8
ปญหาการุณยฆาต การุณยฆาต หรือ ปรานีฆาต (อังกฤษ: euthanasia หรือ mercy killing; การุณยฆาตเปนศัพท ทางนิติศาสตร สวนปรานีฆาตเปนศัพททางแพทยศาสตร) หรือ แพทยานุเคราะหฆาต (อังกฤษ: physician-assisted suicide) หมายถึงการทําใหบุคคลตายโดยเจตนาดวยวิธีการที่ไมรุนแรงหรือ วิธีการที่ทําใหตายอยางสะดวก หรือการงดเวนการชวยเหลือหรือรักษาบุคคล โดยปลอยใหตายไป เองอยางสงบทั้งนีเพื่อระงับความเจ็บปวดอยางสาหัสของบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลนั ้นปวย เปนโรคอันไรหนทางเยียวยา อยางไรก็ดี การุณยฆาตยังเปนการกระทําที่ผิดกฎหมายและเปน ความผิดอาญาอยูในบางประเทศ กับทั้งผูไมเห็นดวยกับการฆาคนชนิดนี้ก็เห็นวาเปนการกระทําทีเปนบาปอนึ่ง การุณยฆาตยังหมายถึง การทําใหสัตวตายโดยวิธีการและในกรณีดังขางตนอีกดวย การจําแนกประเภทตามเจตนา 1. บุคคลซึ่งเจ็บปวยสาหัสหรือไดรับทุกขเวทนาจากความเจ็บปวยเปนตนสามารถแสดง เจตนาใหบุคคลอื่นกระทําการุณยฆาตแกตนได การนี้เรียกวา การุณยฆาตโดยดวยใจสมัครหรือ การุณยฆาตสมัครใจหรือ การุณยฆาตจงใจ” (อังกฤษ: voluntary euthanasia) 2. ในกรณีที่บุคคลดังกลาวไมอยูในฐานะจะแสดงเจตนาเชนวา ผูแทนโดยชอบธรรม กลาวคือ ทายาทโดยธรรม ผูใชอํานาจปกครอง ผูพิทักษ หรือผูอภิบาลตามกฎหมาย ตลอดจนศาล อาจพิจารณาใชอํานาจตัดสินใจใหกระทําการุณยฆาตแกบุคคลนั้นแทนได การนี้เรียกวา การุณย ฆาตโดยไมเจตนาหรือ การุณยฆาตโดยไมสมัครใจ” (อังกฤษ: involuntary euthanasia) อยางไรก็ดี การุณยฆาตโดยไมจํานงยังคงเปนที่ถกเถียงถึงความชอบธรรมตามกฎหมายอยู ในขณะนีเนื่องจากไมมีหนทางที่ทุกฝายจะมั่นใจไดวา ผูเจ็บปวยตองการใหกระทําการุณยฆาตแก ตนเชนนั้นจริง การจําแนกประเภทตามวิธีฆา 1. การุณยฆาตเชิงรับ” (อังกฤษ: passive euthanasia) คือ การุณยฆาตที่กระทําโดยการตัดการ รักษาใหแกผูปวย วิธีนี้ไดรับการยอมรับมากที่สุดและเปนที่ปฏิบัติกันในสถานพยาบาลหลายแหง 2. การุณยฆาตเชิงรุก” (อังกฤษ: active euthanasia) คือ การุณยฆาตที่กระทําโดยการใหสาร หรือวัตถุใด อันเรงใหผูปวยถึงแกความตาย ซึ่งวิธีนี้เปนที่ถกเถียงอยูในปจจุบันเชนกัน

