11
การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal stenosis) โดย น.พ.ธเนศ วรรธนอภิสิทธิThaispineclinic.com

การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

Citation preview

Page 1: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal stenosis)

โดย น.พ.ธเนศ วรรธนอภสิิทธิ์

Thaispineclinic.com

Page 2: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

เป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนสูงอายุ การตีบแคบเกิดได้จากหลายสาเหตุแต่ที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากการเสื่อมของกระดูกสันหลัง

อาการและอาการแสดง

อาการปวดหลังบริเวณเอว ส่วนใหญ่จะมีอาการปวดไม่รุนแรง อาการปวดค่อย ๆ เป็น ค่อย ๆ ไป อาการปวดร้าวลงขา (Radiating pain) อาการปวดมักเริ่มบริเวณสะโพก ร้าวลงไปตามขาข้างที่เส้นประสาทถูกกดทับอาการชาอ่อนแรงของขา อาการจะเป็นมากขึ้นเมื่อเดินไกล ๆ หรือออกก าลังกาย เมื่อน่ังพักอาการจะทุเลาลง สามารถเดินต่อไปได้ (neurogenic claudication) ในรายที่มีอาการรุนแรง จะเสียการควบคุมของระบบขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะได้ (cauda equina syndrome)

Page 3: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

รูปแสดงพยาธิสภาพของกระดูกงอกและการหนาตัวของligament ยื่นเข้าไปในช่องกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาทที่อยู่ด้านใน

Page 4: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

รูปแสดงพยาธิสภาพของการเสื่อมและทรุดตัวลงของหมอนรองกระดูกและการเกิดกระดูกงอก ยื่นเข้าไปในช่องทางออกของเส้นประสาท

Page 5: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

การตรวจวินิจฉัย

X-ray จะพบการแคบของหมอนรองกระดูก กระดูกงอก แต่จะไม่สามารถบอกถึงความรุนแรงของการกดทับระบบประสาทMRI เป็นวิธีการตรวจเพื่อวินิจฉัย และประเมินการตึบแคบของช่องกระดูกสันหลัง CT myelogram เป็นวิธีการฉีดสเีข้าไปในช่องกระดูกสันหลังร่วมกับการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ใช้ในรายที่ไม่สามารถตรวจ MRI ได้ ช่วยในการประเมินความรุนแรงของการตีบแคบ

Page 6: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

รูป X-ray และ Myelogramแสดงการเสื่อมและตีบแคบของชอ่งกระดูกสันหลงั พบการไหลผ่านของสีไม่สะดวก

Page 7: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

MRI แสดงลักษณะการตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังส่วนเอวข้อที่3-4และข้อที4่-5

Page 8: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

การรักษา

ผู้ป่วยส่วนใหญ่รักษาโดยวิธีอนุรักษ์นิยมได้ผลดี ในรายที่มีอาการปวดอย่างรุนแรงไม่สามารถเดินได้ อาจพิจารณาผ่าตัดรักษาโดยเฉพาะอยา่งยิ่งในรายที่มีอาการทางระบบขับถ่าย

การรักษาโดยวิธีอนุรักษ์นิยม การใช้ยาระงับปวด สามารถช่วยลดอาการปวดได้ดี แต่ต้องระมัดระวังผลข้างเคียงในการ

ระคายเคืองกระเพาะอาหารการปรับใช้งานและการพัก ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการดีขึ้นหลังจากที่ได้พกั สามารถเดิน

ต่อไป ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องก้มเงยและยกของหนักการท ากายภาพบ าบัดช่วยลดการปวดที่เกิดจากกล้ามเนื้อและเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ

รอบกระดูกสันหลังการใช้อุปกรณ์ประคองหลังสามารถใช้ลดอาการปวดในระยะแรกแต่ถ้าใช้นานๆจะท าให้

กล้ามเนื้อหลังมีการอ่อนแรงการฉีดยาเข้าไขสันหลังหรือเส้นประสาท (epidural steroid, selective

nerve root injections)จะช่วยลดการปวดที่เกิดจากการกดทับเส้นประสาทแต่ไม่ได้แก้ไขสาเหตุการกดทับเส้นประสาท

Page 9: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

การรักษาโดยการผ่าตัดพิจารณาผ่าตัดในรายที่รักษาโดยวิธีอนุรักษ์แล้วไม่ได้ผล อาการท่ีเกิดขึ้นมีผลรบกวนการ

ใช้ชีวิตประจ าวัน มีการเสียการควบคุมระบบขับถ่าย จุดประสงคข์องการผ่าตัด เพื่อลดการกดทับต่อเส้นประสาทและไขสันหลังและให้กระดูกสันหลังมีความมั่นคง

Decompressive laminectomy เป็นการผ่าตัดเพื่อเอากระดูกสันหลังทางด้านหลัง (lamina) ออก เพื่อลดการกดทับต่อเส้นประสาท รวมไปถึงการตัดกระดูกงอกออกหรือการเอาหมอนรองกระดูกที่แตกออกในบางราย ผลการรักษาไม่ได้ขึ้นอยู่กบัขนาดของแผลผ่าตัด แผลผ่าตัดขนาดเล็กไม่สามารถท าได้ในรายที่มีการกดทับอย่างมากและเป็นหลายระดับ การฟื้นตัวของระบบประสาทขึ้นอยู่กบัความรุนแรงของการกดทับระบบประสาท ระยะเวลาของการกดทับและการผ่าตัดเอาส่วนที่กดทบัเส้นประสาทออกได้มากน้อยเพียงใด

การผ่าตัดเชื่อมกระดูก (fusion) อาจพิจารณาในรายที่มีการเสื่อมของกระดูกสันหลังอย่างมากจนกระดูกสันหลังสูญเสียความมั่นคง หรือในรายที่ผ่าตัดเอากระดูกที่กดทับเส้นประสาทออกแล้วกระดูกสันหลังสูญเสียความมั่นคง

Page 10: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

รูปแสดงการผ่าตัดรักษาช่องกระดูกสันหลังตีบแคบ

Page 11: การตีบแคบของช่องกระดูกสันหลังเอว (Lumbar Spinal Stenosis)

L3-4

หลังผ่าตัด

L4-5

หลังผ่าตัด

L4-5

ก่อนผ่าตัด

L3-4

ก่อนผ่าตัด

รูปเปรียบเทียบ MRIก่อนและหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวข้อที3่-4และข้อที4่-5