13
วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2 การออกแบบหนังสือเลม หนังสือเลม หมายถึง สิ่งพิมพที่มีการเย็บเลมเขาดวยกัน มีทั้งปกแข็งและปกออน เนื้อหา ภายในมักเปนเรื่องราวเดียวกันตลอดเลม หรืออาจแบงเปนหลายเลม ถาเนื้อหายาวเกินกวา จะจบภายในเลมได หนังสือในลักษณะหลังเรียกรวมเปนชุดหนังสือ หนังสือเลมมักมีผูเขียน คนเดียวโดยตลอด ยกเวนในกรณีที่มีการรวมเรื่องสั้นจากผูเขียนหลายคนไวดวยกัน หรือ หนังสือเลมไมมีวาระการจัดจําหนายที่แนนอนหรือออกเปนรายประจํา ใชรูปแบบการจัด หนาแบบเดียวตลอดเลม และมักเปนแบบเรียบงายเมื่อเทียบกับการออกแบบและจัดหนา สิ่งพิมพประเภทอื่น รูปแบบและขนาดของหนังสือเลม รูปแบบของหนังสือเลมนิยมจัดทําในลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผาอาจเปนแนวตั้งหรือแนวนอน ทีมีขนาดสอดคลองกับขนาดกระดาษมาตรฐานที่จําหนายทั่วไป รูปแบบแนวตั้งมีดานสัน หนังสือเปนดานยาว สวนรูปแบบแนวนอนมีดานสันหนังสือเปนดานที่สั้น การจัดทําหนังสือ ในรูปแบบอื่นยอมทําได เชน ทําเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน สี่เหลี่ยมคาง หมู สามเหลี่ยม วงกลม ฯลฯ แตการจัดทําหนังสือใหมีรูปแบบดังกลาวเปนการกระทําทีสิ้นเปลืองมากเพราะจะเหลือเศษกระดาษจากการตัดเจียนมากเกินไป และจําเปนตองทิ้ง กระดาษที่ไมไดใชอยางนาเสียดาย และนอกจากความไมประหยัดแลว ยังอาจกอใหเกิด ความไมสะดวกในการใชดวย การดาษเปนวัสดุพิมพที่มีราคาแพงมาก จึงควรใชประโยชน จากกระดาษใหมากที่สุด

1 book

Embed Size (px)

DESCRIPTION

book

Citation preview

Page 1: 1 book

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

การออกแบบหนังสือเลม หนังสือเลม หมายถึง ส่ิงพิมพที่มีการเย็บเลมเขาดวยกัน มีทั้งปกแข็งและปกออน เนื้อหา

ภายในมักเปนเร่ืองราวเดียวกันตลอดเลม หรืออาจแบงเปนหลายเลม ถาเน้ือหายาวเกินกวา

จะจบภายในเลมได หนังสือในลักษณะหลังเรียกรวมเปนชุดหนังสือ หนังสือเลมมักมีผูเขียน

คนเดียวโดยตลอด ยกเวนในกรณีที่มีการรวมเร่ืองส้ันจากผูเขียนหลายคนไวดวยกัน หรือ

หนังสือเลมไมมีวาระการจัดจําหนายที่แนนอนหรือออกเปนรายประจํา ใชรูปแบบการจัด

หนาแบบเดียวตลอดเลม และมักเปนแบบเรียบงายเม่ือเทียบกับการออกแบบและจัดหนา

ส่ิงพิมพประเภทอื่น

รูปแบบและขนาดของหนังสือเลม รูปแบบของหนังสือเลมนิยมจัดทําในลักษณะส่ีเหล่ียมผืนผาอาจเปนแนวต้ังหรือแนวนอน ที่

มีขนาดสอดคลองกับขนาดกระดาษมาตรฐานที่จําหนายทั่วไป รูปแบบแนวต้ังมีดานสัน

หนังสือเปนดานยาว สวนรูปแบบแนวนอนมีดานสันหนังสือเปนดานท่ีส้ัน การจัดทําหนังสือ

ในรูปแบบอื่นยอมทําได เชน ทําเปนรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ส่ีเหล่ียมขนมเปยกปูน ส่ีเหล่ียมคาง

