21
หลักการออกแบบ

หลักการออกแบบ - elfar.ssru.ac.th · การออกแบบหมายถงึ การถ่ายทอดร ูปแบบจากความคิดออกมาเป

  • Upload
    lamkhue

  • View
    215

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

หลักการออกแบบ

การออกแบบ หมายถงึ การถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงานที่ผู้ อื่นสามารถมองเหน็ รับรู้ หรือสมัผสัได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกนั ความสําคญัของการออกแบบ มีอยูห่ลายประการ กลา่วคือ

1.ในแงข่องการวางแผนการการทํางาน งานออกแบบจะชว่ยให้การทํางานเป็น

ไปตามขัน้ตอนอยา่งเหมาะสมและประหยดัเวลา ดงันัน้อาจถือวา่การออกแบบคือการ วางแผนการทํางานก็ได้

2. ในแงข่องการนําเสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้ เกี่ยวข้องมีความเข้าใจตรงกนัอยา่งชดัเจน ดงันัน้ ความสําคญัในด้านนี ้คือ เป็นสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจ ระหวา่งกนั

3. เป็นสิง่ที่อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกบังาน โดยงานบางประเภทอาจมีรายละ-เอียดมากมายซบัซ้อน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้ เกี่ยวข้องและผู้พบเหน็มีความเข้าใจที่ชดัเจนขึน้ หรืออาจกลา่วได้วา่ ผลงานออกแบบ คือ ตวัแทนความคดิของผู้ออกแบบได้ทัง้หมด

4. แบบ จะมีความสําคญัอยา่งที่สดุ ในกรณีที่นกัออกแบบกบัผู้สร้างงานหรือผู้ผลติเป็นคนละคนกนั เชน่ นกัออกแบบกบัผู้ผลติในโรงงาน หรือถ้าจะเปรียบไปแล้ว นกัออกแบบก็เหมือนกบัคนเขียนบทละครนัน่เอง

“แบบ”

แบบ เป็นผลงานจากการออกแบบ เป็นสิง่ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์

และฝีมือของนกัออกแบบ ซึง่แบบมีอยูห่ลายลกัษณะ ดงันี ้คือ

1. เป็นภาพวาดลายเส้น (drawing) ภาพระบายสี (Painting) ภาพถ่าย

(Pictures)

หรือแบบร่าง (Sketch) แบบที่มีรายละเอียด (Draft) เชน่ แบบก่อสร้าง ภาพพิมพ์

(Printing) ฯลฯ ภาพตา่ง ๆ ใช้แสดงรูปลกัษณะของงาน หรือแสดงรายละเอียดตา่ง

ๆ เกี่ยวกบังาน ที่เป็น 2 มิติ

2. เป็นแบบจําลอง (Model) หรือของจริง เป็นแบบอีกประเภทหนึง่ที่ใช้แสดง

รายละเอียดของงานได้ชดัเจนกวา่ภาพตา่ง ๆ เนื่องจากมีลกัษณะเป็น 3 มิติ ทําให้

สามารถเข้าใจในผลงานได้ดีกวา่ นอกจากนี ้แบบจําลองบางประเภทยงัใช้งานได้

เหมือนของจริงอีกด้วยจงึสมารถใช้ในการทดลอง และทดสอบการทํางาน เพื่อหา

ข้อบกพร่องได้

การออกแบบผลติภณัฑ์ (Product Design)การออกแบบผลิตภณัฑ์ (Product Design) เป็นการออกแบบเพื่อการผลติ

