20

1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต
Page 2: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

�������� ���. ���� 1 ���.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM

Page 3: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

1

หลักการและเหตุผล

“ระบบสขุภาพชมุชน” ในมมุมองของผูท้ีค่ร�า่หวอดในวงการสขุภาพและสาธารณสขุไทยและท�างานด้านสาธารณสขุชมุชนมาหลายสบิปอย่าง นพ.มงคล ณ สงขลา หรือ ปราชญ์นกัคดิอย่าง ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี รวมทัง้บทความสาธารณสขุมลูฐานโดยองค์การอนามยัโลก ให้ความหมายว่าคอื การจดัการให้ชุมชนมสีขุภาวะดีในทุกมิติ ทั้งกายใจและสังคม โดยชุมชนเป็นเจ้าของเป็นผู้ด�าเนินการบริหารจัดการและมีส่วนส�าคัญในการด�าเนินการตามสิ่งที่ตั้งเป้าประสงค์ไว้ เพื่อท�าให้สุขภาพของคนในชุมชนดี และเป็นไปตามที่ต้องการ เกิดผลลัพธ์เป็นไปตามเกณฑ์ที่ชุมชนคาดหวังไว้ อย่างไรก็ตาม ระบบสุขภาพชุมชนจะส�าเร็จและเห็นผลได้ดีนั้น ส่วนหนึ่งต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐอย่างเข้าใจ ท้ังเรื่องทุนและเรื่องระบบ ฉะนั้นภายใต้การสนับสนุนของส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ผ่านสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) โดยความร่วมมือของนักพัฒนาและนักวิชาการ ได้สนับสนุนให้ต�าบลและอ�าเภอหลายแห่งด�าเนนิการพฒันาระบบสขุภาพชมุชน ทีเ่น้นการสร้างการมส่ีวนร่วม ในหลากหลายลกัษณะ และหลากหลายประเดน็ บนฐานการมส่ีวนร่วมของประชาชน ภาค ีภาคส่วนต่างๆ มกีารจดัการเพือ่กระตุน้ และหนนุเสรมิการมส่ีวนร่วมด้วย เครื่องมือ แนวทางหลายแบบ เพื่อให้เกิดบริการที่ทั่วถึง สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนแต่ละกลุ่มอย่างยั่งยืน ซึ่งถือเป็นการน�าหลักคิดระบบสุขภาพชุมชนมาประยุกต์ใช้อย่างเห็นผล ด้วยการมีส่วนร่วมจากทกุภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนจากภาครฐั ภาคท้องถิน่ ทีใ่ห้โอกาสและความรูใ้นการด�าเนนิการ และทีส่�าคญัทีส่ดุคือพลังใจและพลังกายจากคนในชุมชน ที่มุ่งหวังให้ชุมชนอันเป็นที่รักเกิดการพัฒนา เป็นสังคมแห่งความสุข โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพ.สต.) เป็นหน่วยงานบริการของรัฐด้านสขุภาพในอ�าเภอท่ีตัง้อยูใ่กล้ชมุชนมากทีส่ดุ ซึง่มทีรพัยากรด้านบคุลากรในการจดับรกิาร และมคีวามรูว้ชิาการด้านการแพทย์ รวมทั้งเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในการจัดบริการและสนับสนุนการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนได้ ที่ผ่านมาหน่วยบริการส่วนใหญ่ได้ด�าเนินงานพัฒนาบริการสุขภาพในหลากหลายประเด็น แต่การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและเสริมศักยภาพให้แก่ชุมชน ท้องถิ่น ให้สามารถร่วมกันพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนทีส่อดคล้องกบัสภาพพืน้ทีข่องตนเอง ยงัท�าได้น้อยและจ�ากดั ส่วนหน่ึงสืบเน่ืองจากแนวคดิ และมมุมองของผูใ้ห้บรกิารที่ไม่ให้หรือให้ความส�าคัญเรื่องนี้น้อย ไม่เข้าใจสถานการณ์เนื้อแท้ของชุมชน ไม่เห็นหรือเห็นศักยภาพของชุมชนอย่างจ�ากัด ตลอดจนขาดประสบการณ์ แนวทางในการเสริมศักยภาพของชุมชน อย่างไรก็ตาม พบว่ามีบทเรียนพืน้ทีข่องหลายชุมชนหลายอ�าเภอท่ีพฒันาและด�าเนนิการได้ด ีมรีะบบจดัการที ่รพช. และ รพ.สต. เข้าไปมบีทบาทร่วมกับชุมชนในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ท้องถิ่น อย่างเป็นระบบ และเริ่มขยายการด�าเนินงานกว้างขวางมากขึ้น ซึ่งสามารถเป็นบทเรียนเริ่มต้นการพัฒนาในพื้นที่อ�าเภออื่นต่อไปได้ ปัจจุบันมีหน่วยงานท่ีร่วมมือขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ การจัดเครือข่ายสุขภาพอ�าเภอ และการพัฒนาเครือข่ายทีมหมอครอบครัวหลายหน่วยงาน ได้แก่ ส�านักบริหารการสาธารณสุข ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มูลนิธิแพทย์ชนบท สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน เครือข่ายแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เครือข่ายพยาบาลชุมชน เครือข่ายสาธารณสุข และหมออนามัย รวมทั้งเครือข่ายสหวิชาชีพต่างๆ ซ่ึงควรวางแผนการท�างานร่วมกัน เพ่ือการขับเคล่ือนงานอย่างเป็นเอกภาพ และมีพลังเพียงพอให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง การเปิดเวทีสื่อสารแลกเปลี่ยนบทเรียนการท�างานระหว่างบุคลากรจากหน่วยงานปฏิบัติ หน่วยงานบริหาร และหน่วยงานสนับสนุนต่างๆ เป็นกลวิธีส�าคัญหนึ่งในการสร้างการเรียนรู้ เผยแพร่ ถ่ายทอดแนวคิด บทเรียน ประสบการณ์การด�าเนินงานที่ดีมีความส�าเร็จได้อย่างกว้างขวางแก่ผู้เกี่ยวข้อง และน�าสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาระบบงานของแต่ละส่วน ส่งผลให้เกิดระบบบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ ตลอดจนระบบสุขภาพอ�าเภอที่สนับสนุนการพัฒนาสุขภาพทั้งประเทศ