06 ปัญหาการุณยฆาต

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 06 ปัญหาการุณยฆาต

ปญหาการุณยฆาต

การุณยฆาต หรือ ปรานีฆาต (อังกฤษ: euthanasia หรือ mercy killing; การุณยฆาตเปนศัพททางนิติศาสตร สวนปรานีฆาตเปนศัพททางแพทยศาสตร) หรือ แพทยานุเคราะหฆาต (อังกฤษ: physician-assisted suicide) หมายถึงการทําใหบุคคลตายโดยเจตนาดวยวิธีการที่ไมรุนแรงหรือวิธีการที่ทําใหตายอยางสะดวก หรือการงดเวนการชวยเหลือหรือรักษาบุคคล โดยปลอยใหตายไปเองอยางสงบท้ังนี้ เพื่อระงับความเจ็บปวดอยางสาหัสของบุคคลนั้น หรือในกรณีท่ีบุคคลนั้นปวยเปนโรคอันไรหนทางเยียวยา อยางไรก็ดี การุณยฆาตยังเปนการกระทําท่ีผิดกฎหมายและเปนความผิดอาญาอยูในบางประเทศ กับท้ังผูไมเห็นดวยกับการฆาคนชนดินี้ก็เห็นวาเปนการกระทําท่ีเปนบาปอนึ่ง การุณยฆาตยังหมายถึง การทําใหสัตวตายโดยวิธีการและในกรณดีังขางตนอีกดวย

การจําแนกประเภทตามเจตนา

1. บุคคลซ่ึงเจ็บปวยสาหัสหรือไดรับทุกขเวทนาจากความเจ็บปวยเปนตนสามารถแสดงเจตนาใหบุคคลอ่ืนกระทําการุณยฆาตแกตนได การนี้เรียกวา “การุณยฆาตโดยดวยใจสมัคร”หรือ “การุณยฆาตสมัครใจ” หรือ “การุณยฆาตจงใจ” (อังกฤษ: voluntary euthanasia)

2. ในกรณีท่ีบุคคลดังกลาวไมอยูในฐานะจะแสดงเจตนาเชนวา ผูแทนโดยชอบธรรม กลาวคือ ทายาทโดยธรรม ผูใชอํานาจปกครอง ผูพิทักษ หรือผูอภิบาลตามกฎหมาย ตลอดจนศาลอาจพิจารณาใชอํานาจตัดสินใจใหกระทําการุณยฆาตแกบุคคลนั้นแทนได การนี้เรียกวา “การุณยฆาตโดยไมเจตนา” หรือ “การุณยฆาตโดยไมสมัครใจ” (อังกฤษ: involuntary euthanasia)

อยางไรก็ดี การุณยฆาตโดยไมจํานงยังคงเปนท่ีถกเถียงถึงความชอบธรรมตามกฎหมายอยูในขณะน้ี เนื่องจากไมมีหนทางท่ีทุกฝายจะม่ันใจไดวา ผูเจ็บปวยตองการใหกระทําการุณยฆาตแกตนเชนนัน้จริง ๆ

การจําแนกประเภทตามวิธีฆา

1. “การุณยฆาตเชิงรับ” (อังกฤษ: passive euthanasia) คือ การุณยฆาตท่ีกระทําโดยการตัดการ

รักษาใหแกผูปวย วิธีนี้ไดรับการยอมรับมากท่ีสุดและเปนท่ีปฏิบัติกนัในสถานพยาบาลหลายแหง

2. “การุณยฆาตเชิงรุก” (อังกฤษ: active euthanasia) คือ การุณยฆาตท่ีกระทําโดยการใหสารหรือวัตถุใด ๆ อันเรงใหผูปวยถึงแกความตาย ซ่ึงวิธีนี้เปนท่ีถกเถียงอยูในปจจุบันเชนกัน

Page 2: 06 ปัญหาการุณยฆาต

3. “การุณยฆาตเชิงสงบ” (อังกฤษ: non-aggressive euthanasia) คือ การุณยฆาตท่ีกระทําโดยการหยดุใหปจจัยดํารงชีวิตแกผูปวย ซ่ึงวิธีนี้เปนท่ีถกเถียงอยูในปจจุบัน

การจําแนกแบบอ่ืน ๆ

ในพจนานุกรมกฎหมายของเฮนรี แคมปแบล แบล็ก (Black's Law Dictionary) ไดจาํแนกประเภทการุณยฆาตไวคลายคลึงกับสองประเภทขางตน ดังตอไปนี้[3]

1. การุณยฆาตโดยตัดการรักษา (อังกฤษ: passive euthanasia หรือ negative euthanasia) คือ การปลอยใหผูปวยตายไปเอง (อังกฤษ: letting the patient go) เปนวิธีท่ีปฏิบัติกันท่ัวไปในสถานบริการสาธารณสุข โดยใชรหัส "90" (เกาศูนย) เขียนไวในบันทึกการรักษา มีความหมายวาผูปวยคนนี้ไมตองใหการรักษาอีกตอไป และไมตองชวยยืดยื้อชีวิตในวาระสุดทายอีก ปลอยใหนอนตายสบาย