ผลติภณัฑ์ชนิดตา่ง ๆ งานออกแบบสาขานี ้มีขอบเขตกว้างขวางมากที่สดุ และ

แบง่ออกได้มากมายหลาย ๆ ลกัษณะ นกัออกแบบรับผิดชอบเกี่ยวกบัประโยชน์

ใช้สอยและความสวยงามของผลติภณัฑ์ งานออกแบบประเภทนีไ้ด้แก่

- งานออกแบบเฟอร์นิเจอร์

- งานออกแบบครุภณัฑ์

- งานออกแบบเครื่องสขุภณัฑ์

- งานออกแบบเครื่องใช้สอยตา่งๆ

- งานออกแบบเครื่องประดบั อญัมณี

- งานออกแบบเครื่องแตง่กาย

- งานออกแบบภาชนะบรรจผุลติภณัฑ์

- งานออกแบบผลติเครื่องมือตา่ง ๆ ฯลฯ

การสร้างสรรค์งานออกแบบในการสร้างสรรค์งานออกแบบ จําเป็นต้องคํานงึถงึหลกัการออกแบบ

เชน่กนั โดยการจดัสดัสว่นของการออกแบบให้มีความเหมาะสม ซึง่พิจารณาจากหลกัการออกแบบผลติภณัฑ์ 7 ประการ คือ

1. Functions การคํานงึถงึประโยชน์ใช้สอยของตวัผลติภณัฑ์2. Aesthetic ความงามในตวัผลติภณัฑ์3. Ergonomics ความถกูต้องตามหลกัสรีระศาสตร์4. Safety ความปลอดภยัในการใช้งาน5. Cost ราคา หรือต้นทนุในการผลติกบัการจําหน่าย6. Durable ความแข็งแรงทนทานในตวัผลติภณัฑ์ หรือความแข็งแรงของ

โครงสร้างผลติภณัฑ์7. Maintenance การดแูลและการบํารุงรักษาผลติภณัฑ์จากการใช้งาน

8. Material and Production วสัดแุละการผลติ

9. Transportation การขนสง่

1. Functions การคาํนึงถงึประโยชน์ใช้สอยของตวัผลติภณัฑ์หน้าที่ใช้สอย ถือเป็นหลกัการออกแบบผลิตภณัฑ์ที่สําคญัที่สดุเป็นอนัดบัแรกที่ต้องคํานึงผลิตภณัฑ์ทกุ

ชนิดต้องมีหน้าที่ใช้สอยถูกต้องตามเป้าหมายที่ตัง้ไว้ คือสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ ใช้ได้อยา่งมีประสทิธิภาพและสะดวกสบาย ผลิตภณัฑ์นัน้ถือวา่มีประโยชน์ใช้สอยดี (HIGH FUNCTION) แต่ถ้าหากผลิตภณัฑ์ใดไม่สามารถสนองความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพผลิตภณัฑ์นัน้ก็จะถือว่ามีประโยชน์ใช้สอยไมด่ีเทา่ที่ควร (LOW FUNTION)

เรื่องหน้าที่ใช้สอย นบัวา่เป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซบัซ้อนมาก ผลิตภณัฑ์บางอย่างมีประโยชน์ใช้สอยตามที่ผู้คนทัว่ๆ ไปทราบเบือ้งต้นวา่ มีหน้าที่ใช้สอยแบบนี ้แตค่วามละเอียดอ่อนที่นกัออกแบบได้คิดออกมานัน้ได้ตอบสนองความสะดวกสบายอยา่งเต็มที่ เช่น มีดในครัวมีหน้าที่หลกัคือใช้ความคมช่วยในการหัน่ สบั แต่เราจะเห็นได้ว่ามีการออกแบบมีดที่ใช้ในครัวอยู่มากมายหลายแบบหลายชนิดตามความละเอียดในการใช้ประโยชน์เป็นการเฉพาะที่แตกตา่งเช่น มีดสําหรับปอกผลไม้ มีดแลเ่นือ้สตัว์ มีดสบักระดกู มีดบะช่อ มีดหัน่ผกั เป็นต้น ซึง่ก็ได้มีการออกแบบลกัษณะแตกต่างกนัออกไปตามการใช้งาน ถ้าหากมีการใช้มีดอยู่ชนิดเดียวแล้วใช้กนัทกุอย่างตัง้แต่แล่เนือ้ สบับะช่อ สบักระดกู หัน่ผกั ก็อาจจะใช้ได้ แต่จะไม่ได้ความสะดวกเท่าที่ควร หรืออาจได้รับอุบัติเหตุขณะที่ใช้ได้ เพราะไม่ใช่ประโยชน์ใช้สอยที่ได้รับการออกแบบมาให้ใช้เป็นการเฉพาะอยา่ง