�������� ���. ���� 1 ���.indd 1 15/7/2016 7:44:31 AM

Page 4: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

2

วัตถุประสงค์

รูปแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

เนื�อหาเวทวิีชาการ

1. เพือ่เผยแพร่องค์ความรูส้นบัสนนุการขบัเคลือ่นการพฒันาระบบสขุภาพระดบัอ�าเภอ (DISTRICT HEALTH SYSTEM: DHS) บนฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคี ภาคส่วนต่างๆ

2. เพือ่น�าเสนอ แลกเปลีย่นเรยีนรูป้ระสบการณ์และบทเรยีนการพฒันาการจดัระบบสขุภาพอ�าเภอและระบบสุขภาพชุมชนบนฐานการมีส่วนร่วม ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

3. เพื่อประสานเครือข่ายสนใจการพัฒนาระบบสุขภาพอ�าเภอ และร่วมกันก�าหนดเป้าหมาย และทิศทางในการสร้างพลังการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอ�าเภอที่เข้มแข็งและตอบสนองกลุ่มประชาชนเป้าหมายภายใต้นโยบายที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนในพื้นที่

เวทีประชุมระดับประเทศ น�าเสนอประสบการณ์ และสังเคราะห์บทเรียนของงานพื้นที่ทีม่กีารด�าเนนิงานพฒันาระบบสุขภาพชมุชน และระบบสุขภาพอ�าเภอในหลากหลายลักษณะ และหลากหลายประเด็น และเชื่อมโยงการขับเคลื่อนงานที่เป็นนโยบายปัจจุบัน

รปูแบบการประชมุ จะประกอบด้วยการน�าเสนอในห้องประชมุใหญ่ ห้องประชมุย่อย นทิรรศการ และลานกิจกรรม การจัดวงคุยแลกเปลี่ยนตามประเด็น

800 ท่าน ประกอบดว้ย

• พื้นที่ในโครงการอ�าเภอสุขภาพดี* รวม 200 ท่าน • ตัวแทนองค์กรปกครองท้องถิ่น และผู้น�าชุมชน รวม 200 ท่าน• พื้นที่อ�าเภออื่นๆ ที่สนใจร่วมเรียนรู้ รวม 200 ท่าน• ทีมวิทยากร/ผู้เชี่ยวชาญ/คณะท�างาน รวม 50 ท่าน• กลุ่มเป้าหมายจากภาคีร่วมจัดงาน รวม 150 ท่านหมายเหต:ุ * โครงการสนบัสนนุการพัฒนาโรงพยาบาลชมุชนและเครือข่ายสุขภาพอ�าเภอ เพ่ือระบบสุขภาพชุมชน

THEME ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (PEOPLE-CENTERED HEALTH CARE)SUB THEME - พลังการมีส่วนร่วมของภาคี ภาคส่วน ชุมชน (COMMUNITY EMPOWERMENT) - รูปแบบและแนวทางสนับสนุนการมีส่วนร่วม (PARTICIPATORY APPROACHES: SERVICES, MANAGEMENT AND GOVERNANCE) - บทบาทของครอบครัวและชุมชน (ROLES OF FAMILY AND COMMUNITY) - การจัดบริการด้วยฐานประชาชนเป็นศูนย์กลาง (SERVICE DELIVERY) - การท�างานร่วมกันระหว่างภาคี ภาคส่วนต่างๆ (INTER-SECTORAL COLLABORATION)

1

2

3

�������� ���. ���� 1 ���.indd 2 15/7/2016 7:44:32 AM

Page 5: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

3

ผลที่คาดหวัง

หน่วยงานรับผิดชอบ

ภาคีร่วมจัด/ดําเนินงาน

งบประมาณ

สถานที่จัดประชุม

ระยะเวลา

• ผู้เข้าร่วมประชุมได้แรงบันดาลใจ เกิดการเรียนรู้ประสบการณ์และบทเรียนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�าเภอเพื่อระบบสุขภาพชุมชน บนฐานประชาชนมีส่วนร่วม

• ผูเ้ข้าร่วมประชุมเห็นประเดน็ทัง้นโยบายจากส่วนกลาง และการสนบัสนนุกระบวนการพฒันาในพื้นที่ในการก�าหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานพื้นที่ตามบริบท

• สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.)

• มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอิสาน• ส�านักบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข (สบรส.) • ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)• ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)• ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)

• ค่าจัดประชุม ใช้งบประมาณสนับสนุนจากส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และค่าลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมจากผู้สนใจ

• ท้ังนี ้ค่าใช้จ่ายในส่วนผูเ้ข้าประชมุ (ค่าทีพ่กั/ค่าพาหนะ/ค่าเบีย้เลีย้ง) ให้เบิกจ่ายตามสิทธิราชการจากหน่วยงานต้นสังกัด

โรงแรมมิราเคิล แกรนด ์คอนเวนชัน่

ระหว่างวนัที ่21 – 22 กรกฎาคม 2559

800 ท่าน ประกอบดว้ย

�������� ���. ���� 1 ���.indd 3 15/7/2016 7:44:33 AM

Page 6: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

4

เวทีวิชาการเพือ่พฒันาระบบบริการปฐมภูมิ และสุขภาพชมุชน 2559“ระบบสุขภาพอ�าเภอทีป่ระชาชนเป็นศูนยก์ลาง : PEOPLE - CENTERED HEALTH CARE”

ระหว่างวันที่ 21 – 22 กรกฎาคม 2559

ณ โรงแรมมริาเคิล แกรนด ์คอนเวนช่ัน

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2559

08.00 - 08.55 น. ลงทะเบียน

09.00 - 09.05 น. กล่าวรายงาน โดย พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