2. การุณยฆาตโดยเรงใหตาย (อังกฤษ: active euthanasia หรือ positive euthanasia)

2.1 การุณยฆาตโดยเจตจํานงและโดยตรง (อังกฤษ: voluntary and direct euthanasia) คือ การที่ผูปวยเลือกปลงชีวิตตนเอง (อังกฤษ: chosen and carried out by the patient) เชน ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขวางยาท่ีมีปริมาณมากเกินขนาดจนทําใหผูรับเขาไปตายได หรือยาอันเปนพิษ ไวใกล ๆ ผูปวย ใหผูปวยตัดสินใจหยบิกินเอง

2.2 การุณยฆาตโดยเจตจํานงแตโดยออม (อังกฤษ: voluntary and indirect euthanasia) คือ การที่ผูปวยตัดสินใจลวงหนาแลววาถาไมรอดก็ขอใหผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขกระทําการุณยฆาตแกตนเสีย โดยอาจแสดงเจตจํานงเชนวาเปนหนังสือ หรือเปนพินัยกรรมซ่ึงเรียกวาพินัยกรรมชีวติ (อังกฤษ: living will) ก็ได

2.3 การุณยฆาตโดยไรเจตจํานงและโดยออม (อังกฤษ: involuntary and indirect euthanasia) คือ ผูปวยไมไดรองขอความตาย แตผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขสงเคราะหใหเพราะความสงสาร

Page 3: 06 ปัญหาการุณยฆาต

การุณยฆาตและกฎหมาย

พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใชต้ังแตวนัท่ี 20 มีนาคม 2550 เปนตนไป ซ่ึงพระราชบัญญัติดังกลาวมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแสดงเจตจํานงของผูปวยท่ีจะไมรับการรักษาดังตอไปนี้พรอมบทบัญญัติท่ีเกี่ยวของ

มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขท่ีเปนไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บปวยไดการดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหน่ึงใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนดในกฎกระทรวงเม่ือผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขไดปฏิบัติตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหน่ึงแลว มิใหถือวาการกระทํานัน้เปนความผิด และใหพนจากความรับผิดท้ังปวง มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ "บริการสาธารณสุข" หมายความวา บริการตาง ๆ อันเกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันและควบคุมโรคและปจจัยท่ีคุกคามสุขภาพ การตรวจวนิิจฉัยและบําบัดสภาวะความเจ็บปวย และการฟนฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน "ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุข" หมายความวา ผูประกอบวิชาชีพตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล มาตรา 4 ใหนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนัน้ เม่ือไดประกาศในราชกจิจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

การุณยฆาตในมิติของศาสนา

ศาสนาพุทธ

ตามพุทธศาสนา ฆราวาสถือเบญจศีลขอหนึ่งเกีย่วกับปาณาติบาตคือการหามทําลายชีวิตไมวาของผูอ่ืนหรือของตนก็ตาม กับท้ังหามยนิยอมใหผูอ่ืนทําลายชีวิตของตนดวย

พุทธศาสนายังถือวาชีวิตเปนของประเสริฐสุดท่ีบุคคลพึงรักษาไวอีกดวย โดยมีพุทธวจันะหนึ่งวา "ใหบุคคลพึงสละทรัพยสมบัติเพือ่รักษาอวยัวะ ใหบุคคลพึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต" และ "ตราบใดท่ียังมีชีวิตอยู ตราบนั้นชีวิตก็ยังมีคา ไมควรทีใ่ครจะไปตดัรอนแมวาชีวิตนั้นกําลังจะตายก็ตาม หากไปเรงเวลาตายเร็วข้ึนแมจะเพียงแควินาทีเดยีวก็เปนบาป"