การออกแบบเก้าอีก้็เหมือนกนั หน้าที่ใช้สอยเบือ้งต้นของเก้าอี ้คือใช้สําหรับนัง่ แต่นัง่ในกิจกรรมใดนัง่ในห้องรับแขก ขนาดลกัษณะรูปแบบเก้าอีก้็เป็นความสะดวกในการนัง่รับแขก พูดคุยกัน นัง่รับประทานอาหาร ขนาดลกัษณะเก้าอีก้็เป็นความเหมาะสมกบัโต๊ะอาหาร นัง่เขียนแบบบนโต๊ะเขียนแบบ เก้าอีก้็จะมีขนาดลกัษณะที่ใช้สําหรับการนัง่ทํางานเขียนแบบ ถ้าจะเอาเก้าอีร้ับแขกมาใช้นัง่เขียนแบบ ก็คงจะเกิดการเมื่อยล้า ปวดหลงั ปวดคอ แล้วนั่งทํางานได้ไม่นาน ตวัอย่างดงักล่าวต้องการที่จะพดูถึงเรื่องของหน้าที่ใช้สอยของผลิตภณัฑ์ว่าเป็นสิ่งที่สําคญัและละเอียดอ่อนมาก ซึ่งนกัออกแบบจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศกึษาข้อมลูอยา่งละเอียด

2. Aesthetic ความงามในตวัผลติภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ในยุคปัจจุบันนีค้วามสวยงามนับว่ามีความสําคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า

หน้าที่ใช้สอยเลย ดังนัน้ ความสวยงามจะเป็นสิ่งที่ทําให้เกิดการตัดสินใจซือ้เพราะเกิดความประทบัใจ สว่นหน้าที่ใช้สอยจะดีหรือไม่ต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งคือใช้ไปเรื่อยๆ ก็จะเกิดข้อบกพร่องในหน้าที่ใช้สอยให้เห็นภายหลงั ผลิตภณัฑ์บางอย่างความสวยงามก็คือหน้าที่ใช้สอยนัน่เอง เช่น ผลิตภณัฑ์ของที่ระลกึ ของโชว์ตกแต่งต่าง ๆ ซึ่งผู้ ซือ้เกิดความประทับใจในความสวยงามของผลิตภัณฑ์ ความสวยงามจะเกิดมาจากสิ่งสองสิ่งด้วยกันคือ รูปร่าง (FORM) และสี (COLOR) การกําหนดรูปร่างและสี ในงานออกแบบผลิตภณัฑ์ไม่เหมือนกบัการกําหนด รูปร่าง สี ได้ตามความนึกคิดของจิตรกรที่ต้องการ แต่ในงานออกแบบผลิตภณัฑ์จะเป็นในลกัษณะทําตามความชอบ ความรู้สกึนึกคิดของนกัออกแบบไมไ่ด้จําเป็นต้องยดึข้อมลูและกฎเกณฑ์ผสมผสานรูปร่างและสีสนัให้เหมาะสม

ด้วยเหตุของความสําคัญของรูปร่างและสีที่มีผลต่อผลิตภณัฑ์ นกัออกแบบจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาวิชา ทฤษฏีหรือหลกัการออกแบบและวิชาทฤษฏีสี ซึ่งเป็นวิชาทางด้านของศิลปะแล้วนํามาประยุกต์ผสานใช้ให้เกิดความกลมกลืนกนั