หมู สามเหล่ียม วงกลม ฯลฯ แตการจัดทําหนังสือใหมีรูปแบบดังกลาวเปนการกระทําที่

ส้ินเปลืองมากเพราะจะเหลือเศษกระดาษจากการตัดเจียนมากเกินไป และจําเปนตองทิ้ง

กระดาษท่ีไมไดใชอยางนาเสียดาย และนอกจากความไมประหยัดแลว ยังอาจกอใหเกิด

ความไมสะดวกในการใชดวย การดาษเปนวัสดุพิมพที่มีราคาแพงมาก จึงควรใชประโยชน

จากกระดาษใหมากที่สุด

Page 2: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

2

ขนาดของหนังสือเลม แบงตามขนาดมาตรฐานของกระดาษแผนไดเปนสองจําพวก คือ

ขนาดที่ไดจากการใชกระดาษแผนที่มีความกวางเทากับ 31 นิ้ว และความยาวเทากับ 43 นิ้ว

และขนาดที่ไดจากการใชกระดาษแผนที่มีความกวางเทากับ 24 นิ้ว และความยาวเทากับ 35

นิ้ว หรือมีความกวางเทากับ 25 นิ้ว และความยาวเทากับ 36 นิ้ว โดยประมาณขนาดของ

หนังสือเลมที่ผลิตจากกระดาษท่ีมีความกวางเทากับ 31 นิ้ว และความยาวเทากับ 43 นิ้ว

ไดแก ขนาดส่ีหนายก แปดหนายก สิบหกหนายก หรือเล็กกวา แตขนาดของหนังสือเลมที่

เปนที่นิยม ไดแก ขนาดแปดหนายกและสิบหกหนายก หนังสือเลมขนาดแปดหนายกที่พบ

เห็นทั่วไป ไดแก หนังสือเรียน ตํารา พจนานุกรม ฯลฯ สวนหนังสือเลมขนาดสิบหกหนายกที่

พบเห็นทั่วไป ไดแก หนังสือขนาดกระเปา ( Pocket Book )

ขนาดของหนังสือเลมที่ผลิตจากกระดาษที่มีความกวางเทากับ 24 นิ้ว และความยาวเทากับ

35 นิ้ว เปนขนาดหนังสือในชุด เอ เชน เอสาม เอส่ี เอหา เปนตน ขนาดที่นิยมใชกับหนังสือ

เลมคือ ขนาดเอส่ี หรือเรียนอีกช่ือหนึ่งวา ขนาดแปดหนายกใหญ หรือแปดหนายกพิเศษ ใช

สําหรับหนังสือเรียน ตํารา ฯลฯ สวนขนาดเอหา ใชสําหรับหนังสือขนาดกระเปาซ่ึงสะดวกตอ

การพกพา

ถาเปรียบเทียบขนาดหนังสือที่เปนหนายกแลว จะพบวาหนังสือขนาดแปดหนายกมีขนาด

เปนสองเทาของขนาดสิบหกหนายก และถาเปรียบเทียบขนาดของหนังสือในชุดเอ จะพบวา

หนังสือขนาดเอส่ีมีขนาดเปนสองเทาของขนาดเอหา แตถาเปรียบเทียบขนาดของหนังสือที่

เปนหนายกและขนาดของหนังสือในชุดเอ จะพบวาขนาดแปดหนายกเล็กกวาขนาดเอส่ี

เล็กนอย ในขณะท่ีขนาดสิบหกหนายกเล็กกวาขนาดเอหาเล็กนอย

Page 3: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

3

สวนประกอบของหนังสือเลม หนังสือเลมไมวาจะเปนประเภทใด ประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญ 4 สวน เรียงลําดับ

คือ

1. สวนปกของเลม

2. สวนหนาหรือสวนนําหนา

3. สวนเนื้อหา

4. สวนหลังหรือสวนอางอิง

1. สวนปกของเลม (binding) สวนปกของเลมเปนสวนประกอบแรกของหนังสือซ่ึงหอหุมสวนอื่นๆ ของหนังสือไวที่จะตอง

สัมผัสและดูเปนลําดับแรกสุด บนหนาปกจะมีชื่อหนังสือทั่วไปมักจะประกอบไปดวยหนา

เหลานี้ คือ

1.1) หนาปก หนาปกของหนังสือเปรียบเทียบไดกับหนาตาของคนเรา จะเปนสวนที่

คนจะตองหยิบจับและดูเปนดับแรกสุด บนหนาปกจะมีชื่อหนังสือบอกใหผูอานทราบเปน

เบื้องตนวาหนังสือเลมนั้นๆ มีเนื้อหาเก่ียวกับเร่ืองอะไร นอกจากนั้นก็อาจจะมีชื่อผูเขียน

ผูแปล ผูเรียบเรียง สําหรับหนังสือบางเลมก็อาจจะมีชื่อบรรณาธิการของหนังสือเลมนั้น

พิมพไวดวย ปกหนังสือสวนมากยังมีภาพประกอบ ซึ่งอาจเปนภาพวาด ภาพถาย

พิมพไวเพื่อความสวยงามหรือแสดงแนวคิดของหนังสือดวยก็ได บางเลมก็อาจจะมีชื่อ

สํานักพิมพและเครื่องหมายตรา (logo) ของสํานักพิมพนั้นอยูดวย

1.2) สันปก สันปกทําหนาที่เช่ือมหรือยึดปกหนาและปกหลังไวดวยกัน บนสันปกอาจมี

ชื่อหนังสือ ชื่อผูแตง ชื่อสํานักพิมพ หรืออื่นๆ เพื่อที่วาเวลาวางหันสันออกจะไดอาน

คนหาไดสะดวก

1.3) ปกหลัง ปกหลังของหนังสืออาจจะมีขอความหรือไมมีขอความก็ได

Page 4: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

4

1.4) ใบหุมปก หนังสือปกแข็งหรือปกออนบางเลมอาจจะมีใบหุมปกหุมอยูดวยเพื่อความ

สวยงาม และปองกันหนังสือสกปรก บนใบหุมมักจะมีขอความเชนเดียวกับปก และ

อาจจะมีรายละเอียดเปนลักษณะขอความโฆษณา หรือแสดงรายละเอียดสังเขปของ

หนังสือเลมนั้นอยูดวยก็ได

1.5) ใบผนึกปก เปนกระดาษท่ีปะติดกับปกหนาดานในและปกหลังดานในกับสวน

นําหนาและสวนหลังของหนังสือ เพื่อใหหนังสือแข็งแรงขึ้น สําหรับหนังสือปกออนบางเลม

และหนังสือปกแข็งทุกเลม บนใบผนึกปกนี้จะมีขอความหรือไมมีเลยก็ได

2. สวนหนาหรือสวนนําหนา (Preliminaries or front matter) สวนหนาหรือสวนนําหนาเปนสวนประกอบของหนังสือ ลําดับตอจากสวนปกหนังสือเขา