09.05 - 09.45 น. กล่าวเปิด โดย พญ.ประนอม ค�าเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

09.45 - 10.30 น. ปาฐกถาพิเศษ ระบบสุขภาพอ�าเภอแบบมีส่วนร่วม ต่อยอดการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ บนฐานประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี

10.30 - 12.00 น.Grand Ballroom

เสวนา “สุขภาพอ�าเภอที่ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” โดย ผู้ใหญ่ชาติชาย เหลืองเจริญ เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนบ้านจ�ารุง ต�าบลเนินฆ้อ อ�าเภอแกลง จังหวัดระยอง พญ.อรวรรณ ตะเวทิพงศ์ ชมรมแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว นายพันธุ์ชัย วัฒนชัย สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด�าริ นพ.ชูชัย ศรช�าน ิส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นายสมคิด จันทมฤก กระทรวงมหาดไทย นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย กระทรวงสาธารณสุข นพ.ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ด�าเนินรายการโดย นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ อ�าเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

12.00 -13.00 น. ชมนิทรรศการ ลานกิจกรรม อาหารกลางวัน

13.00 -16.30 น. ห้องย่อยวิชาการ การจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วม

�������� ���. ���� 1 ���.indd 4 15/7/2016 7:44:33 AM

Page 7: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

5

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2559

Miracle Grand A บทเรียนการจัดการที่เสริมศักยภาพภาคีเครือข่ายวิทยากรพื้นที่ นพ.สมชาย พรหมจักร โรงพยาบาลวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร นพ.ฉัทฐกร ธัญเกียรติ โรงพยาบาลสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี คุณปิยะศักดิ์ ค�าสีลา ส�านักงานจังหวัดหนองบัวล�าภู คุณจีรนันท์ วงศ์มา

ศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลหนองหาร โรงพยาบาลสันทราย อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่อาจารย์มานพ ตันสุภายน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต�าบลหนองตองพัฒนา อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่

คุณภธิรา กิตติเดชานันท์ เทศบาลต�าบลหนองตองพัฒนา อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ด�าเนินรายการโดย นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ โรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลาวิทยากรส่วนกลาง ดร.บัญชร แก้วส่อง ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ผศ.ดร.ภัทระ แสนไชยสุริยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Miracle Grand B บทเรียนการจัดบริการปฐมภูมิโดยท้องถิ่นและเอกชนวิทยากรพื้นที่ คุณชิษณุพงศ์ สุวรรณ

เทศบาลนครนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช คุณรุ่งนภา ทับหนองฮี โรงพยาบาลเมืองพัทยา จังหวังชลบุรี คุณพรนภา โชคไทย

ศูนย์แพทย์ชุมชนบ้านเกาะล้าน เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี คุณขวัญใจ แจ่มทิม เทศบาลเมืองบึงยี่โถ อ�าเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี คุณบัณฑิต ตั้งเผชิญด ีเทศบาลเมืองบึงยี่โถ อ�าเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี คุณมลฑล มานิต ผู้บริหารเครือข่ายมิตรไมตรีคลินิก นพ.พุฒิพัฒน์ โชติวิทยาพงษ์

สหคลินิกตลาดบัว คลินิกชุมชนอบอุ่นในเครือข่ายโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชด�าเนินรายการโดย คุณจุฬาดา สุขุมาลวรรณ์ ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติวิทยากรส่วนกลาง ผศ.ดร.ชนินทร์ เจริญกุล

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดร.นพ.สัมฤทธิ์ ศรีธ�ารงสวัสดิ ์

คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นพ.ชูชัย ศรช�านิ ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

�������� ���. ���� 1 ���.indd 5 15/7/2016 7:44:34 AM

Page 8: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

6

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2559

Miracle Grand C บทเรียนการพัฒนา อสม.ด้วยกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น (โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการบูรณาการงานเหล้า บุหรี่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยชุมชน)วิทยากรส่วนกลาง คุณค�ารณ นิ่มอนงค ์ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดสมุทรสงคราม คุณกชกร ชิณะวงศ ์ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดล�าพูน คุณยุทธนา วงศ์โสภา ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดเลย คุณศักรินทร์ ซาเสน ผู้ช่วยผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดหนองบัวล�าภู คุณธีระวัฒน์ แดงกะเปา ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดนครศรีธรรมราช คุณชิษนุวัฒน์ มณีศรีข�า ผู้ประสานงานโครงการภาคกลาง คุณชีวัน ขันธรรม ผู้ประสานงานโครงการภาคเหนือ คุณปวีณา ราชสีห์ มูลนิธิวิจัยเพื่อท้องถิ่นภาคเหนือวิทยากรพื้นที่กลุ่มที่ 1 1. คุณส�ารวย ทองจันทร ์จังหวัดเลย 2. คุณนันทา รอดสะใภ ้จังหวัดสมุทรสงคราม 3. คุณอภิชาต แก้วมะโน จังหวัดล�าปาง 4. คุณนงลักษณ์ ชูศรี จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มที่ 2 1. คุณพ่อลังสิทธิ์ สมเหนือ จังหวัดหนองบัวล�าภู 2. คุณบุญเพ็ง แซ่ตั้น จังหวัดนครปฐม 3. คุณอภิชญา แก้วมณีแสง จังหวัดล�าพูน 4. คุณวันนิภา ศิริบัตร์ จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มที่ 3 1. คุณฉวีวรรณ พงษ์วิเศษ จังหวัดศรีษะเกษ 2. คุณสมคิด คชสาร จังหวัดสิงห์บุรี 3. คุณศรีรัตน์ เขียวงาม จังหวัดล�าปาง 4. คุณปาณิศา จรียานุวัฒน์ จังหวัดสตูลด�าเนินรายการโดย คุณภัทรา มาน้อย ผู้ประสานงานโครงการจังหวัดล�าปาง คุณสุภาพรรณ ไกรฤกษ์ ผู้ประสานงานโครงการจังหวัดเชียงใหม่