3. Ergonomics ความถูกต้องตามหลกัสรีระศาสตร์

นักออกแบบต้องศึกษาวิชากายวิภาคเชิงกลเกี่ยวกับสดัส่วน ขนาด และขีดจํากัดที่เหมาะสมสําหรับอวัยวะส่วนต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ซึ่งจะประกอบด้วยความรู้ทางด้านขนาดสดัสว่นมนษุย์ (ANTHROPOMETRY) ด้านสรีรศาสตร์ (PHYSIOLOGY) จะทําให้ทราบ ขีดจํากดั ความสามารถของอวยัวะสว่นตา่งๆ ในร่างกายมนษุย์ เพื่อใช้ประกอบการออกแบบ หรือศกึษาด้านจิตวิทยา (PSYCHOLOGY) ซึง่ความรู้ในด้านต่างๆ ที่กลา่วมานี ้จะทําให้นกัออกแบบสามารถ ออกแบบและกําหนดขนาด (DIMENSIONS) สว่นโค้ง สว่นเว้า สว่นตรง สว่นแคบของผลิตภณัฑ์ต่างๆ ได้อย่างพอเหมาะกบัร่างกายหรืออวยัวะของมนษุย์ เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์ก็จะเกิดความสะดวกสบายในการใช้ ไม่เกิดอาการเมื่อยมือหรือเกิดอาการล้าในขณะที่ใช้งานไปนานๆ ดังนัน้การออกแบบผลิตภัณฑ์จึงจําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาวิชาดงักลา่ว โดยเฉพาะหากเป็นผลิตภณัฑ์ที่ผู้ ใช้ต้องใช้อวยัวะร่างกายไปสมัผสัเป็นเวลานาน เช่น เก้าอี ้ด้าม เครื่องมือ อปุกรณ์ต่างๆ หากผู้ ใช้ผู้ ใดได้เคยใช้มาแล้วเกิดความไม่สบายร่างกายขึน้ ก็แสดงว่าศึกษากายวิภาคเชิงกลไม่ดีพอ แต่ทัง้นีก้็ต้องศึกษาผลิตภณัฑ์ดงักล่าวให้ดีก่อน จะไปเหมาวา่ผลติภณัฑ์นัน้ไมด่ีไมไ่ด้ เพราะผลติภณัฑ์บางชนิดผลติมาจากประเทศตะวนัตก ซึง่ออกแบบโดยใช้มาตรฐานผู้ ใช้ของชาวตะวนัตก ที่มีรูปร่างใหญ่โตกว่าชาวเอเชีย เมื่อชาวเอเชียนํามาใช้อาจจะไม่พอดีหรือหลวม ไม่สะดวกในการใช้งาน นักออกแบบจึงจําเป็นต้องศึกษาสดัสว่นร่างกายของชนชาติหรือเผา่พนัธุ์ที่ใช้ผลติภณัฑ์เป็นเกณฑ์

4. Safety ความปลอดภยัในการใช้งาน

ผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งที่อํานวยความสะดวกหากมีประโยชน์ได้มากเพียงใด

ย่อมจะมีโทษเพียงนัน้ ผลิตภัณฑ์ที่ให้ความสะดวกต่างๆ ปัญหามักจะเกิดจาก

เครื่องจกัรกลและเครื่องใช้ไฟฟ้า ดงันัน้ การออกแบบควรคํานงึถงึความปลอดภยัของ

ผู้ใช้ ถ้าหลีกเลี่ยงไมไ่ด้ก็ต้องแสดงเครื่องหมายไว้ให้ชดัเจนหรือมีคําอธิบายไว้

ผลติภณัฑ์สําหรับเด็ก ต้องคํานงึถงึวสัดทุี่เป็นพิษเวลาเด็กเอาเข้าปากกดัหรืออม

นักออกแบบจะต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของผู้ ใช้เป็นสําคัญ มีการออกแบบ

บางอย่าง ต้องใช้เทคนิคที่เรียกว่าแบบธรรมดา แต่คาดไม่ถึงช่วยในการให้ความ

ปลอดภยั เช่น การออกแบบหวัเกลียววาล์ว ถงัแก๊ส หรือปุ่ มเกลียวล็อกใบพดัของพดั

ลม จะมีการทําเกลียวเปิดให้ย้อนศรตรงกนัข้ามกบัเกลียวทัว่ๆ ไป เพื่อความปลอดภยั

สําหรับคนที่ไม่ทราบหรือเคยมือไปหมนุเลน่คือ ยิ่งหมนุก็ยิ่งขนัแน่น เป็นการเพิ่มความ