มา เปนสวนที่อยูกอนหนาเน้ือหาของหนังสือ สวนหนาของหนังสือจะนับเลขหนาดวย

และจะใสเลขหนาในบางหนา บางหนาก็ไมใสเลขหนา เลขหนาที่ใชมักใหตางจากเน้ือหา

เชน เปนเลขในวงเล็บ เปนเลขโรมัน เปนตัวอักษร สวนหนาของหนังสือ ประกอบดวยหนาตางๆ ดังนี้ 2.1) หนารองปก (flyleaf) เปนกระดาษท่ีอยูตอจากใบผนึกปกหนา ไมนิยม

พิมพขอความใดๆ ไวเลยในหนานี้

2.2) หนาช่ือเรือ่ง (half title page) มักเปนหนาแรกท่ีพิมพของหนังสือ จะมี

ชื่อหนังสือปรากฏอยู ถาเปนชื่อหนังสือยาวๆ ก็จะใชชื่อยอ แตถาช่ือหนังสือส้ันก็จะพิมพ

ไวเต็มเลยก็ได

2.3) หนารูปภาพนํา (frontispiece) หนารูปภาพนํานี้อยูหลังหนาช่ือเร่ือง และอยูดานซายมือตรงขามกับหนาปกในซึ่งจะอยูทางดานขวามือ หนารูปภาพนํานี้จะพิมพ

ภาพเก่ียวกับเร่ืองราวภาพวาด หรือลวดลายเพื่อตกแตงหนังสือใหสวยงามมีคุณคาย่ิงขึ้น

2.4) หนาปกใน (title page) เปนหนาที่มีรายละเอียดตางๆ เก่ียวกับหนังสือ

เลมนั้นๆ อยางครบถวนสมบูรณ คือ มีชื่อเร่ือง ชื่อรอง ชื่อผูแตง ผูแปล ผูเรียบเรียง

ชื่อบรรณาธิการ ชื่อผูวาดหรือถายทําภาพประกอบ คร้ังที่พิมพ สํานักพิมพ และอื่นๆ หนาปกในเปนหนาสําคัญมากของหนังสือ เพราะ ใหรายละเอียดตางๆ เก่ียวกับ

หนังสือดังกลาวแลว และจะอยูทางหนาขวามือเสมอและตรงขามกับหนารูปภาพนํา (ถามี)

2.5) หนาลิขสิทธ์ิ (copyright page) หนาลิขสิทธิ์จะอยูดานหลังของหนาปกในเสมอ ในหนานี้จะมีรายละเอียดเก่ียวกับการจัดพิมพ ซึ่งไดแก เจาของลิขสิทธิ์ตาม

กฎหมาย ชื่อสํานักพิมพ สถานที่พิมพ คร้ังที่พิมพ ปที่พิมพ จํานวนพิมพ ประวัติการ

Page 5: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

5

จัดพิมพของหนังสือที่ผานมา นอกจากนี้ยังอาจมีขอมูลบัตรรายการหองสมุด (Catalog in

Publication Data หรือ CIP) ที่สํานักพิมพจัดทําไวใหดวย เลขประจําหนังสือสากล

(International Standard Book Number หรือ ISBN) และอาจจะมีรายละเอียดอื่นๆ

เก่ียวกับการจัดพิมพ หรือของสํานักพิมพอีกดวยก็ได

2.6) หนาคําอุทิศ (dedication page) เปนหนาที่ผูแตง ผูแปล หรือผูเรียบ

เรียงเขียนขอความเพื่ออุทิศหรือยกความดี หรือคุณคาของหนังสือเลมนั้น ใหแกบุคคลหรือ

กลุมบุคคล

2.7) หนาคํานํา (preface) เปนหนาหนังสือที่ผูแตง ผูแปล ผูเรียบเรียง หรือ

บรรณาธิการ หรือผูจัดพิมพ อธิบายสาระสังเขปหรือลักษณะการเสนอเนื้อหาของหนังสือ

เหตุผลในการเขียน แปล เรียบเรียง หรือจัดพิมพ หรือสาระขอมูลที่ควรทราบในการอาน

หนังสือเลมนั้นตอไป อีกทั้งอาจจะมีคําขอบคุณผูมีสวนชวยเหลือสนับสนุน หรือให

กําลังใจตลอดจนรับจัดพิมพจนเกิดหนังสือเลมนั้นขึ้นมา

2.8) หนาคําขอบคุณ (acknowledgement page) เปนหนาหนังสือที่ผูเขียนหรือผูจัดพิมพ อาจจะเขียนแสดงถอยคําขอบคุณที่แยกมาจากหนาคํานําตางหากหรืออาจจะ