�������� ���. ���� 1 ���.indd 6 15/7/2016 7:44:34 AM

Page 9: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

7

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2559

Boardroom บทเรียนการจัดบริการที่เสริมการดูแลตนเองของประชาชน คุณณรรฐิยา ผลขาว

รพ.สต. หนองคูน้อย อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร คุณสุชญา ต้นประสงค์ โรงพยาบาลกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย คุณวีรพันธ์ มีหนู โรงพยาบาลกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย คุณกรรณิการ์ สุจริตจันทร์ โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ คุณสุรีย์ทิพย์ ลี้สกุล โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ คุณสมยศ แสวงสุข โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ คุณนภาพร สันทบ โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ด�าเนินรายการโดย

พญ.ดวงดาว ศรียากูล โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์วิทยากรส่วนกลาง

คุณสุวรรณา เมืองพระฝาง รพ.สต.ต�าบลนาบัว อ�าเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกผู้ใหญ่ชาติชาย เหลืองเจริญ เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนบ้านจ�ารุง ต�าบลเนินฆ้อ อ�าเภอแกลง จังหวัดระยองอาจารย์กิตติพงศ์ พลเสน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ลานกิจกรรม บทเรียนงานสร้างสุขภาพที่มากกว่าการจัดการโรคพื้นที่อ�าเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ (งานอนามัยเจริญพันธุ์) คุณเอกกมล ส�าลีรัตน ์โรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ คุณศิริวัฒนา ตั้งสมสุข

โรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ คุณปัณนพ ตินมณีพร

อสม.ต�าบลปากคลองบางปลากด อ�าเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการพื้นที่อ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา (ลด ละ เลิกสุราในชุมชน) ภญ.มัทนา สมบัติวัฒนาเวศ โรงพยาบาลเชียงม่วน จังหวัดพะเยา คุณสุจิรัชยา ทองทา โรงพยาบาลเชียงม่วน จังหวัดพะเยา คุณมนัสชกรณ์ พิชัยจุมพล

ศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านมาง อ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา คุณศุภัชกร มูลศร ีส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยาพื้นที่อ�าเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร (เกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัย) พญ.ผกามาศ เพชรพงศ์ โรงพยาบาลวชิรบารมี จังหวัดพิจิตรด�าเนินรายการโดย อาจารย์ไพศาล เจียนศิริจินดา

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เขต 6 ชลบุรี กระทรวงสาธารณสุขวิทยากรส่วนกลาง นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชน ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

�������� ���. ���� 1 ���.indd 7 15/7/2016 7:44:34 AM

Page 10: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

8

วันที่ 22 กรกฎาคม 2559

08.00 - 08.55 น. ลงทะเบียน

09.00 - 12.00 น. ห้องย่อยวิชาการ การจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วม

Miracle Grand A การสร้างคนเพื่อหนุนเสริมการมีส่วนร่วม คุณวรรณนภา พุทธจันทึก

อาสาสมัครชุมชนอ�าเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา คุณชวนพิศ ศิริไพบูลย์ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี นพ.วรวุฒิ โฆวัชรกุล โรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ นพ.วิชัย อัศวภาคย์ โรงพยาบาลน�้าพอง จังหวัดขอนแก่น นพ.พนา พงศ์ช�านะภัย

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ดร.นพ.ฑินกร โนร ีส�านักวิจัยและพัฒนาก�าลังคนด้านสุขภาพ ผศ.ดร.ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นด�าเนินรายการโดย ดร.อลิสา ศิริเวชสุนทร สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

Miracle Grand B “Primary Care Cluster Management” นพ.ไพฑูรย์ อ่อนเกต ุโรงพยาบาลก�าแพงเพชร จังหวัดก�าแพงเพชร พญ.รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง โรงพยาบาลขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น พญ.ดวงดาว ศรียากูล โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พญ.เอื้อมพา กาญจนรังสิชัย โรงพยาบาลบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ นพ.ธีรวัฒน์ กรศิลป นักวิชาการอิสระ ศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขด�าเนินรายการโดย พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

Miracle Grand C บทเรียนการใช้งานวิจัยเพื่อการจัดการพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที ่(โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการบูรณาการงานเหล้า บุหรี่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยชุมชน)วิทยากรส่วนกลาง คุณชิษนุวัฒน์ มณีศรีข�า ผู้ประสานงานโครงการภาคกลาง คุณค�ารณ นิ่มอนงค ์ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดสมุทรสงคราม คุณสมพงษ์ หลีเคราะห์ ผู้ประสานงานโครงการภาคใต้ คุณภาสกร บัวศร ีผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดหนองบัวล�าภู คุณศักรินทร์ ซาเสน ผู้ช่วยผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดหนองบัวล�าภู คุณธีระวัฒน์ แดงกะเปา

ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดนครศรีธรรมราช คุณยุทธนา วงศ์โสภา ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดเลย

�������� ���. ���� 1 ���.indd 8 15/7/2016 7:44:34 AM

Page 11: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

9

วันที่ 22 กรกฎาคม 2559

Miracle Grand C วิทยากรพื้นที่กลุ่ม 1 1. คุณเปรมยุดา พัฒชนะ โรงพยาบาลสตูล 2. คุณสุพรรณ ดุรงติณชาติ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. คุณเดือน ฉลาดดี อบต.โนนเมือง จังหวัดหนองบัวล�าภูกลุ่ม 2 1. คุณอภิชาต แก้วมะโน จังหวัดล�าปาง 2. คุณบุญเหลือ ดีอ้น จังหวัดสิงห์บุรี 3. คุณรชตศุภ โกศล จังหวัดอุบลราชธานีกลุ่ม 3 1. คุณสุพจน์ วังเวียง จังหวัดล�าพูน 2. คุณจ�าเริญ เต็มดวง จังหวัดศรีสะเกษ 3. คุณพิสมัย สิงคาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ทรงคุณวุฒิ รศ.ดร.สุจินต์ สิมารักษ์ มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอีสาน รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ สถาบันคลังสมองของชาติ ดร.นพ.บัณฑิต ศรไพศาล