ปลอดภยัให้แก่ผู้ใช้

5. Cost ราคา หรือต้นทุนในการผลติกบัการจาํหน่าย

ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึน้มาขายนัน้ย่อมต้องมีข้อมูลด้านผู้ บริโภคและการตลาดที่ได้ค้นคว้าและสํารวจแล้ว ผลิตภณัฑ์ย่อมจะต้องมีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะใช้ว่าเป็นคนกลุ่มใด อาชีพฐานะเป็นอย่างไร มีความต้องการใช้สนิค้าหรือผลติภณัฑ์นีเ้พียงใด นกัออกแบบก็จะเป็นผู้ กําหนดแบบผลิตภณัฑ์ ประมาณราคาขายให้เหมาะสมกบักลุ่มเป้าหมายที่จะซือ้ได้การจะได้มาซึ่งผลิตภณัฑ์ที่มีราคาเหมาะสมกบัผู้ ซือ้นัน้ ก็อยู่ที่การเลือกใช้ชนิดหรือเกรดของวสัด ุและเลือกวธิีการผลติที่งา่ยรวดเร็ว เหมาะสม

อย่างไรก็ดี ถ้าประมาณการออกมาแล้ว ปรากฏวา่ ราคาคอ่นข้างจะสงูกว่าที่กําหนดไว้ ก็อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาองค์ประกอบด้านต่างๆ กันใหม่ แต่ก็ยังต้องคงไว้ซึ่งคุณค่าของผลิตภัณฑ์นัน้ เรียกว่าเป็นวธิีการลดคา่ใช้จา่ย

6. Durable ความแขง็แรงทนทานในตวัผลติภณัฑ์ หรือความแขง็แรงของ

โครงสร้างผลติภณัฑ์

ผลิตภัณฑ์จะต้องมีความแข็งแรงในตัวของผลิตภัณฑ์หรือโครงสร้างเป็นความเหมาะสมในการที่นักออกแบบรู้จักใช้คุณสมบตัิของวสัดุและจํานวน หรือปริมาณของโครงสร้าง ในกรณีที่เป็นผลิตภณัฑ์ที่จะต้องมีการรับนํา้หนกั เช่น โต๊ะ เก้าอี ้ต้องเข้าใจหลกัโครงสร้างและการรับนํา้หนกั อีกทัง้ต้องไม่ทิง้เรื่องของความสวยงามทางศิลปะ เพราะมีปัญหาวา่ ถ้าใช้โครงสร้างให้มากเพื่อความแข็งแรง จะเกิดสวนทางกบัความงาม นกัออกแบบจะต้องเป็นผู้ดงึเอาสิ่งสองสิ่งนีเ้ข้ามาอยู่ในความพอดีให้ได้

สว่นความแข็งแรงของตวัผลิตภณัฑ์เองนัน้ก็ขึน้อยู่ที่การออกแบบรูปร่างและการเลือกใช้วสัด ุและประกอบกบัการศกึษาข้อมลูการใช้ผลิตภณัฑ์ว่า ผลิตภณัฑ์ดงักล่าวต้องรับนํา้หนักหรือกระทบกระแทกอะไรหรือไม่ในขณะใช้งานก็คงต้องทดลองประกอบการออกแบบไปด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ความแข็งแรงของโครงสร้างหรือตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากเลือกใช้ประเภทของวัสดุ โครงสร้างที่เหมาะสมแล้วยงัต้องคํานงึถงึความประหยดัควบคูก่นัไปด้วย

7. Maintenance การดูแลและการบํารุงรักษาผลติภณัฑ์จากการใช้งาน

หลกัการนีค้งจะใช้กบัผลติภณัฑ์ เครื่องจกัรกล เครื่องยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าตา่งๆ ที่มีกลไกภายในซบัซ้อน อะไหล่บางชิน้ย่อมต้องมีการเสื่อมสภาพไปตามอายกุารใช้งานหรือการใช้งานในทางที่ผิด นกัออกแบบย่อมที่จะต้องศึกษาถึงตําแหน่งในการจดัวางกลไกแต่ละชิน้ตลอดจนนอตสกรู เพื่อที่จะได้ออกแบบส่วนของฝาครอบบริเวณต่างๆ ให้สะดวก ในการถอดซอ่มแซมหรือเปลี่ยนอะไหลง่า่ย