บอกขอความวาหนังสือเลมนั้น ไดใชภาพประกอบหรือเนื้อหาในสวนใดมาจากใคร เพื่อ

เปนการยกยองหรือใหเกียรติแกเจาของผลงานเดิม

2.9) หนาสารบาญ หรือ สารบัญ (content) เปนหนาที่มีความสําคัญมากอยางหนึ่งของหนังสือ เพราะเปนหนาที่ใหรายละเอียดตามลําดับเก่ียวกับชื่อตอน ชื่อ

ภาค ชื่อบท ชื่อหนวย ชื่อหัวขอใหญ หัวขอรอง ฯลฯ ทั้งหมดของหนังสือ และมีเลข

หนากํากับไวใหดวย เพื่อความสะดวกในการคนหา หรือชวยใหผูอานไดเห็นเคาโครงเร่ือง

ที่เปนโครงสรางของหนังสือทั้งเลม

ผูอานสามารถใชประกอบการตัดสินใจในการเลือกอาน เลือกซื้อ หรือใชศึกษาคนควาไดอยางดีที่สุด ซึ่งใชเวลาอานไมนานก็จบ และใชเปนขอมูลในการพิจารณา

ตัดสินใจเพื่อวัตถุประสงคตามความตองการไดอยางรวดเร็วดีที่สุดมากกวาสวนอื่นๆ

ทั้งหมดของหนังสือในระยะเวลาส้ันๆ

ที่กลาวไวในยอหนากอนวา หนาสารบัญเปนหนาที่ใหรายละเอียดตางๆ ของหนังสืออยาง

ครบถวนสมบูรณนั้น มักเปนลักษณะของหนังสือวิชาการ สารคดี หรือก่ึงสารคดีเปน

สวนใหญ และผูเขียน บรรณาธิการ หรือผูจัดพิมพมองเห็นคุณคาของการจัดทําสารบัญ

อยางละเอียดดวย แตถาเปนหนังสือประเภทบันเทิงคดีหรือนวนิยายแลวอาจจะมีเฉพาะ

บัญชีชื่อภาค ชื่อบท พรอมเลขหนากํากับเทานั้น เพราะไมมีความจําเปนเหมือนหนังสือ

Page 6: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

6

วิชาการหรือสารคดี นอกจากนี้ลักษณะของการอานหนังสือประเภทบันเทิงคดีก็จะตอง

อานไปเรื่อยๆ ต้ังแตเนื้อหาหนาแรกจนหนาสุดทายไมตองพลิกกลับไปกลับมา หรือไว

ศึกษาคนควาในภายหลัง เฉพาะสวนใดสวนหนึ่งที่อานจบแลวก็แลวกันไป สารบัญโดย

ละเอียดจึงไมมีความจําเปนดวยเหตุผลดังกลาว

2.10) หนาสารบัญภาพประกอบหรือสารบัญตาราง (list of illustration material) หนานี้จะมีเฉพาะหนังสือบางเลมที่มีภาพประกอบหรือตาราง เปนจํานวนมากและจะตองใชงานบอยๆ ก็จะจัดทําเปนบัญชีใหไวคลายกับหนาสารบัญเน้ือหา

2.11) หนาอ่ืนๆ หนังสือบางเลมอาจจะมีรายละเอียดที่จําเปนบางอยาง

เพิ่มเติม เพื่อความสะดวกแกผูอานดวยก็ได เชน หนาคํานิยม คํายอที่ใชในหนังสือ

ตาราง คาตัวเลขบางอยาง สูตร สัญลักษณ และการแกไขคําผิด

3. สวนเนื้อหา (text) สวนนี้เปนเนื้อหาของหนังสือจะอยูถัดจากสวนหนาทั้งหมดที่กลาวมาแลว และเปนสวนท่ี

สําคัญมากที่สุดของหนังสือ และมีปริมาณหนามากที่สุดดวย

สวนเนื้อหานี้มักจะมีการจัดลําดับและแบงเปน ภาค ตอน บท หนวย ตลอดจนเร่ือง

และหัวขอเร่ืองไปต้ังแตตนจนจบ และในแตละหนาก็จะมีเลขหนากํากับไวตลอด อีกทั้ง

หนังสือบางเลมก็อาจจะใสชื่อหนังสือ ชื่อบท ชื่อตอน หรือช่ือหนวยซ้ําๆ กันไวในทุกๆ

หนาในตําแหนงที่อยูระดับเดียวกับเลขหนาดวย เพื่อชวยในการคนควา อาน หรือพลิกหา

ขอความ เร่ืองยอ ไดรวดเร็วและสะดวกขึ้น

4. สวนหลังหรือสวนอางอิง (back matter or references) สวนหลังหรือสวนอางอิงของหนังสือ เปนสวนประกอบเพิ่มเติมของหนังสือบางประเภท

เชน หนังสือตํารา หนังสือวิชาการ หนังสือสารคดี หนังสือคนควาอางอิง เพื่อใชอาน

ศึกษาคนควาเพิ่มเติมเสริมเนื้อหาในเลม ตลอดจนเพื่ออํานวยความสะดวกในการคนหาให

ละเอียดย่ิงขึ้น

สวนหลังหรือสวนอางอิงประกอบไปดวยหนาตางๆ ดังนี้คือ 4.1) ภาคผนวก (appendix) หนาภาคผนวกเปนสวนเสริมใหหนงัสือสมบูรณขึ้นหรือเพื่อใหผูอานที่ตองการศึกษาอานเพิ่มเติมจากสวนเนื้อหา หรือเปนสวนท่ีในเนื้อหา