ส�านักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

ผศ.พิเศษ กาญจนา ทองทั่ว มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอีสานด�าเนินรายการโดย คุณประมวล ดวงนิล ผู้ช่วยผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดศรีสะเกษ คุณปราณี ระงับภัย ผู้ช่วยผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดศรีสะเกษ

Boardroom บทเรียนการยกระดับและขยายผล คุณศศิธร อุตสาหกิจ

โรงพยาบาลสวรรคโลก อ�าเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย คุณชนบท บัวหลวง ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี คุณสถาพร จิรฐาชฎาย ุ

แผนงานพัฒนาโครงการเพื่อสังคม มูลนิธิเพื่อคนไทย คุณสิณี จักรธรานนท์ มูลนิธิอโชก้า (ประเทศไทย) ดร.ณัฏฐญา พัฒนะวาณิชนันท์ กระทรวงสาธารณสุขด�าเนินรายการโดย ผศ.ดร.นพ.ภูดิท เดชาติวัฒน์

โครงการจัดตั้งวิทยาลัย การจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร

�������� ���. ���� 1 ���.indd 9 15/7/2016 7:44:35 AM

Page 12: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

10

วันที่ 22 กรกฎาคม 2559

ลานกิจกรรม เครื่องมือเสริมพลังการท�างานระบบสุขภาพการสนทนาอย่างสร้างสรรค์ นพ.สมชาติ สุจริตรังษี และทีมงานโรงพยาบาลดอนพุด จังหวัดสระบุรีการวิเคราะห์ความต้องการของชุมชน คุณศิวิไล บรรเทาทุกข์ โรงพยาบาลอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม คุณบุญนะ ลิมกุล

ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง ดร.ทรงยศ ค�าชัย ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ นพ.จรัส สิงห์แก้ว โรงพยาบาลสารภี จังหวัดเชียงใหม่ รศ.ดร.เอกรัฐ บุญเชียง

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์นเรศ สงเคราะห์สุข นักวิชาการอิสระ ดร.สุรศักดิ์ อธิคมานนท์ วิทยาลัยราชชนนีชัยนาท จังหวัดชัยนาทด�าเนินรายการโดย คุณภัทรา มาน้อย ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดล�าปาง คุณชีวัน ขันธรรม มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น

12.00 - 13.00 น. ชมนิทรรศการ ลานกิจกรรม อาหารกลางวัน

13.00 - 13.30 น. สรุปสาระการประชุมวิชาการ โดย พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากรมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

13.30 - 14.00 น. พลังเครือข่ายวิชาชีพเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนอย่างมีส่วนร่วม • ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน • ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย • มูลนิธิเครือข่ายหมออนามัย • สมาคมหมออนามัยแห่งประเทศไทย • สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข • ชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย • ชมรมผู้บริหารการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน • ชมรมเภสัชปฐมภูมิ สภาเภสัชกรรม กลุ่มเภสัชกรครอบครัว • ชมรมแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว

14.00 - 14.30 น. ปาฐกถาพิเศษ “พลังชุมชนเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพอ�าเภอ”โดย นพ.พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)

พิธีปิด

�������� ���. ���� 1 ���.indd 10 15/7/2016 7:44:35 AM

Page 13: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

11

วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เช้า

09.45 - 10.30 น. ปาฐกถาพิเศษ ระบบสุขภาพอ�าเภอแบบมีส่วนร่วม ต่อยอดการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ บนฐานประชาชนเป็นศูนย์กลาง เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ น�าความคิดและเสริมพลัง น�าสู่การเรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ ตาม Theme งาน “ชุมชนเป็นฐานประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People-Centered Health Care) โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี

10.30 - 12.00 น.Grand Ballroom

เสวนา เพื่อให้เห็นมุมมอง ทิศทางนโยบาย ประเด็นและรูปธรรมการหนุนเสริม รวมทั้ง ความท้าทายในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยผู้แทนองค์กรร่วมสนับสนุนการพัฒนาซึ่งมาจากภาครัฐ ภาคเอกชนไม่แสวงหาก�าไร ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ และประชาชน เพื่อร่วมกันท�าให้ผู้เข้าร่วมประชุมเห็นภาพการเชื่อมต่อการท�างาน ที่ส่งผลต่อสุขภาวะของประชาชน “สุขภาพอ�าเภอที่ชุมชนเป็นฐาน ประชาชน เป็นศูนย์กลาง” โดย ผู้ใหญ่ชาติชาย เหลืองเจริญ

เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนบ้านจ�ารุง ต�าบลเนินฆ้อ อ�าเภอ แกลง จังหวัดระยอง พญ.อรวรรณ ตะเวทิพงศ์ ชมรมแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว คุณพันธุ์ชัย วัฒนชัย

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด�าริ นพ.ชูชัย ศรช�านิ ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คุณสมคิด จันทมฤก กระทรวงมหาดไทย นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย กระทรวงสาธารณสุข นพ.ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์

ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

�������� ���. ���� 1 ���.indd 11 15/7/2016 7:44:35 AM

Page 14: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

12

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2559 บ่าย

13.00 -16.30 น. ห้องย่อยวิชาการ การจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วม