Page 4: 06 ปัญหาการุณยฆาต

นอกจากนี้ ภกิษุเถรวาทถือวนิัยขอหนึ่งซ่ึงปรากฏในปาฏิโมกขวา "ภกิษุท้ังหลายไมพึงพรากชีวิตไปจากมนุษย หรือจางวานฆาผูนัน้ หรือสรรเสริญคุณแหงมรณะ หรือยั่วยุผูใดใหถึงแกความตาย ดังนัน้ ทานผูเจริญแลวเอย ทานหาประโยชนอันใดในชีวติอันลําเค็ญและนาสังเวชนีก้ัน ความตายอาจมีประโยชนสําหรับทานมากกวาการมีชีวติอยู หรือดวยมโนทัศนเชนนั้น ดวยวัตถุประสงคเชนนั้น ถึงแมทานไมสรรเสริญคุณแหงมรณะหรือยั่วยุผูใดใหถึงแกความตาย ผูนั้นก็จักถึงแกความตายในเร็ววันอยูแลว”ดวยเหตุนี้ วาโดยหลักแลวพุทธศาสนาถือวาการุณยฆาตเปนบาป

ศาสนาคริสต

ในคัมภีรไบเบิล กลาววาลมหายใจของมนษุยข้ึนอยูกับพระเจา ความตอนหนึ่งวา "วนัเวลาของขาพระองคอยูในพระหตัถของพระองค" ดังนั้นการุณยฆาตจึงเปนการขัดพระประสงคของพระเจาท้ังนี้ ตามนกิายออรโทด็อกซ ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขท่ีใหยาแกผูปวยเกนิขนาดจนถึงตายถือวามีความผิดและเปนบาป แตในสถานการณเดียวกนั หากมีเจตนาเพื่อระงับบรรเทาความเจ็บปวด แมจะยังผลใหผูปวยถึงแกความตาย ก็ไมถือเปนผิดและเปนบาป

ความเห็นเก่ียวกับการุณยฆาตในประเทศไทยความเห็นสนับสนุน

นายสัก กอแสงเรือง โฆษกคณะกรรมการตรวจสอบการกระทําท่ีกอใหเกิดความเสียหายแกรัฐ ใหความเหน็วา

1. "รัฐธรรมนูญใหม (หมายถึงฉบับ พ.ศ. 2540) บัญญัติไววา ตองเคารพศักดิ์ศรีความเปน

มนุษยและสิทธิเสรีภาพของบุคคล จึงเกิดความคิดวา ควรจะใหผูปวยท่ีส้ินหวัง ไมสามารถรักษาไดแลว รอวันจบชีวิตอยางทนทุกขทรมาน มีสิทธิในการตดัสินใจวาจะมีชีวิตอยูหรือจบชีวิตลง เพราะการเลือกท่ีจะตายหรือมีชีวติอยูนั้นเปนสิทธิสวนบุคคล แตในกรณีท่ีเขาตัดสินใจเองไมได เชน ภาวะจิตใจไมสมบูรณ สมองไมทํางาน หรือเปนผูเยาว ก็ตองมาพิจารณากันวา ใครจะเปนคนตัดสินใจแทน ใชหลักเกณฑอะไร ในการตดัสิน และควรจะรับผิดอยางไรในกรณีท่ีตัดสินใจผิดพลาด"

2. "เราตองเคารพสิทธิของผูปวย เพราะวาเขาอยูอยางทุกขทรมาน แตการุณยฆาต ตองใชกับ

ผูปวยท่ีส้ินหวงัจริง ๆ ไมสามารถรักษาไดแลว หรืออยูไปก็ทรมานมากเทานั้น ถายังมีโอกาสหายแมเพียงนอยนดิกไ็มควรทํา"

Page 5: 06 ปัญหาการุณยฆาต

3. "แพทยและนักกฎหมายบางคนคิดวากฎหมายนาจะเปดโอกาส ใหทําการุณยฆาตได คือ

อนุญาตใหผูปวยมีสิทธิตัดสินใจเม่ือเขาเห็นวาตัวเองไมสามารถมีชีวิตอยูตอไปได ทุกขทรมานมากเกินไป ไมเหลือศักดิ์ศรีความเปนคนอยูแลว และบางทีการไมปลอยใหผูปวยตายอยางสงบก็ทําใหเกิดปญหาตามมาจริง ๆ ถาเราเปดโอกาสใหทําการุณยฆาตไดบางกน็าจะเปนประโยชน"

ความเหน็ไมสนับสนุน

คุณหญิงพรทิพย โรจนสุนันท ผูอํานวยการสถาบันนิติวทิยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม ใหความเหน็วา