8. Material and Production วัสดุและการผลิตผลิตภณัฑ์ที่ผลิตด้วยวสัดสุงัเคราะห์ อาจมีกรรมวิธีการเลือกใช้วสัดแุละวิธีผลิต

ได้หลายแบบ แตแ่บบหรือวิธีใดถงึจะเหมาะสมที่สดุ ที่จะไมท่ําให้ต้นทนุการผลติสงูกวา่ที่ประมาณ ฉะนัน้ นักออกแบบคงจะต้องศึกษาเรื่องวัสดุและวิธีผลิตให้ลึกซึง้ โดยเฉพาะวัสดุจําพวกพลาสติกในแต่ละชนิด จะมีคุณสมบตัิทางกายภาพที่ต่างกันออกไป เช่น มีความใส ทนความร้อน ผิวมนัวาว ทนกรดด่างได้ดี ไม่ลื่น เป็นต้น ก็ต้องเลือกให้คณุสมบตัดิงักลา่วให้เหมาะสมกบัคณุสมบตัิของผลติภณัฑ์ที่พงึมียิ่งในยคุสมยันี ้มีการรณรงค์ช่วยกนัพิทกัษ์สิ่งแวดล้อมด้วยการใช้วสัดทุี่นํากลบัหมนุเวียนมาใช้ใหม ่ก็ยิ่งทําให้นักออกแบบย่อมต้องมีบทบาทเพิ่มขึน้อีกคือ เป็นผู้ ช่วยพิทกัษ์สิ่งแวดล้อมด้วยการเลือกใช้วสัดทุี่หมนุเวียนกลบัมาใช้ใหมไ่ด้ ที่เรียกวา่ “ รีไซเคิล ”

9. Transportation การขนส่งนักออกแบบ ต้องคํานึงถึงการประหยดัค่าขนส่ง การขนส่งสะดวกหรือไม่ ระยะใกล้หรือ

ระยะไกลกินเนือ้ที่ในการขนสง่มากน้อยเพียงใด การขนสง่ทางบกทางนํา้หรือทางอากาศต้องทําการบรรจหุีบห่ออย่างไร ถึงจะทําให้ผลิตภณัฑ์ไม่เกิดการเสียหายชํารุด ขนาดของตู้คอนเทนเนอร์บรรทกุสนิค้าหรือเนือ้ที่ที่ใช้ในการขนสง่มีขนาด กว้าง ยาว สงู เท่าไหร่ เป็นต้น หรือในกรณีที่ผลติภณัฑ์ที่ทําการออกแบบมีขนาดใหญ่โตยาวมาก เช่น เตียง หรือพัดลมแบบตัง้พืน้ นักออกแบบก็ควรที่จะคํานึงถึงเรื่องการขนส่ง ตัง้แต่ขัน้ตอนของการออกแบบกันเลย คือ ออกแบบให้มีชิน้ส่วน สามารถถอดประกอบได้ง่าย สะดวก เพื่อทําให้หีบห่อมีขนาดเล็กสุดสามารถบรรจุได้ในลังที่เป็นขนาดมาตรฐาน เพื่อการประหยดัคา่ขนสง่ เมื่อผู้ซือ้ซือ้ไปก็สามารถที่จะขนสง่ได้ด้วยตนเองนํากลบัไปบ้านก็สามารถประกอบชิน้สว่นให้เข้ารูปเป็นผลติภณัฑ์ได้โดยสะดวกด้วยตนเอง