Miracle Grand A

บทเรียนการจัดการที่เสริมศักยภาพภาคีเครือข่าย เพื่อให้ได้เรียนรู ้บทเรียน รูปธรรม การด�าเนินงานตามบริบทพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายของการจัดการที่เสริม ศักยภาพภาคีเครือข่าย โดยหวังให้ผู้เข้าร่วมได้ “แนวคิด” “วิธีการ” “เครื่องมือ” “แรงบันดาลใจ” ที่จะกลับไปพัฒนางานในพื้นที่ตน เพื่อให้เกิดการหนุนเสริมศักยภาพภาคีเครือข่าย โดยกระบวนการจะเน้นความหลากหลาย ทั้งการแสดงผลงาน ของพื้นที่ การน�าเสนอ และการแสดงความคิดเห็น

Miracle Grand B

บทเรียนการจัดบริการปฐมภูมิโดยท้องถิ่นและเอกชน ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีนโยบายและแนวทาง มาตรการสนับสนุนให้องค์กรภาคเอกชน โดยเฉพาะ กทม. และเมืองใหญ่ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อม ร่วมจัด บริการปฐมภูมิ ให้ครอบคลุมมิติการดูแล รักษา ส่งเสริมป้องกัน และฟื้นฟู โดยรูปแบบ การบริหารจัดการของการจัดเครือข่ายบริการ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน ร่วมกับองค์กรภาครัฐในพื้นที่ ที่จะท�าให้เกิดระบบบริการที่ต่อเนื่อง เชื่อมโยง และตอบสนองความต้องการของประชาชน จึงเป็นความท้าทายของระบบบริการสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง โดยเนื้อหาในห้องนี้ให้บทเรียนเรื่องการบริหารเครือข่าย การท�างานร่วมกันระหว่างเครือข่ายหน่วยบริการ ท้องถิ่น ชุมชน และ การพัฒนาระบบสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริบทพื้นที่และบทบาท ศักยภาพ ข้อจ�ากัด ในความรบัผดิชอบของภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ยงัเป็นความท้าทายที่จะพัฒนาเชิงระบบโดยองค์กรนโยบายและภาคีร่วมสนับสนุนต่อไป

�������� ���. ���� 1 ���.indd 12 15/7/2016 7:44:35 AM

Page 15: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

13

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2559 บ่าย

Miracle Grand C

บทเรียนการพัฒนา อสม.ด้วยกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถ่ิน โดยเน้นประเด็น การท�างานเหล้า–บุหรี่ โดยเนื้อหาห้องย่อยทีมวิทยากรจากพื้นที่จะสะท้อนและอธิบายแนวคิด หลักการ กระบวนการวิจัย โดยเฉพาะกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น กบัการพฒันาศกัยภาพ อสม.ในการท�างานบรูณาการ งานเหล้า-บหุร่ี เน้นการแลกเปลีย่น กระบวนการท�างานใน 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1) การพัฒนาโจทย์และหาเพื่อน (ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาในพื้นที่) 2) การเก็บข้อมูล (เพื่อให้เห็นสถานการณ์ โอกาสและศกัยภาพ รวมทัง้ข้อจ�ากดัทีจ่ะต้องก้าวผ่าน) 3) การวเิคราะห์และออกแบบกจิกรรมการพัฒนา 4) ด�าเนินการและสรุปผลการด�าเนินงาน และสรุปภาพรวม บทเรียนการเรียนรู้ร่วมกันท่ีได้จากผู้เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาจากพื้นที่และสรุปเนื้อหาเพื่อการน�าไปใช้ประโยชน์ต่อไป

Boardroom คนส่วนใหญ่อาจคุ้นชินว่าถ้าเป็นโรคก็ต้องไปหาหมอ โรงพยาบาล และหน่วยบริการสุขภาพ คือค�าตอบของทุก ๆ ปัญหา ไม่ว่าจะเป็น โรคและภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นตามช่วงวัย การดูแลเด็กเล็ก ป้องกันเด็กวัยรุ่นติดยาเสพติด และมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร หากแต่ในทางกลับกัน เป็นไปได้หรือไม่ ถ้าตัวเราจะไม่ป่วยเป็นเบาหวาน ความดนัโลหติสงู หรือหากเจ็บป่วยสามารถดูแลตนเองได้ ไม่กลับไปป่วยซ�า้ อกีทัง้มสีขุภาพที่แขง็แรงทัง้กายและใจ ตัวเรา ลูกหลานเรา ครอบครัวเรา ชมุชนและสังคมของเราจะเป็นอย่างไร? เนื้อหาห้องย่อยการเรียนรู้บทเรียนการจัดบริการที่เสริมการดูแลตนเองของประชาชนของเครือข่ายสุขภาพอ�าเภอในพื้นที่ในบริบทพื้นที่และประเด็นการพัฒนาที่แตกต่างในเวทีนี้ จะช่วยตอบค�าถามนี้จากหลักคิดที่น�าไปสู่รูปแบบ ประสบการณ์การท�างานที่ถ่ายทอดผ่านบทเรียนเพื่อการเรียนรู้และขยายผลส�าหรับผู้สนใจ