1. "เราคงไมตองมาถกเถียงกันวาการุณยฆาตเปนเร่ืองถูกตองหรือไม.เรารูไดอยางไรวา แพทย

ทําไปดวยความบริสุทธ์ิใจ ทําไปดวยเจตนาดีจริง ไมใชข้ีเกียจทํางาน และเกณฑวดัวาบุคคลนั้นเปนผูปวยท่ีส้ินหวงัแลวอยูตรงไหน รูไดอยางไรว คนไขไมมีโอกาสรอดแลวจริงๆ หมอวินจิฉัยถูกหรือเปลา พยายามเต็มท่ีแลวหรือยงั มีทางรักษาอ่ืนอีกหรือไม แพทยสภาตองใหคําจํากัดความของคําวา "ส้ินหวงั" ใหชัด ๆ ส้ินหวังเพราะแพทยหมดทางรักษาจริง หรือส้ินหวังเพราะแพทยทํางานไมเต็มท่ี หรือเปนเพราะญาติไมเหลียวแล"

2. "การทําการุณยฆาตมีชองโหวอยูมากและมีโอกาสถูกนําไปใชในทางท่ีผิด เชน ทําใหผูปวยระยะสุดทายซ่ึงสวนใหญเปนผูท่ีไดรับอุบัติเหตุตายแลวเอาอวัยวะไปขาย หรือญาติใหฆาเพื่อเอามรดก เปนตน สังคมจึงตองเขามาตรวจสอบในเร่ืองนี้ ไมควรปลอยใหเปนเร่ืองระหวางแพทยกับคนไขเทานัน้ เพราะมันอาจจะเอ้ือใหแพทยทําส่ิงผิดได เหมือนกับการวิสามัญฆาตกรรม ตํารวจเปนผูท่ีถืออาวุธมีสิทธิทําใหคนตายในขณะถูกจับกุมโดยท่ีไมมีใครเอาผิดได ในทํานองเดียวกัน แพทยก็เปนผูท่ีถือเข็มฉีดยาจะทําใหผูปวยตายเมื่อไหรก็ได active euthanasia เทากับเปนการวิสามัญฆาตกรรม หรือการฆาในอีกรูปแบบหนึ่ง"

3. "ถาจะมีกฎหมายอนุญาตใหทําไดเหมือนในตางประเทศ หมอคงคานรอยเปอรเซนต ไมใหเกิดแน เพราะวามันขัดกับหลักศาสนาพุทธอยางแรง ถาเกิดไดก็คงเปนแบบ passive คือ หยุดใหการรักษาเทานั้น แตถึงจะเปนแบบ passive หมอบางคนก็ยังรูสึกวาการหยดุการรักษานั้นเปนบาปอยูดี เหมือนกับใหหมอทําแทงคือเราไปปลิดชีวิตหนึง่ท้ิง ฟงดูเจตนาเปนความกรุณา แตแทท่ีจริงแลวไมแนใจวา มันเปนความกรุณาจริงหรือเปลา

