์ ร่วมให้การต้อนรับ Prof. Dr. IBG Yudha Triguna

อธิการบดีจาก Universitas Hindu Indonesia, Bali Denpasar,

Indonesia ที่เดินทางมาลงนามความร่วมมือทางด้านวิชาการ

และศิลปวัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร ณ ห้องประชุม

เสลา 5 สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ 2 เมษายน 2555 รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ พร้อมคณะผู้บริหารร่วมให้การต้อนรับคณะดูงานจาก Yangon University of Foreign Languages (YUFL) และกระทรวง ศึกษาธิการพม่า ที่เดินทางมาร่วมเจรจาความร่วมมือทาง วิชาการ ในกรอบการพัฒนาบุคลากร โดยการให้ทุนการศึกษา และการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการสอน และสนับสนุน ครูผู้สอนภาษาไทย เพื่อนำไปสู่การแลกเปลี่ยนบุคลากรระดับ อาจารย์ และนิสิตนักศึกษา ตลอดจนการแลกเปลี่ยนด้าน วัฒนธรรม อันจะเป็นการริเริ่มการพัฒนาการเรียนการสอน ภาษาไทยในสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ณ ห้องประชุม HU 1307 อาคารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 12: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ เม.ย.-พ.ค.55

มหาว ิทยาลัยนเรศวร

คณ

ะมนุษยศาสตร์ สุวรรณภิงคารจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ท่านที ่สนใจจดหมายข่าวนี ้ กรุณาส่งชื ่อที ่อยู ่ของท่านมายังงานประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-2035 โทรสาร 0-5596-2000 ไม่เส ียค่าใช ้จ ่ายใดๆ ทั ้งสิ ้น

สุวรรณภิงคาร หรือ “กลศ” หมายถึง หม้อดินสำหรับใส่น้ำ ดินและน้ำเป็นแม่บทของสิ ่งทั ้งปวง

อันเปรียบได้กับคณะมนุษยศาสตร์ ที ่เป็นรากฐานแห่งศาสตร์ทั ้งปวง

ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน

ใบอนุญาตเลขที ่ 85/2521

พิษณุโลก

วิสัยทัศน์ :

คณะมนุษยศาสตร์มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี

และนาฏศิลป์ เป็นสังคมที่มีคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้แบบต่อเนื่องยั่งยืน รวมทั้ง

เป็นหน่วยงานที่อนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยนเรศวร

เป็นมหาวิทยาลัย สมบูรณ์แบบ

พันธกิจ :

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม และจริยธรรม

2. ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี และนาฏศิลป์

เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ

3. บริการทางวิชาการเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาสังคม

4. อนุรักษ์ ฟื้นฟู สร้างสรรค์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ

5. ส่งเสริมการเรียนรู้ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ

6. สร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบัน ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตร์ :

1. สร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณธรรม จริยธรรม และ

สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศ

2. มุ่งสร้างงานวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านภาษาและดำเนินการสู่การเป็น

ศูนย์กลางของการศึกษาคติชนวิทยา

3. ส่งเสริมการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง

4. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานด้านศิลปวัฒนธรรม และความเข้าใจวัฒนธรรมต่างชาติ

5. จัดระบบบริหารจัดการด้วยความโปร่งใส คล่องตัว ยุติธรรม เอื้อต่อการดำเนินงาน

ที่รวดเร็วและบุคลากรมีส่วนร่วม ตลอดจนบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล มุ่งนำการ

จัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร

วารสารมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร

เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี และนาฏศิลป์ ของอาจารย์ และนิสิตคณะมนุษยศาสตร์ ตลอดจน บุคคลทั่วไป สนใจติดต่อกองบรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ โทร. 0-5596-2006