ลานกิจกรรม บทเรียนการสร้างงานสุขภาพที่มากกว่าการจัดการโรค สะท้อนบทเรียนส�าคัญ ของความร่วมมือระหว่างเครือข่ายภายนอกกระทรวงสาธารณสุขที่มีส่วนส�าคัญต่อการพัฒนาระบบสุขภาพอ�าเภอ เนื่องจากเรื่องสุขภาพไม่ได้มีเพียงแค่เรื่องโรค แต่มีหลายปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ น�าเสนอเนื้อหาผ่าน 3 พื้นที่ ดังนี้ พ้ืนทีอ่�าเภอพระสมทุรเจดีย์ จงัหวดัสมทุรปราการ จากปัญหาทีพ่บไปสูก่ารจดัการงาน ในพืน้ที ่เน้นการสร้างความเข้าใจและบรูณาการสอนทักษะชวีติ เพศวถีิศกึษา มกีารปรบั ทัศนคติ สร้างความตระหนักรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ โดยเครือข่ายคนท�างานผสานความร่วมมือกับองค์กรในชุมชน นอกเหนือหน่วยงานสาธารณสุข โดยมุ่งเป้าหมาย ปลายทางคือครอบครัวอบอุ่นมีความเข้มแข็ง ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลลูกหลานในชุมชนมากยิ่งขึ้นพื้นที่อ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา รูปแบบการท�างานในพ้ืนท่ีเชื่อมโยงเครือข่ายวาระ คนเชียงม่วน ชวนกัน ลด ละ สุรา ร่วมกันกับเครือข่ายจิตเวช เครือข่ายโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง จากเครือข่ายเพื่อแก้ปัญหาสุรา มีการขยับต่อในการด�าเนินงานร่วมกับ เครอืข่ายหมูบ้่านศลี 5 ดังนัน้ไม่ว่าจะเป็นการท�างานในประเด็นเดียว แต่จะพบว่ามคีวามเชื่อมโยงกับหลาย ๆ เครือข่าย ทั้งเพื่อลดผลกระทบ และสร้างความร่วมมือเพื่อเอ้ือ ให้การท�างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นพื้นที่อ�าเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร ภายใต้โจทย์การท�างาน ท�าอย่างให้เกษตรกรสามารถลด ละ เลิก การใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช เพ่ือลดความเส่ียงในการเกิดผลเสียต่อสขุภาพ ลดต้นทนุ และเพิม่ผลผลติ และเพิม่รายได้ให้กบัเกษตรกร จงึมกีารสานพลงั เครือข่ายในชุมชน ให้ทุกคนมาช่วยกันเปลี่ยนแปลงวิถีของชาวนาจากการใช้สารเคมีไปสู่การท�านาอินทรีย์ที่ปลอดภัย โดยมีเป้าหมายส�าคัญคือ “การท�าให้ทุกภาคส่วนมาช่วยกันพัฒนาเพื่อประชาชน”

�������� ���. ���� 1 ���.indd 13 15/7/2016 7:44:35 AM

Page 16: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

14

วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม 2559 เช้า

09.00 - 12.00 น. ห้องย่อยวิชาการ การจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วม

Miracle Grand A

เล่าเรื่อง การสร้างคนเพื่อหนุนเสริมการมีส่วนร่วม ผ่านประเด็นหลักบทเรียน การสร้างคน ต่อไปนี้ การพัฒนาศักยภาพทีม ในมิติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น community -based และ hospital-based shift to community-based ระบบการสร้างคน ไม่ว่า จะเป็นการวางแผน การบริหารจัดการระบบก�าลังคนในบริบทเครือข่ายบริการปฐมภูมิ การสร้างสภาพแวดล้อมของหน่วยงานให้เอื้อต่อการท�างานชุมชน การออกแบบระบบบริการที่เกื้อหนุนการเรียนรู้และเติบโตของทีมงาน การหล่อเลี้ยงและสร้างความผูกพันของทีมต่องานและองค์กรเพื่อพัฒนางานและระบบบริการ (ทั้งจากกรณีรายบุคคล และในเครือข่ายของโรงพยาบาลสร้างสุข) ร่วมกับการสร้างกระบวนการท�างาน เสริมพลัง หนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาของชุมชน นอกจากนี้ วิทยากรจะสะท้อนบทเรียน ในการประยุกต์หลักเวชศาสตร์ครอบครัวและศาสตร์ที่จ�าเป็นต้องมีของทีมบริการ ปฐมภูมิ เพื่อจัดบริการสุขภาพชุมชนที่มีคุณภาพ บทบาทหน่วยงานสนับสนุน เชิงการบริหารจัดการก�าลังคน และบทเรียนและข้อเสนอการจัดการเกี่ยวกับก�าลัง คนปฐมภูมิ

Miracle Grand B

Primary Care Cluster Management ผู้เข้าร่วมกระบวนการจะได้เรียนรู้ในหลักการจัดการระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง โดยเฉพาะในบริบทของการท�างานแบบเครือข่าย บริหารจัดการโดยทีมน�าของโรงพยาบาลทั่วไป/ศูนย์ซ่ึงมีความซับซ้อนของการจัดการและการบริหารทรัพยากรในพื้นที่ บทเรียนจากบริบทพื้นที่ที่แตกต่างจะสะท้อนให้เห็น หลักคิดการบริหาร กลไกบริหารเครือข่ายบริการแบบพวงบริการ และการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนเชิงนโยบาย การจัดสรรทรัพยากร วิชาการ ก�าลังคน เพื่อให้เกิดบริการท่ีมีคุณภาพ ครอบคลุมและเหมาะสมกับปัญหาของประชาชน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ โดยเฉพาะน�าไปสู่ผลลัพธ์บริการปฐมภูมิที่สะท้อนคุณลักษณะส�าคญั (องค์รวม ต่อเนือ่ง ผสมผสาน และตอบสนองกบัประชาชนรวมทัง้ใช้ชมุชนเขตเมอืง เป็นฐานการขับเคลื่อน) ภายใต้การจัดการที่เหมาะสม และผลลัพธ์ต่อประชาชนในบริบท ประชาชนในเมอืง รวมทัง้ร่วมกนัหาค�าตอบท�าให้นโยบายนีส้ามารถกระจายและขยายผลในบริบทการพัฒนาพื้นที่เขตเมืองร่วมกับภาคีอื่น ๆ ได้กว้างขวางมากขึ้นต่อไป

�������� ���. ���� 1 ���.indd 14 15/7/2016 7:44:40 AM

Page 17: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

15

วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม 2559 เช้า

Miracle Grand C

บทเรยีนการใช้งานวจิยัเพือ่การจดัการพฤตกิรรมสขุภาพในพืน้ที ่ผ่าน “เร่ืองเล่า เร้าพลงั จากคนต้นเรื่อง” ในระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น สสอ. รพช. อปท. รพ.สต. และ อสม. ในประเด็นแรงบันดาลใจในการเข้ามาท�างาน กระบวนการที่น�ามาใช้ในการท�างาน และการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ผลที่เกิดขึ้นจากการท�างาน และคุณค่าที่พบจากการการท�างาน เช่น น�าไปเชื่อมโยงงานสุขภาพอย่างไร (ตามสถานะของคนต้นเรื่อง เช่น สสอ. รพช. รพ.สต. อปท. อสม.)