เรื่องหลักการออกแบบ ที่ได้กลา่วมาทัง้ 9 ข้อนีเ้ป็นหลกัการที่นกัออกแบบผลิตภณัฑ์ต้องคํานึงถึงเป็นหลกัการทางสากลที่ได้กลา่วไว้ในขอบเขตอยา่งกว้าง ครอบคลมุผลติภณัฑ์ไว้ทัว่ทกุกลุ่มทุกประเภท ในผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดนัน้ อาจจะไม่ต้องคํานึงหลกัการดงักล่าวครบทุกข้อก็ได้ ขึน้อยู่กบัความซบัซ้อนของผลิตภณัฑ์หรือผลิตภณัฑ์บางชนิดก็อาจจะต้องคํานึงถึงหลกัการดงักลา่วครบถ้วนทกุข้อ เชน่ ออกแบบผลติภณัฑ์ไว้แขวนเสือ้ ก็คงจะเน้นหลกัการด้านประโยชน์ใช้สอย ความสะดวกในการใช้และความสวยงามเป็นหลกั คงจะไม่ต้องไปคํานึงถึงด้านการซ่อมแซม เพราะไม่มีกลไกซบัซ้อนอะไร หรือการขนส่ง เพราะขนาดจํากดัตามประโยชน์ใช้สอยบงัคบั เป็นต้น ในขณะที่ผลติภณัฑ์บางอยา่ง เช่น ออกแบบผลติภณัฑ์รถยนต์ ก็จําเป็นที่นกัออกแบบจะต้องคํานึงถึงหลกัการออกแบบผลติภณัฑ์ครบทัง้ 9 ข้อ เป็นต้น

หลักการดงักล่าวข้างต้น ถือเป็นหวัใจของการออกแบบผลิตภณัฑ์ โดยที่ผู้ออกแบบต้องนํามาประยุกต์เข้ากับความต้องการและเกณฑ์ที่จําเป็นในการใช้งานของผู้ ใช้กับตวัผลิตภัณฑ์ โดยจะมีค่านํา้หนักในการนํามาใช้แตกต่างกันไปตามประเภทของผลติภณัฑ์ที่ทําการออกแบบ

เพื่อการออกแบบในปัจจุบนั ดงันัน้จงึจําเป็นต้องคํานงึถงึวฒันธรรม และอารมณ์ความรู้สึกของผู้ ใช้ผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะทําให้ผลิตภัณฑ์สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ดียิ่งขึน้

การออกแบบผลิตภณัฑ์ที่ด ี ผลติภณัฑ์จะต้องสามารถสื่อสารกบัผู้ ใช้งานได้โดยตัวผลิตภัณฑ์เอง ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงความคิดความรู้สึกของผู้ ใช้สู่ตัวผลิตภัณฑ์ เช่น การสร้างรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะการสื่อสารแบบตรงไปตรงมาระหว่างผู้ ใช้กบัตวัผลิตภณัฑ์ ทําให้เกิดความรู้สกึ ขบขนั มีความสขุ ที่ได้รับจากการใช้งานผลิตภัณฑ์ โดยการออกแบบ รูปร่าง รูปทรงหรือการใช้ลกัษณะพืน้ผิว โดยใช้วัสดุใหม่ๆมาสร้างงานออกแบบ ซึ่งผู้ ใช้อาจเกิดอารมณ์ ความรู้สกึจากการมองเห็น การสมัผสั เป็นประสบการณ์ใหม่ในการรับรู้เชื่อมโยงกบัตวัผลิตภณัฑ์ เป็นสิ่งที่ผู้ ที่พบเห็น หรือผู้ ใช้ได้รับ ซึง่มีลกัษณะแตกต่างไปจากสิง่ที่พบในชีวิตประจําวนั.

กระบวนการออกแบบ

ขัน้ที่ 1 problem Identification ตปีัญหาเพื่อกาํหนด CONCEPT

- ปัญหาเกี่ยวกับ ความต้องการเพื่อนําไปใช้ในการออกแบบ เช่น ปัญหา

ผลิตภัณฑ์เดิม ปัญหาต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือความต้องการใหม่ๆ ของ