Page 6: 06 ปัญหาการุณยฆาต

การุณยฆาตกับ ราง พรบ.ปฏิรูปสุขภาพ

รางกฎหมายปฏิรูปสุขภาพท่ีกําลังอยูในระหวางการดําเนนิการรับฟงความคิดเห็น และจัด เวทีสมัชชาระดมความเห็นตามจังหวดัตาง ๆ ท่ัวประเทศ นับเปนอีกกฏหมายหนึ่งท่ีมีความสําคัญตอวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนเปนอยางมาก เนื้อหาในรางกฎหมายฉบับนี ้ มีเนื้อหาสาระท่ีด ีๆ รับรองไว\หลายเร่ือง เชนการคุมครองสิทธิของผูปวย (มาตรา ๘-๒๔) การกําหนดวารัฐตองดแูลใหบริการสาธารณสุขโดยไมใหกลายเปนการหากําไรเชิงธุรกิจ, (มาตรา ๓๑) การกําหนดวาความม่ันคงดานสุขภาพตองครอบคลุมถึงดานสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรส่ิงแวดลอม การเมือง ความยุติธรรม เทคโนโยลีความเชื่อ และวัฒนธรรม,(มาตรา ๓๔) การรับรองประชาชนรวมตัวกันต้ังสมัชชาตาง ๆ เพื่อเคล่ือนไหว รณรงค ในเฉพาะประเด็น หรือเฉพาะทองถ่ินได, (มาตรา ๖๔) และที่นาสนใจอีกเร่ืองคือการกําหนดวา การจายเงินดานสาธารณสุขของประชาชน ตองเปนไปตามสัดสวนความสามารถในการจายไมใชจายตามความสามารถตามภาระความเส่ียง (มาตรา ๙๔ วงเล็บ ๑) ส่ิงด ี ๆ ท่ีบรรจุไวในราง พรบ.สุขภาพแหงชาติ ยังมีอีกประเดน็หนึ่งท่ีแทรกเปนยาดําอยูในรางกฏหมายฉบับนี้ ซ่ึงเปนเร่ืองใหมท่ีทาทายความคิดของสังคมไทยอยางมาก นั่นคือ มาตรา ๒๔ ท่ีรับรองสิทธิการตายอยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยนั่นคือ เรากําลังจะมีกฎหมายท่ีรับรองเร่ือง การุณยฆาต หรือ Mercy Killing

การุณยฆาตคอือะไร การุณยฆาต หมายถึง การกระทํา หรืองดเวนการกระทํา อยางหนึ่งอยางใด เพื่อใหบุคคลท่ีตกอยูในสภาวะนาเวทนา เดือดรอนแสนสาหัส เนื่องจากสภาวะทางรางกาย หรือจิตใจไมปรกติขาดการรับรูเร่ืองใด ๆ ท้ังส้ิน ทําการรักษาใหหายไมได ดํารงชีวิตอยูตอไป ก็มีแตจะส้ินสภาพการเปนมนษุยจบชีวิตลงเพื่อใหพนจากความทุกขทรมาน รักษาศักดิ์ศรีความเปนมนุษย และจํากัดความสูญเปลาทางเศรษฐกิจ สรุปอยางงายคือ การทําใหผูปวยตายดวยเจตนาท่ีแฝงดวยเจตนาท่ีด ีทําลงไปดวยความกรุณาเพ่ือใหผูปวยพนจากความทุกขทรมาน การุณยฆาต มีอยูสองแบบ คือ

๑. การชวยใหผูปวยท่ีส้ินหวงัตายอยางสงบ (active euthanasia) คือ การท่ีแพทยฉีดยา ใหยา หรือกระทําโดยวิธีอ่ืน ๆใหผูปวยตายโดยตรง การยุติการใชเคร่ืองชวยหายใจ ก็จัดอยูในประเภทนี้ดวย

๒. การปลอยใหผูปวยท่ีส้ินหวังตายอยางสงบ (passive euthanasia) คือ การท่ีแพทยไมส่ังการรักษา หรือยกเลิกการรักษา ท่ีจะยดืชีวิตผูปวยท่ีส้ินหวัง แตยังคงใหการดแูลรักษาท่ัวไป เพื่อชวยลดความทุกขทรมานของผูปวยลง จนกวาจะเสียชีวิตไปเอง ในตางประเทศขณะนี ้เร่ิมมีการยอมรับกันบางในประเทศ เชนเนเธอรแลนด นอรเวย บางรัฐในออสเตรเลีย และบางรัฐในสหรัฐอเมริกา บางประเทศกมี็ระเบียบวางไววาตองยึดถือเจตนาของผูตายเปนสําคัญ บางประเทศกใ็หอยูกับดุลยพินิจของแพทยผูรักษาเปนผูตัดสินใจแทนและบางประเทศก็ใหใชเปนคําส่ังศาล