บอกวาใหมาดูเพิ่มเติมในภาคผนวกถาตองการโดยไมบรรจุแทรกไวในเนื้อหา เพราะจะ

เปนการขัดจังหวะการดําเนินเร่ืองราวของเนื้อหา หรือดวยเหตุผลอื่นใดก็ตาม

Page 7: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

7

4.2) บรรณานุกรม (bibliography) บรรณานุกรมเปนรายช่ือแหลงขอมูล

หนังสือ นิตยสาร วารสาร ฯลฯ ที่ผูเขียนใชคนควาอางอิงในการเขียนหนังสือ และเปน

การใหเกียรติแกแหลงวิทยาการ และยังชวยบอกแหลงขอมูลรายการส่ิงพิมพประเภทตางๆ

เพื่อใหผูอานที่มีความประสงคจะศึกษาอานเพิ่มเติมสามารถคนหาไดอยางสะดวกถา

ตองการ หรือเปนการรวบรวมแหลงขอมูลในเร่ืองราวที่เก่ียวของกับหนังสือเลมนั้นไวให

4.3) อภิธานศัพท (glossary) หรือ คําอธิบายศัพท เปนสวนที่อธิบายหรือให

ความหมายของคําศัพทที่ใชในหนังสือเลมนั้น หรือในสาขาวิชาการแขนงนั้น เพื่อใหผูอาน

สามารถคนอานไดตามความตองการ

4.4) ดัชนี (index) ดัชนีเปนการเรียงตามลําดับอักษรของรายช่ือคํา วลี

บุคคล สถานท่ีหรือรายละเอียดปลีกยอยที่ปรากฎอยูในหนังสือเลมนั้นตามเลขหนาที่กํากับ

ไว เพื่อชวยอํานวยความสะดวกในการคนหาไดอยางรวดเร็ว

4.5) หนาอ่ืนๆ สวนหลังของหนังสือบางเลมอาจจะมีหนาอื่นๆ อีกดวยก็ได

เชน หนาบอกรายละเอียดของหนังสือ (colophon) หนาบันทึกขอความ (memoranda) เปนตน

สวนหลังของหนังสือตามที่กลาวมาท้ังหมดนั้น จะปรากฎอยูในหนังสือบางเลม บาง

ประเภท หรือเฉพาะบางสวนเทานั้น ถาเปนหนังสือประเภทบันเทิงคดีมักจะไมนิยมจัดทํา

สวนของหนังสือไวทุกหนาเลย เนื่องจากไมมีความจําเปนดวยเหตุผลเชนที่เคยกลาวไวแลว

เก่ียวกับสารบัญและรายละเอียดของหนังสือ

Page 8: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

8

จะเห็นไดวาในแตละสวน ยังประกอบดวยหนาตาง ๆ อีกมาก การกําหนดใหมีจํานวน

หนาตาง ๆ ครบถวนหรือไมนั้นขึ้นอยูกับความพิถีพิถันและความประสงคของผูเขียนและ

ผูจัดทําส่ิงพิมพ การออกแบบและจัดหนาสวนตาง ๆ ของหนังสือเลมตองคํานึงถึงหลักการ

ออกแบบจัดหนาส่ิงพิมพดังไดกลาวไปแลว แตจะเนนความเรยีบงายของหนามากกวาส่ิงพิมพประเภทอื่น รวมทั้งการใชหลักการเฉพาะบางประการสําหรับหนังสือเลม

การจัดหนาหนังสือเลม การจัดหนาหนังสือเลมนอกจากตองคํานึงถึงหลักการออกแบบจัดหนาส่ิงพิมพ หลักการใช

ตัวอักษร และหลักการใชภาพประกอบ การจัดหนาหนังสือเลมมีลักษณะเฉพาะบางอยางที่

ผูออกแบบจัดหนาควรคํานึงถึง ต้ังแตการคํานวณจํานวนหนาทั้งหมดของสวนหนาหรือสวน

นําหนา จนถึงสวนหลังหรือสวนอางอิงของหนังสือ การคํานวณนับจํานวนตัวอักษรทั้งหมด

ของตนฉบับ หรือการคํานวณนับจํานวนบรรทัดทั้งหมดในตนฉบับ การกําหนดความกวาง

หรือความยาวบรรทัด การกําหนดเลขหนา การกําหนดขนาดและเนื้อที่ของภาพประกอบ

การกําหนดขอบวางทั้งส่ีดานรอบบริเวณท่ีพิมพ การกําหนดสี การจัดวางหนา รูปแบบของ

หนาหนังสือบนกระดาษพิมพ การพับ การกําหนดระยะตัดเจียน และขอควรคํานึงอื่น ๆ ใน

ขั้นตอนการผลิต เพื่อมิใหเหลือหนาวางแทรกในระหวางเลม ยกเวนในตอนทายบทหรือใน

บริเวณท่ีตองการใหมีการเวนหนาวาง

นอกจากนี้ ผูออกแบบจัดหนาหนังสือเลมตองทราบจํานวนภาพและ / หรือตารางประกอบทั้งหมดในหนังสือ พรอมระบุขนาดและตําแหนงของภาพประกอบแลวหาจํานวนเนื้อที่ของ

หนากระดาษนําหรับภาพประกอบทั้งหมด เม่ือรวมกับจํานวนหนาของสวนท่ีเปนขอความจะ

ไดจํานวนหนาทั้งหมดของสวนเน้ือเร่ือง รวมทั้งตองประมาณจํานวนหนาของสวนหนาหรือ

สวนนําเร่ืองและสวนหลังหรือสวนอางอิงของหนังสือดวย ต้ังแตหนาช่ือเร่ืองจนถึงหนา

สุดทายของหนาสารบัญในสวนที่เปนสวนหนาหรือสวนนําเร่ืองและต้ังแตหนาแรกของ

Page 9: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

9

ภาคผนวกจนถึงหนาสุดทายของหนาดรรชนี (ถามี) ในสวนที่เปนสวนหลังหรือสวนอางอิงของหนังสือ ในกรณีที่มีภาพประกอบกอนขึ้นบทใหม ก็ตองเผ่ือจํานวนหนาดังกลาวดวยเม่ือ

รวมจํานวนหนาทั้งหมดจะไดจํานวนหนากระดาษท่ีประกอบเปนเลมหนังสือ

ในการผลิตหนังสือมีรูปแบบเปนไปตามที่กําหนดโดยเกิดความผิดพลาดนอยที่สุดนั้น

ผูออกแบบจัดหนาควรทําดัมม่ีหรือรูปแบบจําลองของหนังสือเลมเพื่อใชเปนแนวทางในการ

จัดทํา โดยระบุขอมูลทั้งหมดที่จําเปน ไดแก ขนาดและรูปเลมของหนังสือ ของวางที่อยูรอบ

ขอความ การลําดับหนา การลําดับเนื้อหา จุดเร่ิมตนของช่ือบท ชื่อตอน ชื่อเร่ือง ขนาดและ

แบบตัวพิมพหรือแบบตัวอักษรที่เปนหัวเร่ืองและเน้ือความ ตําแหนงเลขหนา ตําแหนงแสดง

ชื่อหนังสือ และช่ือบทในแตละหนา จํานวนคอลัมน ความยาวบรรทัด จาํนวนบรรทัด หรือ

ความลึกของคอลัมน ชวงบรรทัดหรือระยะหางระหวางบรรทัด ระยะหางระหวางคอลัมน

ตําแหนงและขนาดของภาพและ/หรือตารางประกอบ การเรียงลําดับภาพตามเน้ือหา

ตําแหนงคําอธิบายภาพและ/หรือตารางประกอบ จํานวนสีที่ใช ระยะตัดเจียน พรอมทั้งทํา

ลักษณะการพับ การเก็บเลม การเขาเลม และรายละเอียดอื่น เพื่อใชเปนตนแบบในการ

จัดทําหนังสือการทําดัมม่ีจะชวยใหการส่ือความหมายในระหวางขั้นตอนการปฏิบัติงาน

เปนไปดวยดี และเกิดการผิดพลาดนอยที่สุด โดยเฉพาะการจัดทําหนังสือที่มีความซับซอน

ในการผลิตควรทําดัมม่ีที่ละเอียดมากขึ้น

การออกแบบจัดหนาหนังสือแตละสวนที่กลาวมาท้ังหมดจําเปนตองคํานึงถึงความ

กลมกลืนและความสอดคลองตลอดเลมเปนหลักสําคัญ เชน การใชแบบตัวพิมพหรือ

แบบตัวอักษร รวมทั้งการกําหนดขนาดตัวอักษรท่ีสอดคลองกันตลอดเลม โดยเฉพาะใน

กรณีของตัวพื้น ถามีตัวเนนก็อาจใชตัวอักษรจากตระกูลเดียวกันกับตัวอักษรที่เปนตัวพื้น

Page 10: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

10

หรือตางตระกูลก็ได แตเลือกใชตัวหนาหรือตัวเอนท่ีมีรูปแบบเดียวกันตลอด นอกจากนี้ ควร

ใชตัวเนนขนาดใหญสําหรับชื่อบท หรือชื่อตอนเพ่ือใหชื่อดูเดนจากตัวพื้นและควรมีเนื้อที่วาง

สีขาวในการขึ้นบทใหมหรือตอนใหม รวมทั้งการใชรูปแบบเดียวกันในการวางตําแหนงเลข

หนาและตําแหนงชื่อหนังสือ ตัวอยางเชน การวางเลขหนาคูไวที่มุมบนซายของหนาซาย

และเลขหนาค่ีไวที่มุมบนขวาของหนาขวาของทุกหนา โดยวางตําแหนงชื่อหนังสือตอจาก

เลขหนาของหนาคู และวางตําแหนงของช่ือบทกอนเลขหนาของหนาค่ีทุกหนา และใชแบบ

และขนาดตัวอักษรแบบเดียวกันตลอดเลม เปนตน นอกจากนี้ยังควรใชกระดาษและหมึก

พิมพประเภทเดียวกันโดยตลอด นอกจากในกรณีที่มีงบประมาณจํากัดในการพิมพ ก็อาจ

จําเปนตองใชกระดาษคุณภาพปานกลางสําหรับยกพิมพที่พิมพขอความ และใชกระดาษ

คุณภาพดอนขางดีสําหรับยกพิมพที่พิมพภาพประกอบ เปนตน

เกณฑการเลือกใชระบบการพิมพหนังสือเลม การกําหนดเกณฑการเลือกใชระบบการพิมพใหตายตัวลงไปนั้น เปนของยาก เพราะ

หนังสือแตละเลมจะมีรายละเอียดและสวนประกอบหลายอยาง และงบประมาณคาพิมพที่

มีอยูก็เปนองคประกอบสําคัญที่จะตองนํามาพิจารณา แตถาจะกลาวกันอยางทั่วไปแลวก็

อาจกําหนดเกณฑการเลือกไดตามลักษณะของงานที่ตองการพิมพ ไดดังนี้

1. จํานวนพิมพ จํานวนพิมพเปนองคประกอบที่สําคัญประการหนึ่งในการพิจารณาเลือกระบบการพิมพ ระบบการพิมพบางระบบถาพิมพจํานวนนอยจะมีราคาถูก

และบางระบบถาพิมพจํานวนนอยจะมีราคาแพง แตบางระบบย่ิงพิมพมากย่ิงถูก ฉะนั้น

จึงควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของจํานวนพิมพกับระบบการพิมพไวเสมอ

2. คุณภาพงานพิมพ การพิจารณาเลือกระบบการพิมพโดยคํานึงถึงจํานวน

พิมพเพียงอยางเดียวบางคร้ังอาจไมเหมาะสม ตองพิจารณาถึงคุณภาพของงานพิมพที่

ตองการดวยเพราะ บางคร้ังถึงแมจํานวนพิมพจะนอยเพียง 100 เลม แตตองการ

คุณภาพงานที่ดีก็อาจจําเปนตองเลือกพิมพดวยวิธีออฟเซตที่มีคาใชจายสูงกวา

Page 11: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

11

ในปจจุบันอาจกลาวไดวา งานพิมพหนังสือที่มีคุณภาพดีโดยทั่วไปนั้นพิมพดวยการพิมพ

ออฟเซตทั้งส้ิน อาจมีผูใชการพิมพกราวัวรบาง แตก็เฉพาะงานท่ีมีจํานวนพิมพมากเปน

แสนเทานั้น คําวาคุณภาพดีนั้น ในที่นี้หมายความถึง การไดตัวอักษรท่ีคมชัด สะอาด เรียบรอย

อานงาย ภาพประกอบ หรือภาพแทรกมีความคมชัด สวยงาม ถาเปนภาพสีก็มีสี

ถูกตองตรงกับตนฉบับ สามารถใหรายละเอียดไดดี การพับ เก็บเลม เขาเลม ทําได

เรียบรอย

3. ความเรงดวน ในปจจุบันความเรงดวนในการพิมพเปนองคประกอบที่

สําคัญอยางหนึ่งในการพิจารณาเลือกระบบการพิมพ เพราะบางครั้งผูจัดพิมพจะมีเวลาใน

การดําเนินการพิมพนอยมาก การเลือกระบบการพิมพที่ใชเวลาในการเตรียมการพิมพนอย

ที่สุด จึงเปนระบบที่เหมาะสมที่สุด

4. ภาพประกอบ จํานวนภาพประกอบเปนส่ิงบงชี้ถึงระบบการพิมพที่ตองใช

พิมพได เพราะหนังสือที่มีภาพประกอบมาก ไมวาจะเปนภาพขาว-ดํา สีเดียว หรือภาพ

สอดสีก็ตามที่ตองการคุณภาพดีและมีความสวยงาม คมชัด ควรใชพิมพดวยการพิมพ

ออฟเซตทั้งส้ิน แตถามีจํานวนมากเปนแสนก็อาจพิจารณาใชการพิมพกราวัวรได

5. การออกแบบ หนังสือที่มีการออกแบบใหมีลวดลายหรือการจัดหนาที่ยุงยาก

ซับซอน เชน หนังสือสารคดีทองเที่ยวที่เนนความสวยงาม หนังสือแคตาล็อคสินคา

หนังสือเหลานี้ชางศิลปจะตองทําอารตเวิรคสําเร็จ จึงควรใชการพิมพออฟเซตจะสวยงาม

และประหยัดกวามาก

กลาวโดยสรุป การเลือกใชระบบการพิมพหนังสือนั้นจะตองพิจารณาถึงองคประกอบ

หลายๆ อยาง ไมควรพิจารณาในดานใดดานหน่ึงเทานั้น เพราะหนังสือแตละเลมมี

ขอจํากัดหรือขอที่ตองการแตกตางกันออกไป เชน จํานวนพิมพนอยแตตองการคุณภาพสูง

จํานวนพิมพมากคุณภาพตํ่า จํานวนพิมพนอยคุณภาพตํ่า จํานวนพิมพมากคุณภาพสูง

ฯลฯ

Page 12: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

12

สิ่งที่ควรคํานึงในการจัดพิมพหนังสือเลม การเลือกระบบการพิมพหนังสือที่ถูกตองเหมาะสมเพียงอยางเดียว ยังไมอาจ