ผู้บริโภค

- ปัญหาเกี่ยวกบัข้อบงัคบัหรือกฎเกณฑ์ เช่น ความต้องการของตลาด ซึง่มี

หลักเกณฑ์ประกอบด้วย-อายุ,รสนิยม,รายได้ของผู้บริโภคสินค้า-ขนาด,รูปร่าง

ความปลอดภยั, นํา้หนกัของผลติภณัฑ์- วิธีขาย,การโฆษณา

ขัน้ที่ 2 Preliminary Ideas คดิ IDEA เบือ้งต้น

คือการคิดรูปแบบ,ลกัษณะ,วิธีการ เบือ้งต้น เพื่อเป็นคําตอบให้กบัปัญหาที่

เราคิดมาจากขัน้ที่ 1 ดงันัน้ขนัตอนนี ้อาจต้องอาศยัการขดั ๆ เขียน ๆ SKETCH “

ภาพร่าง ” มาช่วย เพื่อจะสื่อสิ่งที่เราคิดไว้ออกมาให้เป็นรูปร่างหน้าตาใกล้เคียง

มากที่สดุ ดงันัน้ IDEA นีอ้าจไมถ่กูต้องทัง้หมด อาจไมไ่ด้เป็นของใหม่ทัง้หมด อาจ

ไม่ได้เป็นความคิดของเราเอง ทัง้หมด แต่เราสามารถนําสิ่งที่คิดว่า”ใช่”ของแต่ละ

แบบมาผสมผสานกนัเพื่อให้เกิดรูปแบบใหมไ่ด้

ขัน้ที่ 3 Design Refinement การกลั่นกรองการออกแบบ

หลงัจากได้ IDEA เบือ้งต้นมาจํานวนมากพอแล้ว จะต้องทําการเลือกแบบที่ใกล้เคียงกบั CONCEPT ที่ตัง้ไว้ให้มากที่สดุ ในขัน้ตอนนีจ้ะต้องอาศยัอปุกรณ์ในการเขียนแบบ เพื่อถ่ายทอดงานนัน้ออกมา “ SCALE DRAWING” ให้ได้สดัสว่นตามจริงที่สดุ แล้วผลติภณัฑ์ในความคิดจะปรากฏรูปร่างออกมา

ขัน้ที่ 4 Design Analysis วเิคราะห์การออกแบบ

สิง่ที่นํามาเป็นหลกัพินิจพิเคราะห์สําคญัในการออกแบบ ได้แก่

● Ergonomic เพราะการออกแบบผลติภณัฑ์ คือการสร้างสรรค์สิ่งใด ๆ เพื่อรับใช้มนษุย์ ให้ทกุอยา่งกลมกลืนและเป็นไปตามธรรมชาติของมนษุย์ที่สดุ

● Marketing เพราะการผลิตนีเ้พื่อขายแก่คนกลุม่หนึง่ ดงันัน้การตลาดจงึ มีความสําคญัที่จะต้อง วิเคราะห์ด้วยเสมอ เช่นแนวโน้มศกัยภาพตลาด , ช่องทางการตลาด, ลกัษณะดีเดน่เพื่อการขาย, มลูเหตจุงูใจในการซือ้,แนวทางการโฆษณาขาย , ต้นทนุการจําหน่ายรวมถึงการวิเคราะห์ด้านอื่น ๆ เช่น ผลิตภณัฑ์ข้างเคียง คูแ่ข่ง, ประโยชน์ใช้สอย, ผลตอ่สิง่แวดล้อม , วิศวกรรม เป็นต้น .

ขัน้ที่ 5 Design Finalization ตกลงใจในการออกแบบ

คือการสรุปและเลือกเอาแบบที่ดีตรงตาม CONCEPT มากที่สดุ

โดยในขัน้ตอนนี่จะสามารถผลิตชิน้งานของจริงขึน้มาได้ ทัง้นีเ้ราจะ

สามารถเปรียบเทียบข้อดี – ข้อเสีย ของผลิตภณัฑ์ได้โดยพิจารณาจาก -

หน้าที่ใช้สอย – ความปลอดภยั - ความแข็งแรง - ความสะดวกสบายใน

การใช้งาน - ความสวยงามน่าใช้ - ราคา –การซ่อมแซมบํารุงรักษา –

วสัด ุ– กรรมวิธีการผลติ – การขนสง่ เป็นต้น

ขัน้ที่ 6 ทาํให้เป็นผลสาํเร็จ

คือการผลติออกมาเป็นชิน้งานจริงเพื่อนํามาจําหน่าย

ตวัอย่างการออกแบบ

ตวัอย่างการออกแบบ

ตวัอย่างการออกแบบ