Page 7: 06 ปัญหาการุณยฆาต

การุณยฆาตในสังคมไทย

ตามหลักการทัว่ไปในประมวลกฎหมายอาญา ใครก็ตามท่ีกระทําใหคนอ่ืนตาย ไมวาเจตนา หรือไมเจตนา ลวนแตมีความผิดขอหาฆาคนตายท้ังส้ิน และตามกฏหมายท่ีบังคับใชอยูในปจจุบัน ก็มิไดมีการรับรองเร่ืองการุณยฆาต ดังนั้น ก็ตองนับวาการุณยฆาต นับเปนการฆาคนตายดวยเจตนา ในทางปฏิบัติของวงการสาธารณสุขมีการยอมรับเร่ืองเหลานี้ และเปนเร่ืองท่ีตองลักลอบปฏิบัติกันอยางเปนความลับทุกคร้ัง เปดเผยใหคนอ่ืนรูไมได กลาวอยางงาย ๆ ปญหาเร่ืองการุณยฆาต ก็คลาย ๆ กับเร่ืองปญหาการทําแทงเสรี คือ มีการปฏิบัติกันอยูตลอดเวลา แตกฎหมายยังไมยอมรับ เพราะเดินตามภาวะความเปนไปของสังคมไมทันตามราง พรบ. สุขภาพแหงชาต ิถึงแมจะไมไดเขียนเร่ือง การุณยฆาตไวอยางตรง ๆ แตเขียนไวเพยีงวารับรองการตายอยางสงบและมีศักดิ์ศรีความเปนมนษุย โดยระบุไวชัดเจนเลยวา ตองเปนการแสดงความจํานงจากตัวผูปวยเอง วาเลือกท่ีรับการรักษา หรือยุติการรักษา ท่ีเปนเพยีงการยืดชีวิตในวาระสุดทายของชีวิตเราควรทําอยางไรกับผูปวยท่ีทรมานกบัการลุกลามของมะเร็งในระยะสุดทาย, ผูปวยสูงอายหุรือผูปวยข้ันโคมา ท่ีอยูไดดวยเคร่ืองชวยหายใจ กับยาเพิ่มความดนั, ผูประสบอุบัติเหตุรายแรง ท่ีถึงแมจะมีชีวิตรอด แตก็ตองทนทุกขทรมานอยางแสนสาหสั ตกอยูในสภาพ "ฟนก็ไมได ตายก็ไมลง" ตองอยูในลักษณะเหมือนเปนผักปลา หรือมีชีวิตอยูอยางท่ีนักกฎหมายเรียกวา ไมเหลือศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยถาทําใหผูปวยตายอยางสงบ แพทยอาจตองรับผิดทางอาญา หรือขัดตอหลักจริยธรรม มีโอกาสถูกฟองฐานฆาผูอ่ืน แตถาผูปวยแสดงเจตนาท่ีตายของยุติชีวิตของตนเองเพ่ือไมอยากทนทุกขทรมาน แตแพทยกลับชวยในทุกวิถีทาง แพทยก็อาจละเมิดสิทธิของผูปวย รวมท้ังสรางปญหาใหแกญาติท่ีตองแบกรับภาระเร่ืองคารักษาพยาบาล ในท่ีสุดเราคงตองพิจารณากันใหรอบคอบกับการุณยฆาต หากกระบวนการตัดสินใจกอนลงมือการุณยฆาตคนปวยผิดพลาด หรือถูกบิดเบือนเพื่อผลประโยชนของคนอ่ืน หรือถูกนําไปเปนคําอางของแพทยท่ีจะยุติการรักษาคนปวยท่ียากไร จะยึดอะไรเปนมาตรฐานในการแสดงเจตนาท่ีจะตายอยางมีศักดิ์ศรี การที่ ราง พรบ.สุขภาพแหงชาติ ไดรับรองสิทธิการตายอยางมีศักดิ์ศรีวา ตองเกิดจากการแสดงความจํานงของผูปวยเทานั้นเทากับวาสิทธิท่ีจะอยูหรือตาย เปนสิทธิสวนตัวของผูปวยเอง คงจะไมมีปญหาอะไรทีก่ารแสดงความจํานงนั้นผูปวยไดบอกกลาวไว หรือทําหลักฐานเปนพนิัยกรรมไวกอนลวงหนา แตในทางตรงขาม โดยท่ัวไปของผูปวยท่ีกําลังอยูในวาระสุดทายของชีวิต สวนมากจะอยูภาวะท่ีไมสามารถแสดงความจาํนงอะไรได คนปวยท่ีนอนหลับสลบไสลอยูในหองไอซียูนานนับป ผูปวยท่ีพูดไมได หรืออยูในภาวะท่ีไมสามารถรับรู อะไรได และผูปวยท่ีอยูสถานะภาพที่เปนผูเยาวหากตามประเพณีปฏิบัติท่ีทราบกันดอียู อํานาจการตัดสินใจวาจะรักษา หรือไมรักษา ข้ึนอยูกับความเหน็ของแพทย ผูท่ีรูดีท่ีสุดถึงขอมูลสุขภาพของผูปวย และญาติผูท่ีจะรับผิดชอบคารักษาการลิดรอนชีวิตของใครคนใดคนหนึ่งในลักษณะ เปนเร่ืองละเอียดออน ซับซอน และคงยอมรับ

Page 8: 06 ปัญหาการุณยฆาต

กันไดยาก หากการตัดสินใจวาจะอยู หรือตาย เกิดจากการตัดสินใจของคนอ่ืนท่ีมิใชตัวผูปวยเอง และมีโอกาสอยางยิ่งท่ีจะสรางความสับสน และวุนวายในปญหาเชิงจริยธรรมในอนาคตอยางแนนอน เชน กรณีท่ีผูปวยเปนคนม่ังค่ัง มรดกมาก แลวมีคนรอรับผลประโยชนหลังการตายของผูปวยคนนัน้ และจะเลวรายยิ่งข้ึนถาเกิดการสมยอม วาจาง ใหแพทยชวยทําการกรุณยฆาต หรือกรณีท่ีคนปวยผูยากไร อยูภาวะท่ียากจน แลวแพทยใหขอมูลหวานลอม โมเม ใหผูปวยแสดงเจตนาวาประสงคท่ีจะตายอยางมีศักดิ์ศรี เพื่อใหทางโรงพยาบาลไดประหยัดตนทุนการรักษาท้ัง ๆ ท่ีผูปวยคนนั้นพอมีทางรอดไดจะปฏิเสธหรือยอมรับใหมีแตตองขยายความ มาตรา ๒๔ ใหรัดกุมข้ึนบทความนี ้คงไมช้ีนํา หรือฟนธงวา สมควรยอมรับการมีการุณยฆาตหรือไม เพียงแตอยากใหขอมูลคุณผูอาน ใหชวยกันพิจารณา ใน ๒ แนวทาง

แนวทางท่ี ๑ คือ ปฏิเสธแนวคิดนี ้เพราะขัดตอศีลธรรมอันด ีการประหาร ตัดรอนชีวติ ผูหนึ่งผูใดเปนบาป ผิดตอศีลธรรมอยางรายแรง และอาจจะเปนชองทางที่ทําใหคนไมดีแอบอางเจตนาผูปวยเพื่อผลประโยชน

แนวทางท่ี ๒ คือ ยอมรับแนวคิดนี ้แตสมควรจะตองมีการเพิ่มเติมเนื้อหาสาระในราง พรบ.สุขภาพแหงชาติในเร่ืองนี้ การที่รับรองไวเพยีงมาตราเดียว นาจะเกิดชองวางตามมาอีกมาก หรือตองมีการออกกฎหมายอีกฉบับ เพื่อมาประกอบกับราง พรบ. สุขภาพแหงชาติ ท่ีวาดวยเร่ืองการุณยฆาตเปนการเฉพาะซ่ึงมีเนื้อหาท่ีตองมีการวางมาตรการท่ีรัดกุม รอบคอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง วาจะเอามาตรฐานใดในการแสดงเจตนาวาผูปวยประสงคท่ีจะตายอยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษย กลไกในการตรวจสอบเจตนาน้ันวาเปนเจตนาท่ีแทจริงหรือไม ผูอ่ืนจะแสดงเจตนาแทนผูปวยไดหรือไม ตลอดจนบทกําหนดโทษที่รุนแรงสําหรับคนท่ีนําเร่ืองการุณยฆาตไปใชผิดวัตถุประสงคหวั่นเกรงเพยีงอยางเดยีว คือ หากเร่ืองการุณยฆาตเปนท่ียอมรับกนัวาถูกตองตามกฎหมายแลวตอไปหากใครที่เขารับการักษาพยาบาลในโรงพยาบาล จะถูกม่ัวนิ่มหลอกใหเซ็นช่ือไวลวงหนาวาประสงคท่ีจะตายอยางมีศักดิ์ศรี โดยท่ีผูปวยเองไมทราบวาตัวเองถูกเขาหลอกใหลงช่ือไปแลว