ประกันไดวา การดําเนินการจัดพิมพจะราบร่ืนและไดผลดี ผูจัดพิมพจะตองเตรียมการใน

ดานตางๆ อีกหลายประการ ซึ่งอาจจําแนกไดดังนี้

1. การเตรียมตนฉบับ ตนฉบับที่จะสงใหโรงพิมพเพื่อดําเนินการพิมพนั้น

ควรมีความเรียบรอยถูกตอง สมบูรณมากท่ีสุด เพื่อจะไดไมตองมีการแกไข ปรับเปล่ียน

หลังจากที่นําไปเรียงพิมพแลว เพราะถามีการแกไขจะทําใหงานชาและอาจตองเสีย

คาใชจายเพิ่มขึ้น ตนฉบับที่เรียบรอยอานงาย จะทําใหงานสะดวก ทุนเวลาและไดงานที่

ดีออกมา

2. การกําหนดขนาดหนังสือ การกําหนดขนาดหนังสืออาจกําหนดเปนขนาด

ใดก็ไดไมมีขอหามที่ตายตัว แตก็ตองคํานึงถึงขนาดที่สอดคลองกับขนาดของกระดาษพิมพ

ที่มีขายอยูในทองตลาด เพราะถากําหนดขนาดหนังสือไมสอดคลองลงตัวพอดีกับขนาด

กระดาษพิมพ จะทําใหเม่ือนํามาตัดพิมพแลวเหลือเศษ ทําใหตองใชกระดาษมากขึ้น

ตัวอยางขนาดของกระดาษที่สอดคลองกับขนาดของเลมหนังสือ มีดังนี ้ ขนาดกระดาษ ขนาดเลมหนังสือ

31 x 43 นิ้ว 7 ½ x 10 ¼ นิ้ว

5 x 7 นิ้ว

24 x 35 นิ้ว 8 ¼ x 11 ¾ นิ้ว (เอ – 4)

5 ¾ x 8 นิ้ว (เอ – 5)

3. การเลือกใชกระดาษ กระดาษท่ีใชในการพิมพหนังสือมีชนิดความหนา

ความขาวตางๆ กัน การเลือกใชกระดาษจําเปนตองใหเหมาะกับลักษณะงานและการใช

Page 13: 1 book

การออกแบบหนังสอืเลม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

13

งาน เพราะบางครั้งกระดาษท่ีแพงและดูสวยงาม อาจไมมีความเหมาะสมกับงานนั้นๆ

เลยก็ได

4. การตรวจอารตเวอรค ในการพิมพออฟเซต กอนที่จะดําเนินการพิมพ

จําเปนที่จะตองจัดทําอารตเวอรคใหเรียบรอย เพื่อที่จะไดงานพิมพที่มีความประณีต

เรียบรอย การตรวจความสมบูรณถูกตองของอารตเวอรคจึงเปนส่ิงจําเปน

ส่ิงที่ตองตรวจในอารตเวอรค ไดแก

1. รูปแบบของหนังสือ

2. ขนาดคอลัมน ขนาดตัวอักษร รูปแบบตัวอักษร

3. ตําแหนงของภาพ คําอธิบายภาพ

4. ความสะอาดและความเรียบรอยทั่วไป

5. การเขาเลม หนังสือเม่ือพิมพแลวตองมีการเขาเลม การเขาเลมมีหลายวิธี

ควรกําหนดใหเหมาะสมกับลักษณะและขนาดของหนังสือ จึงจะทําใหหนังสือนั้นสะดวก

ตอการใชงานและประหยัด วิธีการเขาเลมที่นิยมกัน ไดแก

1) การเย็บมุงหลังคา เหมาะสําหรับหนังสือที่มีความหนาไมมากนัก เปนวิธีที่สะดวก

ประหยัด และเปดหนังสือไดงาย

2) การไสสันทากาว เหมาะสําหรับหนังสือยกท่ีมีความหนาต้ังแตประมาณ 100 หนาขึ้นไป

3) การเย็บสันดวยลวด วิธีนี้แข็งแรง ทนทาน แตมีขอเสียคือ สันเปดแบะออกไดไม

เต็มที่ และตองเผ่ือพื้นที่บริเวณสันไวมาก เพื่อกันไวเปนที่เย็บลวด

4) การใชเกลียวพลาสตกิหรือโลหะรอยที่สัน วิธีนี้เปดงายใชสะดวก แตมีราคาแพง

เหมาะสําหรับหนังสือประเภทคูมือ หรือรายงานท่ีตองใชบอยๆ และตองการความสะดวก

ในการเปด

5) การเย็บกี่ วิธีนี้ไดหนังสือที่แข็งแรงไมหลุดงาย แตราคาแพงกวาวิธีอื่นๆ ทั้งหมด

นิยมใชสําหรับหนังสือที่ตองเปดใชงานบอยๆ หรือตองการความแข็งแรงเปนพิเศษ เชน

พจนานุกรม ตําราเรียน

การเลือกวิธีเขาเลมที่เหมาะสมกับงานจะ

ชวยใหประหยัดและรวดเร็ว และใช

ประโยชนจากหนังสือไดอยางเต็มที่