Boardroom บทเรียนการยกระดับและขยายผลระบบสุขภาพเป็นเรื่องที่ซับซ้อน แนวทางในการขยายผลเป็นสิ่งส�าคัญที่ต้องค�านึงถึง การขยายผลโดยใช้กลยทุธ์เดียวกนัอาจจะได้ผลลัพธ์ไม่เหมอืนกนั ขึน้อยูก่บัความซบัซ้อนของประเดน็ เงือ่นไขและปัจจยัทัง้เชงิบรบิท ศกัยภาพการบรหิารจดัการ และนโยบายของการขยายผลประเด็นนั้น ๆ ท�าให้ “งาน” ที่ท�าในพื้นที่หนึ่งประสบความส�าเร็จ จนเป็น “ต้นแบบ” หรือ “model” เมื่อน�าไปขยายหรือท�าในอีกพื้นที่หนึ่งอาจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย มีปัจจัย ข้อจ�ากัด หรืออุปสรรคอะไรที่ท�าให้งานนั้นส�าเร็จหรือไม่ส�าเร็จ มาหา ค�าตอบได้ในเวทีนี้1) บทเรียนการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตแบบเครือข่ายท้ังในส่วนโรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ภาคีทุกภาคส่วน และเครือข่ายในชุมชนครอบคลุมทุกกลุ่มวัย 2) “ลพบุรีโมเดล” การขยายผลการด�าเนินงานเชิงประเด็น (LTC, CKD, พัฒนาการเด็ก) และเชิงพื้นที่ (58 ต�าบล 59 ท้องถิ่น ครอบคลุมทั้งจังหวัด) 3) บทบาทการเชือ่มและประสานเครอืข่าย (แกนกลางระหว่างภาครฐั เอกชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง) รูปแบบการขยายผลที่ผู้เข้าร่วมเวทีสามารถน�าไปใช้ได้ และตัวอย่างโครงการ ร้อยพลัง เปลี่ยนประเทศ เช่น “ล�าสนธิโมเดล” 4) แนวคิดวิธีการ และเครื่องมือที่ใช้ในการยกระดับและขยายผลการท�างาน รวมทั้งประเด็นที่เป็นเงื่อนไข ปัจจัยส�าคัญต่อการยกระดับและขยายผลการพัฒนา

ลานกิจกรรม เครื่องมือเสริมพลังการท�างานระบบสุขภาพ เป็นกลไกการท�างานในระดับพื้นที่ เพื่อสนับสนุนให้พื้นที่จัดการตนเองได้ หนุนเสริมการขับเคลื่อนและผลักดันประเด็นสาธารณะโดยชุมชนหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องร่วมกันในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน การใช้เครื่องมือเพ่ือเสริมพลังการท�างานนั้น มีวัตถุประสงค์ในการใช้ได้หลายแง่ เช่น การใช้เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร เช่น การสนทนาอย่างสร้างสรรค์ (Dialogue) การใช้ เครือ่งมอืเพือ่การวเิคราะห์-ประเมนิสถานการณ์ เช่น แผนทีท่างเดินยทุธศาสตร์ (Strategic Route Map: SRM) ร่วมกบัการจดัท�าค่ากลางของความส�าเรจ็ในการพฒันา การวเิคราะห์ ความต้องการชุมชน (Community Health Need Assessment) ระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิารจดัการ (Management Information System: MIS) เป็นต้น หากชมุชนมีขดี ความสามารถในการจดัการปัญหาของตนเองได้ มกีารเรยีนรูร่้วมกนัอย่างต่อเนือ่ง บนพืน้ฐาน วัฒนธรรม ความเชื่อ คุณค่า ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึงพากันได้ ก็จะน�าไปสู่ ชมุชนทีเ่ข้มแขง็ ต่อไป เป้าหมายส�าคญัในลานกจิกรรมนี ้เพือ่ให้ผูเ้ข้าร่วมรูจ้กัเข้าใจเครือ่งมือในการเสริมพลัง รวมทั้งได้มีโอกาสเข้าถึงเคร่ืองมือ รวมทั้งสามารถเลือกรับปรับใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้ความเข้าใจของบริบทพ้ืนท่ี ภาคีขับเคล่ือน และประเด็นการพัฒนา

�������� ���. ���� 1 ���.indd 15 15/7/2016 7:44:40 AM

Page 18: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

16

วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม 2559 บ่าย

13.30 - 14.00 น. พลังเครือข่ายวิชาชีพเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนอย่างมีส่วนร่วม •ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน •ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย •มูลนิธิเครือข่ายหมออนามัย •สมาคมหมออนามัยแห่งประเทศไทย •สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข •ชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย •ชมรมผู้บริหารการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน •ชมรมเภสัชปฐมภูมิ สภาเภสัชกรรม กลุ่มเภสัชกรครอบครัว •ชมรมแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว

14.00 - 14.30 น. ปาฐกถาพิเศษ “พลังชุมชนเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพอ�าเภอ” เพื่อเสริมพลังในการท�างาน ที่มีชุมชนเป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยมีเป้าหมายคือ ชุมชนที่เข้มแข็ง ต่อไป

โดย นพ.พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)

�������� ���. ���� 1 ���.indd 16 15/7/2016 7:44:40 AM

Page 19: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต

�������� ���. ���� 1 ���.indd 17 15/7/2016 7:44:50 AM

Page 20: 1 ˜˜˜.indd 2 15/7/2016 7:44:30 AM · ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุเทศบาลต