36
Chalermkun

12 Scientist Book

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: 12 Scientist Book

Chalermkun

Page 2: 12 Scientist Book

ศูนย�กลางแรงโน�มถ�วง

ทฤษฎีเผาไหม�กำเนิด..แม�เหล็กไฟฟ�า

ว�วัฒนาการรุ�นสู�รุ�น

ถนอมอาหารระเบิดไดนาไม

สื่อสารโทรศัพย�กำเนิดหลอดไฟ

รังสีฆ�ามะเร็งทฤษฎีสัมพันธภาพ

Page 3: 12 Scientist Book

GALILEONEWTON

LAVOISIERFARADAYDARWINMENDEL PASTEUR

NOBEL GRAHAM BELL

EDISONCURIE

EINSTEIN

Page 4: 12 Scientist Book

SCIENTIST

Page 5: 12 Scientist Book

SCIENTIST

Page 6: 12 Scientist Book

Feb 15, 1564 – Jan 8, 1624Italy

·ÓÅÒ¤ÇÒÁàª×èÍ´ŒÇ¤ÇÒÁ¨ÃÔ§

กาลิเลโอ กาลิเลอี เปนนักฟสิกส นักคณิตศาสตร นักดาราศาสตร และนักปรัชญาชาวทัสกัน ซึ�งมีบทบาทสำคัญอยางยิ�งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเดนเชนการพัฒนาเทคนิคของกลองโทรทรรศนและผลสังเกตการณทางดาราศาสตรที่สำคัญจากกลองโทรทรรศนที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาชวยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัสอยางชัดเจนที่สุด กาลิเลโอไดรับขนานนามวาเปน "บิดาแหงดาราศาสตรสมัยใหม" "บิดาแหงฟสิกสสมัยใหม" "บิดาแหงวิทยาศาสตร" และ "บิดาแหงวิทยาศาสตรยุคใหม การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีความเรงคงที่ ซึ�งสอนกันอยูทั�วไปในระดับมัธยมศึกษาและเปนพื้นฐานสำคัญของวิชาฟสิกสก็เปนผลงานของกาลิเลโอ รูจักกันในเวลาตอมาในฐานะวิชาจลนศาสตร งานศึกษาดานดาราศาสตรท่ีสำคัญของกาลิเลโอไดแก การใชกลองโทรทรรศนสังเกตการณคาบปรากฏของดาวศุกร การคนพบดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี ซึ�งตอมาตั้งชื่อเปนเกียรติแกเขาวาดวงจันทรกาลิเลียน รวมถึงการสังเกตการณและการตีความจากการพบจุดดับบนดวงอาทิตย กาลิเลโอยังมีผลงานดานเทคโนโลยีและวิทยาศาสตรประยุกตซึ�งชวยพัฒนาการออกแบบเข็มทิศอีกดวย การที่ผลงานของกาลิเลโอสนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัสกลายเปนตนเหตุของการถกเถียงหลายตอหลายครั้งในชีวิตของเขา เพราะแนวคิดเรื่องโลกเปนศูนยกลางของจักรวาลนั้นเปนแนวคิดหลักมานานแสนนานนับแตยุคของอริสโตเติล การเปลี่ยนแนวคิดใหมวาดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของจักรวาลโดยมีขอมูลสังเกตการณทางวิทยาศาสตรอยางชัดเจนจากกาลิเลโอชวยสนับสนุน ทำใหคริสตจักรโรมันคาทอลิกตองออกกฎใหแนวคิดเชนนั้นเปนสิ�งตองหาม เพราะขัดแยงกับการตีความตามพระคัมภีร กาลิเลโอถูกบังคับใหปฏิเสธความเช่ือเร่ืองดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง และตองใชชีวิตที่เหลืออยูในบานกักตัวในความควบคุมของศาลศาสนาโรมัน

การที่ผลงานของกาลิเลโอสนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัสกลายเปนตนเหตุของการถก เถียงหลายตอหลายครั้งในชีวิตของเขา เพราะแนวคิดเรื่องโลกเปนศูนยกลางของจักรวาลนั้นเปนแนวคิดหลักมานานแสนนานนับแตยุคของอริสโตเติล การเปลี่ยนแนวคิดใหมวาดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของจักรวาลโดยมีขอมูลสังเกตการณทางวิทยาศาสตรอยางชัดเจนจากกาลิเลโอชวยสนับสนุน ทำใหคริสตจักรโรมันคาทอลิกตองออกกฎใหแนวคิดเชนนั้นเปนสิ�งตองหาม เพราะขัดแยงกับการตีความตามพระคัมภีร กาลิเลโอถูกบังคับใหปฏิเสธความเชื่อเรื่องดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง และตองใชชีวิตที่เหลืออยูในบานกักตัวในความควบคุมของศาลศาสนาโรมัน

Page 7: 12 Scientist Book

H E L I O C E N T R I M Sดวงอาท ิตย � ค ื อศ ู นย � กลาง

"กาลิเลโอ" พิสูจนใหเห็นโลกไมไดเปน "ศูนยกลางจักรวาล”โดยใชกลองโทรทรรศน สังเกตปรากฏการณของระบบสุริยะ หากโลกเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ

โดยมีดวงอาทิตยและดาวศุกรโคจรรอบโลก ดาวศุกรตอมปรากฏเต็มดวงเสมอ ไมมีทางเปนเสี้ยวดังที่สังเกตไดเลย

Page 8: 12 Scientist Book

Dec 25, 1642 – Mar 20, 1727England

¤ÇÒÁºÑ§àÍÔÞÂѧäÁ‹¾Í µŒÍ§ª‹Ò§Êѧࡵ นิวตันยังคงมีอิทธิพลตอนักวิทยาศาสตรมาตลอด เห็นไดจากการสำรวจความคิดเห็นสมาชิกราชสมาคมแหงลอนดอน (ซึ�งนิวตันเคยเปนประธาน) เมื่อป ค.ศ. 2005 โดยถามวา ใครเปนผูมีอิทธิพลยิ�งใหญตอประวัติศาสตรแหงวิทยาศาสตรมากกวากันระหวางนิวตันกับไอนสไตน นักวิทยาศาสตรแหงราชสมาคมฯใหความเห็นโดยสวนใหญแกนิวตันมากกวา ป ค.ศ. 1999 มีการสำรวจความคิดเห็นจากนักฟสิกสชั้นนำของโลกปจจุบัน 100 คน ลงคะแนนใหไอนสไตนเปน "นักฟสิกสผูยิ�งใหญตลอดกาล" โดยมีนิวตันตามมาเปนอันดับสอง ในเวลาใกลเคียงกันมีการสำรวจโดยเว็บไซต PHYSICSWEB ใหคะแนนนิวตันมาเปนอันดับหนึ�ง

ไอแซก นิวตัน กำพราบิดาต้ังแตเกิด และไดยายไปอยูกับยายต้ังแตอายุ 3 ขวบ เน��องดวยมารดาแตงงานใหม แตชีวิตในวัยเด็กของเขาก็ไมไดราบรื่นนัก เพราะเขาเองก็ขัดแยงกับผูเปนยายบอย ๆ จนกระทั�งในชวงมัธยมปลาย จุดท่ีเกือบหักเหในชีวิตของเขาก็ไดเกิดข้ึน เม่ือมารดาตองการใหนิวตันเลิกเรียน เพ่ือจะไดมาชวยครอบครัวทำฟารม โดยท่ีนิวตันเองก็ไมไดอยากยินยอมนัก แตโชคก็ยังชวยเขาไดทัน เม่ือลุงและครูใหญของโรงเรียนท่ีเขาศึกษาอยู เล็งเห็นความสามารถและสติปญญาอันปราดเปร่ืองของเขา ไดชวยกันเกล้ียกลอมแมของนิวตันเพื่อใหเขาไดเรียนตอสำเร็จ เม่ือจบมัธยมศึกษาตอนปลาย นิวตันในวัย 19 ป (ค.ศ. 1661) ก็ไดเขาศึกษาตอท่ีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ โดยเขาตองทำงานอยางหนักเพ่ือแลกกับการไดเรียน เพราะคาเลาเรียนมีราคาคอนขางสูง จนกระทั�งเขาสอบชิงทุนการศึกษาไดท่ี 1 เม่ือมีอายุได 22 ป ซึ�งในขณะน้ัน แววอัจฉริยะของเขาก็ไดฉายออกมาพรอม ๆ กับการคนพบแนวคิดทางคณิตศาสตรสมัยใหม ซึ�งก็คือแคลคูลัสนั�นเอง แตหลังจากท่ีเขาจบการศึกษาในปถัดมา ก็เกิดโรคระบาดขึ้นในประเทศอังกฤษ ทำใหมหาวิทยาลัยตองปดตัวลง และนักศึกษาทุกคนตองแยกยายกันกลับบาน ซึ�งในชวงระยะเวลาน้ัน นิวตันก็ไดคนพบความมหัศจรรยของธรรมชาติไดอีก 2 เร่ืองใหญ ซึ�งเปนเร่ืองท่ีเก่ียวกับวิทยาศาสตรและดาราศาสตร นิวตันใชเวลา 2 ปที่อยูที่บาน เฝาสังเกตและคิดคนวาแรงอะไรที่ทำใหผลแอปเปลหลนลงมา รวมทั้งสงสัยถึงแรงกระทำที่ตรึงดวงจันทรไวกับโลกดวย ขอสงสัยเหลาน�้เปนเหตุใหเขาคนพบกฎสำคัญ 3 ขอดังน�้ 1. กฎของความเฉ��อย (INERTIA), 2. กฎของแรง (FORCE) และ3. กฎของแรงปฏิกิริยา (ACTION = REACTION)

Page 9: 12 Scientist Book

G R AV I T Yแรง โน � มถ � ว ง

กฎแรงโนมถวง เปนกฎทางวิทยาศาสตรอันเปนเสาหลักของการศึกษาจักรวาลทางกายภาพหลักการของนิวตันคือ แรงโนมถวงของโลกที่กระทำกับมวลใดๆ

จะขึ้นอยูกับระยะทางระหวางศูนยกลางมวลของโลกกับศูนยกลางมวลวัตถุยกกำลังสอง

Page 10: 12 Scientist Book

Aug 6, 1743– May 8, 1794France

Çѵ¶Ø¨ÐäËÁŒä¿ã¹à©¾ÒзÕè·ÕèÁÕÍÒ¡ÒÈà·‹Ò¹Ñé¹

หลังจากยุคของโรเบิรต บอลย (ROBERT BOYLE) ผานมา วิชาเคมีก็มีความเจริญกาวหนามาตลอด จนกระทั�งถึงยุคของ ลาวัวซิเยรวิชาเคมียิ�งมีความเจริญกาวหนามากขึ้นไปอีก เน��องจากผลงานการคนพบทางเคมีของเขาหลายชิ้น ลาวัวซิเยรเกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ.1743 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั�งเศส ครอบครัวของเขาถือวาเปนผูที่มั�งคั�งที่สุด ในปารีสก็วาไดทั้งบิดาและมาตดาของเขาตางก็มาจากตระกูลที่มั�งคั�งบิดาของเขาเปนเจาหนาที่ฝายกฎหมายแระจำรัฐสภา ชื่อวา ฌาน อังตวน ลาวัวซิเยร (JEAN ANTON LAVOISIER) สวนมารดาชื่อวา เอมิลี่ ปุงตีส เปนบุตรีของเลาขานุการ ของนายทหารเรือ ยศนายพลเรือโทและยังเปนทนายความชื่อดัง อีกทั้งยังเปนสมาชิกรัฐสภากรุงปารีสอีกดวย เม่ือลาวัวซิเยรอายุได 7 ป มารดาเขา เสียชีวิต บิดาไดสงลาวัวซิเยรไปอยูกับนา เน��องจากฐานะทางครอบครัวที่ร่ำรวยของลาวัวซิเยรทำใหเขาไดรับการศึกษาที่ดีมาก หลังจากที่จบการศึกษาเบื้องตนแลว พอของเขาก็สงเขาไปเรียนตอวิชากฎหมายที่วิทยาลัยมาซาริน (MAZARIN COLLEGE) ดวยพอของเขาตองการใหเขาเปนทนายเชนเดียวกับพอและตานั�นเองในระหวางที่ศึกษาอยูที่วิทยาลัยแหงน�้ เขามีโอกาสไดศึกษาวิชาตาง ๆ มากมายรวมถึงวิชาวิทยาศาสตรดวย ทำใหเมื่อเขาเรียนจบวิชากฎหมาย ลาวัวซิเยรก็ไมไดประกอบอาชีพเปนทนายความ แตกลับ ไปศึกษาตอเกี่ยวกับวิทยาศาสตรแทน โดยเฉพาะวิชาเคมี ลาวัวซิเยรเริ�มศึกษาคนควาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของดินฟาอากาศ หรือวิชาอุตุนิยมวิทยา (METEOROLOGY) โดยเขาใชเทอรมอมิเตอรวัดอุณหภูมิของอากาศวันละหลาย ๆ ครั้งแลวจดบันทึก อุณหภูมิไวทุกครั้ง และทำเชนน�้ทุกวันจนกระทั�งเขาเสียชีวิต และดวยวิธีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอากาศ ตอมาเขา สามารถพยากรณอากาศไดอยางแมนยำ

ลาวัวซิเยรสามารถคนพบสมบัติของการเผาไหมของสารเคมีชนิดตาง ๆ หรือเรียกอีกอยางหนึ�งวา "การสันดาป" วาเกิดจากการรวมตัวกันอยางรวดเร็วระหวางสารที่ติดไฟได กับออกซิเจน ซึ�งเขาตั้งชื่อทฤษฎีน�้วา ทฤษฎีการเผาไหม (THEORY OF COMBUSTION) ผลงานการทดลองชิ้นน�้ทำใหลาวัวซิเยรมีชื่อเสียงเปนที่รูจักมากขึ้น ในฐานะของนักวิทยาศาสตรผูคนพบ สาเหตุที่สสารตางๆ ไหมไฟได ลาวัวซิเยรสรุปทฤษฎีเกี่ยวกับการสันดาปออกเปน 5 ขอ ไดแก1. วัตถุจะไหมไฟไดในเฉพาะที่ทีมีอากาศเทานั้น2. เมื่อนำอโลหะไปเผาไฟจะทำใหเกิดกรด (ACID) รวมถึงจะมีน้ำหนักเพิ�มขึ้นดวย3. ในอากาศประกอบไปดวยกาซ 2 ชนิด คือ ออกซิเจน ซึ�งเปนกาซที่ชวยในการเผาไหม และอาโซต (AZOTE)4. ในการเผาไหมจะไมมีธาตุฟลยยิสตอน5. เถาที่เกิดจากการเผาไหมของโลหะ จะมีน้ำหนักเพิ�มขึ้นเสมอไป

Page 11: 12 Scientist Book

T H E O R Y O F C O M B U S T I O Nทฤษฎ ี เผา ไหม �

ANTOINE LAURENT LAVOISIER คนพบสมบัติของการเผาไหมของสารเคมีชนิดตาง ๆ หรือเรียกอีกอยางหนึ�งวา "การสันดาป" วาเกิดจากการรวมตัวกันอยางรวดเร็วระหวางสารที่ติดไฟได

กับออกซิเจน ซึ�งเขาตั้งชื่อทฤษฎีน�้วา ทฤษฎีการเผาไหม (THEORY OF COMBUSTION)

Page 12: 12 Scientist Book

Sep 22, 1791 - Aug 25, 1867England

MICHAELFARADAY

ä´¹ÒâÁ =à¤Ã×èͧ¡Óà¹Ô´ä¿¿‡Ò

ไมเคิล ฟาราเดย เกิดที่นิวอิงตัน เซอรเรย ประเทศอังกฤษ ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน เปนบุตรคนที่ 3 จากจำนวน 10 บิดาของเขาชื่อเจมสเปนชางตีเหล็ก เขาเริ�มทำงานเมื่ออายุ 13 ป โดยการเปนเด็กสงหนังสือพิมพและฝกงาน แผนกเย็บปกและซอมหนังสือ เขายังเปนคนชอบอานหนังสือ ศึกษาหาความรูโดยเฉพาะเรื่องของไฟฟา เขาพยายามหาโอกาสไปฟงการบรรยายทางวิทยาศาสตรตามสถานที่ตาง ๆ เสมอ และจะมีการจดบันทึกไวอยางละเอียดและเขาเลมเก็บไว มีครั้งหนึ�งในป 1812 มีลูกคาซอมหนังสือเห็นวาเขาสนใจเรื่องการบรรยายของนักวิทยาศาสตร จึงไดมอบบัตรในการฟงการบรรยายวิทยาศาสตรของ ฮัมฟรี เดวี จัดบรรยายที่ราชสมาคม เขาจดรายละเอียดการบรรยาย วาดรูปประกอบ เรียบเรียงอยางเปนระเบียบ จากนั้นเขาจึงไปสมัครเปนผูชวยเดวี่ โดยนำหนังสือเลมน�้ไปดวย ทำใหเดวี่ประทับใจ รับเขาทำงาน

เขาเริ�มสนใจเกี่ยวกับเรื่องแมเหล็กไฟฟา เขาทดลองเรื่อง อำนาจแมเหล็กใหเปนพลังงานไฟฟาอยูหลายครั้ง จนการทดลองหนึ�ง เขาพันขดลวด 2 ขดในวงแหวนอันเดียวกัน โดยตอปลายทั้งสองของขดลวดหนึ�งเขากับ กัลวานอมิเตอร และตอขดลวดที่เหลือกับแหลงจายไฟและปดเปดสวิตซใหกระแสไฟฟาผานเขาในขดลวด เขาสังเกตเห็นวา กัลวานอมิเตอร ที่ตอกับอีกขดหนึ�งนั้นขยับ แสดงวามีกระแสไฟฟาไหลในขดที่ 2 ทั้งที่ไมไดจายไฟเขาขดนั้นเลย จากการทดลองน�้เขาพัฒนาเปนหมอแปลงไฟฟาในเวลาตอมา เขายังคนพบเสนแรงแมเหล็กจากการ ทดลองเทผงตะไบเหล็ก ลงบนกระดาษที่อยูบนแมเหล็กเขาไดรับการแตงตั้งเปนศาสตราจารย ประจำวิชาเคมีแหงราชสมาคม ในป ค.ศ. 1833

ในชวงหลังเขาสนใจในเรื่องแสง และศึกษาคนควาตลอดมา เขาลมปวยเปนโรคความจำเสื่อมในบั้นปลาย ของชีวิต และถึงแกกรรมเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.1867 ที่แฮมปตันคอรท อายุได 75 ป

Page 13: 12 Scientist Book

E L E C T R O M A G N A T I Cกำ เน ิ ด . . แม � เ หล ็ ก ไฟฟ � า

เขาเริ�มสนใจเกี่ยวกับเรื่องแมเหล็กไฟฟา เขาทดลองเรื่อง อำนาจแมเหล็กใหเปนพลังงานไฟฟาอยูหลายครั้ง จนการทดลองหนึ�ง เขาพันขดลวด 2 ขดในวงแหวนอันเดียวกัน โดยตอปลายทั้งสองของขดลวดหนึ�งเขากับ กัลวานอมิเตอร และตอขดลวดที่เหลือกับแหลงจายไฟและปดเปดสวิตซใหกระแสไฟฟาผานเขาในขดลวด

Page 14: 12 Scientist Book

Feb 11, 1809 – Apr 19, 1882United Kingdom

CHARLESDARWIN

ชาลส โรเบิรต ดารวิน เปนนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผูทำการปฏิวัติความเชื่อเดิม ๆ เกี่ยวกับที่มาของสิ�งมีชีวิต และเสนอทฤษฎีซึ�งเปนทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม และหลักการพื้นฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (NATURAL SELECTION) เขาตีพิมพขอเสนอของเขาในป ค.ศ. 1859 ในหนังสือชื่อ THE ORIGIN OF SPECIES (กำเนิดของสรรพชีวิต) ซึ�งเปนผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา ผลงานน�้ปฏิเสธแนวคิดทางวิทยาศาสตรทั้งหมดที่เคยมีมากอนหนาน�้เกี่ยวกับการกลายพันธุของสปชีส ชวงคริสตทศวรรษ 1870 ชุมชนวิทยาศาสตรและสาธารณชนสวนมากจึงยอมรับทฤษฎีวิวัฒนาการในฐานะที่เปนความจริง อยางไรก็ดี ยังมีคำอธิบายที่เปนไปไดทางอื่นๆ อีก และยังไมมีการยอมรับทฤษฎีน�้เปนเอกฉันทวาเปนกลไกพื้นฐานของวิวัฒนาการ ตราบจนกระทั�งเกิดแนวคิดการสังเคราะหวิวัฒนาการยุคใหม (MODERN EVOLUTIONARY SYNTHESIS) ขึ้นในชวงคริสตทศวรรษ 1930-1950 การคนพบของดารวินยังถือเปนรูปแบบการควบรวมทางทฤษฏีของศาสตรเกี่ยวกับชีวิต ที่อธิบายถึงความหลากหลายทางชีวภาพของสิ�งมีชีวิต

ความสนใจเก่ียวกับธรรมชาติต้ังแตวัยเด็กทำใหดารวินไมสนใจการศึกษาวิชาแพทยในมหาวิทยาลัยเอดินเบอระเลย แตกลับหันไปชวยการตรวจสอบสัตวน้ำที่ไมมีกระดูกสันหลัง เมื่อศึกษาที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจไดชวยกระตุนความหลงใหลในวิทยาศาสตรธรรมชาติมากข้ึน การเดินทางออกไปยังทองทะเลเปนเวลา 5 ปกับเรือบีเกิล (HMS BEAGLE) และโดยเฉพาะการเฝาสำรวจที่หมูเกาะกาลาปากอส เปนทั้งแรงบันดาลใจ และใหขอมูลจำนวนมาก ซึ�งเขานำมาใชในทฤษฎีของเขา ผลงานตีพิมพเร่ือง การผจญภัยกับบีเกิล(THE VOYAGE OF THE BEAGLE) ทำใหเขามีชื่อเสียงในฐานะนักเขียน

ดวยความพิศวงกับการกระจายตัวของสิ�งมีชีวิตในภูมิภาคท่ีแตกตางกัน กับฟอสซิลท่ีเขาสะสมมาระหวางการเดินทาง ดารวินเริ�มการศึกษาอยางละเอียด และในป ค.ศ. 1838 จึงไดสรุปเปนทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ แมวาเขาจะอภิปรายแนวคิดของตนกับนักธรรมชาติวิทยาหลายคน แตก็ยังตองการเวลาเพื่อการวิจัยเพิ�มเติม โดยใหความสำคัญกับงานดานธรณ�วิทยา เขาเขียนทฤษฎีของตนขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1858 เมื่อ อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ สงบทความชุดหนึ�งที่อธิบายแนวคิดเดียวกันน�้มาใหเขา และทำใหเกิดการรวมงานตีพิมพของทฤษฎีทั้งสองน�้เขาดวยกันในทันที

Page 15: 12 Scientist Book

T H E E V O L U T I O Nทฤษฎ ี ว � ว ัฒนาการ

ขอมูลทางธรรมชาติที่เขาเก็บรวบรวมได ขณะที่เขาเดินทางไปกับเรือสำรวจตามแนวฝงทวีปรอบโลก การสำรวจตามแนวฝง ของทวีปอเมริกาใต และหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก ดารวินไดพบวาพืชและสัตว

บนพื้นทวีป และหมูเกาะมีความคลายคลึงกันแตไมเหมือนกัน

Page 16: 12 Scientist Book

July 20, 1822 – Jan 6, 1884Austria-Hungary

เกรเกอร โยฮันน เมนเดล เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ.1822 เปนบาทหลวงชาวออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เปนอาจารยสอนหนังสือใหแกนักเรียน สอนนักเรียน ถึงเรื่องพันธุกรรมดวย เมนเดลมีความสนใจศึกษาดานวิทยาศาสตรโดยเฉพาะ ดานพันธุศาสตร เขาไดใชสถานท่ีภายในบริเวณวัดเพื่อทำการทดลองสิ�งตางๆ ที่เขาสนใจ เมนเดลเริ�มตนทดลองเปนครั้งแรกในป ค.ศ.1856 เรื่องที่เขาทำการทดลองคือ การรวบรวมตนถั�วหลายๆพันธุนำมาผสมกันหลายๆวิธีเขาใชเวลาทดลองตอเน��องถึง 7 ป จนไดขอมูลมากเพียงพอ ในป ค.ศ.1865 เมนเดล จึงได รายงานผลการทดลอง ซึ�งเกี่ยวของกับการผสมพันธุ ตนถั�ว ใหแกที่ประชุม NATURAL HISTORY SOCIETY ในกรุงบรุนน ( BRUNN ) ผลงานของเขาไดรับการตีพิมพเผยแพรออกไปทั�วทวีปยุโรปและ อเมริกาในปตอมาคือป ค.ศ.1866 ผลงานของเขาถูกปลอยไวนานถึง 34 ป จนกระทั�งป ค.ศ.1900 ไดมีนัก ชีววิทยา 3 ทาน คือ ฮูโก เดอฟรีส ชาวฮอลันดา คารล คอรเรนส ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน แชรมาค ชาวออสเตรเลีย ไดทดลองผสมพันธุพืชชนิดอ่ืนๆ และไดผลการทดลองตรงกับท่ีเมนเดลเคยรายงานไว ทำใหเมนเดลเปนที่รูจัก ในวงการพันธุศาสตรนับแตนั้นเปนตนมา เขาไดรับการ สถาปนาสมณศักดิ์เปนเจาอาวาสประจำโบสถที่ ALT BRUNN ภาระงานบริหารไดทำใหเขาไมมีเวลาทำการทดลองเรื่องการ ผสมพันธุพืชอีกเลย จนกระทั�งเขาเสียชีวิตลงในวันท่ี 6 มกราคม ค.ศ.1884 ขณะมีอายุได 61 ป ดวยโรคหัวใจวาย ศพของเขาไดถูกนำ ไปฝงที่สุสานใกลโบสถ ในพิธีศพมีสานุศิษยและชาวบานที่ไดเดินทางมาไวอาลัยนักบวชคนหนึ�ง ซึ�งไดอุทิศชีวิตใหทานแกผูยากไร แตไมมีใครเลยจะรูสักนิดวา พวกเขากำลังร่ำลาอาลัยนักวิทยาศาสตรผูยิ�งใหญที่สุดคนหนึ�งของโลก

จากขอมูลดิบท่ีเมนเดลไดตีพิมพน้ัน กอนจะมาสรุปเปนกฎไดน้ัน ปจจุบันมีผูต้ังขอโตแยงวาตัวเลขที่ไดจากการทดลองของเมนเดลใกลเคียงกับคาทางทฤษฎีเกินไปจนเปนที่นาสงสัย ทั้งน�้อาจเกิดจากความบังเอิญหรือเปนความจงใจของเมนเดลเองก็ได อยางไรก็ตามการคนพบของเมนเดลถือวาเปนการคนพบยิ�งใหญครั้งหนึ�งในวงการพันธุศาสตร เน��องจากเมนเดลสามารถไขความลับการสืบทอดลักษณะทางพันธุกรรมตางๆ จากบรรพบุรุษไปสูลูกหลานโดยที่ในสมัยนั้นยังไมมีการคนพบสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอ ยีน หรือ โครโมโซมแตอยางใด

GREGORJOHANNMENDEL

Page 17: 12 Scientist Book

G E N E T I Cรุ� น สู� รุ� น (พ ันธ ุ กรรม )

จากการรวบรวมตนถั�วหลายๆพันธุนำมาผสมกันหลายๆวิธีเขาใชเวลาทดลองตอเน��อง ถึง 7 ป จนไดขอมูลมากเพียงพอ นำมาสูการอธิบาย

ทฤษฎีวาดวยการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุนหนึ�งไปสูรุนหนึ�งซึ�งเปนพื้นฐานของวิชาพันธุศาสตร

Page 18: 12 Scientist Book

Dec 27, 1822 – Sep 28, 1895France

¹éÓ«Ø»ÍÂً䴌ÌÍ¡Njһ‚́ ŒÇ¾ÒÊà¨Íäë�

หลุยส ปาสเตอร เกิดในป ค.ศ.1822 ในประเทศฝรั�งเศส บิดาของเขาตองการใหหลุยส เปนครูจึงสงเขาไปเรียนที่กรุงปารีส จนสำเร็จการศึกษาและไดเปนอาจารยสอนมหาวิทยาลัยเมื่ออายุได 32ป จุลชีพเปนสิ�งที่ปาสเตอรสนใจมากทุกคนรูวาเน�้อจะเนาเปอยหากทิ้งเน�้อไวกลางแจงและทุกคนสามารถมองเห็นตัวจุลชีพในเน�อ้ไดดวย กลองจุลทรรศนท่ีมีกำลังขยายมากแตไมมีใครรูวาจุลชีพมาจากที่ใด นักวิทยาศาสตรหัวโบราณคิดวาเน�้อเนาทำใหเกิดพวกมัน แตปาสเตอร ไมคอยแนใจนัก เขากลับไปยังวิทยาลัยท่ีเคยเรียนในกรุงปารีสซึ�งเขา ไดรับการแตงต้ังเปนผูอำนวยการทางวิชาวิทยาศาสตรเขาใชเวลา ทั้งหมดของเขาทำการคนควาเรื่องจุลชีพ ในที่สุดหลุยสก็คนพบวา จุลชีพนั้นเกิดจากฝุนละอองที่ลอยอยูในอากาศมิใชมาจากอาหารที่ บูดเนา เขาพิสูจนโดยการนำเอาขวดซุปเน�้อขึ้นไปบนภูเขาแอลปซึ�ง มีอากาศบริสุทธิ์และไมมีฝุนละอองเขาเปดขวดเหลานั้นและปลอยทิ้งไว เขาพูดถูกน้ำซุปไมเสีย บนหิ้งตางๆของพิพิธภัณฑปาสเตอรในกรุงปารีส มีขวดปดไวซึ�งจัดทำขึ้นโดยปาสเตอรน้ำซุปเน�้อในนั้นยังคงไมบูดเนา หลังจากนานกวารอยป การคนควาน�้ทำใหเกิดอาหารกระปองที่เรา รูจักกันทุกวันน� ้ตอมาปาสเตอรไดทำการทดลองเพ่ือหาวิธีรักษา โรคกลัวน้ำ หลังจากทำการทดลองท่ีเสี่ยงอันตรายหลายครั้งเขาก็ ประสบผลสำเร็จซึ�งการคนพบวิธีรักษาโรคกลัวน้ำใหความหวังแก ผูคนในหลายประเทศ หลุยส ปาสเตอรถึงแกกรรมในป ค.ศ.1895 มีผูคนมากมายโศกเศราตอการเสียชีวิตของเขา เขาไมเพียงแตเปน นักวิทยาศาสตรเทานั้นแตยังเปนบุคคลสำคัญอีกดวย

การคนพบวัคซีนที่สรางชื่อเสียงใหกับเขามากที่สุด คือ วัคซีนปองกันพิษสุนัขบาน แมวาจะไมใชโรคระบาดที่รายแรงแตก็สรางความเดือดรอนใหกับผูคนไดมากเพราะเมื่อผูใดที่ถูกสุนัขบากัดแลวตองเสียชีวิตทุกรายไป สัตวที่ปวยดวยโรคน�้ก็ตองตายโดยไมมีวิธีรักษาหรือปองกัน จากการคนควาปาสเตอรพบวาเชื้อสุนัขบาอยูในน้ำลาย ดังนั้นเมื่อถูกน้ำลายของสุนัขที่มีเชื้อโรคอยูไมวาจะทางใด เชน ถูกเลียบริเวณที่เปนแผล หรือถูกกัด เปนตน เชื้อโรคในน้ำลายก็จะซึมเาไปทางแผลสูรางกายได ปาสเตอรไดนำเชื้อมาเพาะวัคซีน และนำไปทดลองกับสัตว ปรากฏวาไดผลเปนอยางดี แตปาสเตอรไมกลานำมาทดลองกับคน จนกระทั�งวันหนึ�งโจเวฟเมสเตร เด็กชายวัย 9 ป ถูกสุนัขบากัด ถึงอยางไรก็ตองเสียชีวิต ดังนั้นพอแมของเด็กจึงไดนำบุตรชายมาใหปาสเตอรรักษาซึ�งเปนโอกาสดีที่ปาสเตอรจะไดทดลองยา ปรากฏวาเด็กนอยไมปวยเปนโรคสุนัขบาน การคนพบครั้งน�้ทำใหเขามีชื่อเสียงเปนที่รูจักมากขึ้น

LOUISPASTEUR

Page 19: 12 Scientist Book

PA S T E U R I Z A T I O Nถนอมอาหาร

PASTEURIZATION วัตถุประสงคของการพาสเจอรไรซเพื่อทำลายจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคและเอนไซมที่เปนสาเหตุใหอาหารเสื่อมเสีย เปนวิธีการถนอมอาหาร

เพื่อยืดอายุการเก็บอาหาร ทำใหอาหารปลอดภัยโดยที่ไมทำใหกลิ�นรส โดยการคิดคนของ หลุยซ ปาสเตอร

Page 20: 12 Scientist Book

Oct 21, 1833 – Dec 10, 1896Sweden

ALFREDNOBEL »ÃдÔÉ°�ÍÒÇظ

ᵋªÔ§ªÑ§Ê§¤ÃÒÁการที่ไมมีรางวัลโนเบลในสาขาคณิตศาสตรอยูดวยนั้น มีขาวลือกันในขณะนั้นวาการที่โนเบลไมยอมใหมีสาขาคณิตศาสตรมีสาเหตุจากผูหญิง ซึ�งอาจเปนคูหมั้นเกาหรือภรรยาลับที่ปฏิเสธความรักของเขา หรือโกงเขาและจากไปอยูกับนักคณิตศาสตรผูมีชื่อเสียงคนหนึ�งชื่อ กอสตา มิตแทก เลฟเฟลอร แตก็ไมปรากฏหลักฐานใดทางประวัติศาสตรที่สนับสนุนขาวลือน�้อัลเฟร็ด เบิรนฮารท โนเบลเปนคนโสดไมเคยแตงงานตลอดชีวิต

โนเบล ผูสืบเชื้อสายมาจากนักวิทยาศาสตรยุคคริสตศตวรรษที่ 17 ชื่อโอลาอุส รุทเบค (OLAUS RUDBECK - พ.ศ. 2173 - พ.ศ. 2251) และเปนบุตรชายคนที่ 3 ของ อิมมานูเอล โนเบล (พ.ศ. 2344 - พ.ศ. 2415) เกิดที่กรุงสต็อกโฮลมและยายตามครอบครัวไปอยูที่นครเซนตปเตอรสเบิรกเมื่อ พ.ศ. 2385 ท่ีซึ�งบิดาผูคิดคนวิธีทำไมอัดสมัยใหมไดงานสราง "ตอรปโด" ท่ีนั�น แตตอมาอัลเฟร็ด โนเบลไดยายไปอเมริกาพรอมครอบครัวเน��องจากประสบปญหาทางการเงิน ที่อเมริกาเขาไดทุมเทตัวเองหันมาศึกษาดานดินระเบิด โดยเฉพาะชนิดที่มีความปลอดภัยในการผลิตโดยใช "ไนโตรกลีเซอรรีน" (NITROGLYCERINE) ซึ�งคบพบในป พ.ศ. 2390 โดยแอสคานิโอ โซเบรโนซึ�งเปนเพื่อนรวมชั้นเรียนกับเขาที่มหาวิทยาลัยโทริโน หรือมหาวิทยาลัยแหงตูริน อิตาลี มีรายงานวาไดมีการระเบิดขึ้นบอยครั้งในโรงงานของครัวของโนเบล ครั้งที่รุนแรงถึงชีวิตในป พ.ศ. 2407 ไดคราชีวิตของนองชายชองอัลเฟร็ต โนเบลพรอมคนงานอีกหลายคนนับตั้งแต พ.ศ. 2444 เปนตนมา ไดมีการมอบรางวัลโบเบลเมื่อเปนเกียรติแกชายและหญิงหลายคนจากทุกมุมโลกผูซึ�งไดคิดคนหรือมีผลงานที่ดีเดนในสาขาตางๆ ไดแกสาขาฟสิกส เคมี การแพทย วรรณคดีและดานสันติภาพ การจัดต้ังกองทุนรางวัลโนเบลเกิดข้ึนตามพินัยกรรมฉบับสุดทายเม่ือ พ.ศ. 2438 ดวยจำนวนเงินกอนใหญมากที่โนเบลไดมอบใหกอนเสียชีวิตไมนานัก อัลเฟร็ต โนเบลไดเขียนบทละครเศราชื่อ "เทวฑัณท" (NMESIS)เปนบทรอยแกวความยาว 4 ตอน เปนเรื่องเกี่ยวกับสตรีอิตาลีผูมีบทบาทสำคัญเก่ียวกับคดีฆาตกรรมอันลือลั�นในกรุงโรมในยุคน้ัน บทละครไดรับการตีพิมพพอดีกับชวงการตายของโนเบล หนังสือทั้งหมดถูกทำลายทันทีหลังการตายของเขา แตก็มีเหลือรอดอยู 3 เลม ที่เพิ�งไดรับการตีพิมพใหมเมื่อ พ.ศ. 2546 ศพของอัลเฟร็ด เบิรนฮารท โนเบลไดรับการฝงไวในกรุงสต็อกโฮลม

Page 21: 12 Scientist Book

D I N A M I T Eร ะ เบ ิ ด ไดนา ไม

ALFRED NOBEL ผูคนพบวิธีการทำระเบิดไดนาไมต แตเล็งเห็นความรายกาจของมัน เขาจึงกอตั้งกองทุนเปนจำนวนเงิน 9,000,000 เหรียญอเมริกา

เปนรางวัลประจำปสำหรับบุคคลซึ�งทำประโยชนใหแกมนุษยชาติ ในสาขาตางๆ คือ รางวัลโนเบลสาขาฟสิกส, สาขาเคมี, สาขาแพทย, และสาขาสรีรศาสตร, สาขาวรรณกรร และสาขาสันติภาพ

Page 22: 12 Scientist Book

Mar 3, 1847– Aug 2, 1922UK, US

àÊÕ§¼‹Ò¹ÊÒ¡ÃЫԺ䴌ÃÐÂÐä¡Å

อเล็กซานเดอร เกรแฮม เบลล เกิดที่เมืองเอดินบะระ แควนสกอตแลนด ประเทศอังกฤษ (ภายหลังเบลลไดเปลี่ยนชื่อกลางเกรแฮมออกและเปลี่ยนชื่อสกุลเปน อเล็กซานเดอร เกรแฮม เพื่อเปนเกียรติกับเบลล) ครอบครัวของเบลล มีความเกี่ยวพันกับทางดานภาษาศาสตรวาดวยการออกเสียง (ELOCUTION) โดยปู ลุง และพอของเบลล ลวนเปนผูเชี่ยวชาญทางดานภาษา ภายหลังตอมาไดมีการเผยแพรงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องน�้อยางหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ�ง บิดาของเบลล (อเล็กซานเดอร เมลวิลล เบลล) ไดผลิตงานวิจัยสำคัญไดแก การประดิษฐระบบการออกเสียง VISIBLE SPEECH โดยเปนการศึกษาและออกแบบระบบแสดงวิธีการออกเสียงพูดของมนุษย โดยใชสัญลักษณในการแทนการเคลื่อนไหว ปาก ลิ้นและลำคอ เปนงานวิจัยซึ�งมีสวนอยางมากในการชวยการพูดสำหรับบุคคลหูหนวก และตอมาในภายหลัง เบลลไดนำมาปรับปรุงเพื่อชวยเหลือผูพิการใหสามารถอานริมฝปากของผูพูดเพื่อทำความเขาใจกับคำพูด เกลลแฮม เบลลไดรับการศึกษาที่โรงเรียน ROYAL HIGH SCHOOL เมืองเอดินบะระ หลังจากนั้นไดเขารับตำแหนงที่ WESTON HOUSE ACEDAMY ในตำแหนงผูชวยสอนในสาขาการออกเสียงและดนตรี ที่เอลกิน ในมอเรยไชน หลังจากนั้น เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเอดินบะระ. จากนั้นในป ค.ศ. 1866 ถึงป ค.ศ. 1867 ไดเขาเปนผูบรรยายที่มหาวิทยาลัย SOMERSETSHIRE เมืองบารทประเทศอังกฤษ. ระหวางที่ยังอยูที่สกอตแลนดไดเบนความสนใจไปยังสวนของงาน ACOUSTIC เพื่อมีสวนชวยในความหูหนวกของมารดา ในป 1870 เขาไดติดตามครอบครัวไปยังแคนาดา โดยพำนักที่เมือง BRENTFORD, ONTARGIO โดยกอนยายออกจาก SCOTTLAND เบลลไดเริ �มใหความสนใจกับโทรศัพท และในแคนนาดา ไดใหความสนใจกับอุปกรณการสื่อสารอยางตอเน��อง โดยไดพัฒนาเปยโน ซึ�งสามารถสงเสียงดนตรี ผานสัญญาณไฟฟาไดสำเร็จ และป 1882 เขาโอนสัญชาติเปนอเมริกัน

เบลลไดจดสิทธิบัตรโทรศัพทเปนสิทธิของตนในสหรัฐอเมริกา วันที่ 14 กุมภาพันธ ค.ศ. 1876 และเปนเหตุอันนาบังเอิญเหลือเกินที่ไดมีการจดสิทธิบัตร โดย เอลิชา เกรย (ELISHA GRAY) ในวันเดียวกัน โดยเปนการจดสิทธิบัตรภายหลังจากเบลลเปนเวลา 2 ชั�วโมง--เครื่องสงสัญญาณของเกรยถูกออกแบบโดยใชอุปกรณแบบเกา ซึ�งถูกเรียกวา LOVERS TELEPHONE โดยมีวงจรสองวงจรถูกเชื่อมโยงเขาดวยกัน

Page 23: 12 Scientist Book

L O V E R S T E L E P H O N Eส ื ่ อสารทาง โทรศ ัพท �

GRAHAM BELL สรางเครื่องโทรศัพทขึ้นใชเปนเครื่องแรก โดยสรางตัวสงผานซึ�งมีเครื่องพูดลักษณะคลายเขาสัตวเปนตัวนำคลื่นเสียงไปยังโลหะแผนแบนๆ ซึ�งมีแมเหล็กอยูใกลและเสนลวดขดรอบ

แมเหล็กนั้น เมื่อคลื่นเสียงจากคำพูดของเขาทำใหโลหะสั�นสะเทือน ความสั�นสะเทือนทำใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้นในเสนลวดที่อยูรอบแมเหล็กแลวไหลผานเสนลวดอีกเสนหนึ�งซึ�งตอไปยังเครื่องรับ

Page 24: 12 Scientist Book

Feb 11, 1847– Oct 18, 1931USA

¼ÙŒàÊ¡áʧÊÇ‹Ò§¨Ò¡»ÅÒ¹ÔéÇ

เอดิสันไดประดิษฐสิ�งตางๆ กวา 1,200 ชนิด ผลงานของเขา อาทิเชน แสงไฟฟา หีบเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ เอดีสันทำงานอยางขยันขันแข็ง คืนหนึ�งๆ เขานอนเพียง 4-5 ชั�วโมงเทานั้น ในตอนปลายของชีวิตสุขภาพของเขาทรุดโทรมลงไปมาก และถึงแกกรรมในป ค.ศ. 1931

โทมัส อัลวา เอดิสัน เปนนักประดิษฐและนักธุรกิจชาวอเมริกัน ผูซึ�งประดิษฐอุปกรณที่สำคัญตาง ๆ มากมาย ไดฉายา "พอมดแหงเมนโลพารก" เปนหนึ�งในผูริเริ�มนำหลักการของ การผลิตจำนวนมาก และ กระบวนการประดิษฐ มาประยุกตรวมกัน โทมัส เอดิสัน มักจะถูกเขาใจผิดวาเปนผูคิดคนหลอดไฟ แตในความเปนจริงเขาเปนบุคคลแรกที่จดสิทธิบัตรในการประดิษฐหลอดไฟ จากนักวิทยาศาสตรกวา 20 คนที่คิดคนหลอดไฟ และสามารถนำมาทำเปนธุรกิจได เอดิสันยังคงเปนหนึ�งในผูกอตั้งบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก (GENERAL ELECTRIC) บริษัทเครื่องใชไฟฟาขนาดใหญของโลก และกอตั้งอีกหลายบริษัทในดานไฟฟา หนึ�งในบริษัทของเอดิสันยังเปนผูคิดคนเกาอี้ไฟฟาสำหรับประหารชีวิตนักโทษอีกดวย

เอดิสันยังคงเปนบุคคลสำคัญในสงครามกระแสไฟฟา (WAR OF CURRENTS) โดยเอดิสันพยายามผลักดันระบบไฟฟากระแสตรงของบริษัท แขงกับระบบไฟฟากระแสสลับของจอรจ เวสติงเฮาส (GEORGE WESTINGHOUSE) โดยพนักงานในบริษัทของเขาไดโฆษณาชวนเชื่อความอันตรายของไฟฟากระแสสลับโดยการฆาหมาแมวเปนจำนวนหลายตัว

เขาไดประดิษฐสิ�งสำคัญขึ้นหลายอยางเกี่ยวกับกระแสไฟฟา ความจริงเขาเปนคนที่มทักษะที่จะปฎิบัติตามความคิดใหมๆ ไดทุกอยาง เราระลึกถึงเอดิสันในเร่ืองแสงไฟฟา เพราะขณะน้ันยังไมมีไฟฟาใชในการใหแสงสวางในบานธรรมดาได เน��องจากยังไมมีหลอดไฟฟาท่ีมีประสิทธิภาพ ภายในบานยังตองใชเทียนหรือตะเกียงน้ำมัน และประมาณป ค.ศ.1850 จึงเริ�มใชกาซ ตอนตนศตวรรษที่ 19 เซอรฮัมฟรีย เดวี่ ไดประดิษฐตะเกียงที่ทำใหเกิดแสงโดยผานกระแสไฟฟาไปยังแทงคารบอน 2 แทง ทำใหเกิดความสวางขึ้น แตก็ใชใหแสงสวางบนทองถนน เน��องจากมีขนาดใหญและเทอะทะ ไมเหมาะที่จะใชในบานเรือน

Page 25: 12 Scientist Book

F I R S T L A M Pกำ เน ิ ดหลอด ไฟ

THOMAS EDISON ผูเปนนักประดิษฐหลอดไฟที่ยิ�งใหญ เขามานะทำการทดลองตามลำพังในหองใตหลังคาบาน การทดลองครั้งที่ 100 ผานไปโดยไมมีความกาวหนาใดๆเลยเพื่อนบานบอกใหเขาเลิกคิดบาๆไดแลว ตะเกียงแกสใชกันมาเปนหลายสิบปแลว แต EDISON หรือฉายาที่เพื่อนบานตั้งใหวา

NUTTY TOM (ทอมสติเฟอง) กลับไมยอมหยุด

Page 26: 12 Scientist Book

Nov 7, 1867– July 4, 1934Poland

¤Œ¹¤ÇŒÒà¾×èÍÃÑ¡ÉÒà¾×è͹Á¹ØÉÂ�

โรคมะเร็งเปนโรคที่ทำใหผูปวยเสียชีวิตเปนอันดับ 1 ของโรคทั้งหมด ทั้งที่โรคมะเร็งไมใชโรคติดตอ หรือโรคระบาดรายแรงอะไรเลย แตนั้นไมใชสิ�งสำคัญ สาเหตุที่ทำใหคนตองเสียชีวิตดวยโรคมะเร็ง ก็เพราะวา โรคมะเร็งเปนโรคที่ไมสามารถรักษาใหหายได หากปลอยใหลุกลามไปถึงระยะสุดทายแลว แตถาเปนระยะแรกก็อาจจะรักษาไดดวยการแายรังสีเรเดียม และนักวิทยาศาสตรผูคนพบธาตุชนิดน�้ก็คือ มารี คูรี่ ไมเฉพาะโรคมะเร็งเทานั้นที่เรเดียมรักษาได เรเดียมยังสามารถรักษาโรคผิวหนังบางชนิดได และเน�้องอกไดอีกดวย มารีเกิดที่กรุงวอรซอร ประเทศโปแลนด กอนที่เธอจะสมรสกับปแอร คูรี่เธอชื่อวา มารียา สโคลดอฟสกา (MARJA SKLODOWSKA) บิดาของเธอชื่อวา วลาดิสลาฟ สโคลดอฟสกา เปนครูสอนวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตรอยูท่ีโรงเรียนมัธยมแหงหนึ�งในกรุงวอรซอร บิดาของเธอมักพาเธอไปหองทดลองทางวิทยาศาสตรของโรงเรียนดวยเสมอ ทำใหเธอมีความสนใจวิชาวิทยาศาสตรมาต้ังแตเด็ก ตอมารัสเซียไดเขามายึดโปแลนดไวเปนเมืองข้ึน อีกท้ังกดข่ีขมเหงชาวโปแลนด และมีคำสั�งใหใชภาษารัสเซียเปนภาษาราชการเพียงภาษาเดียวเทานั้นเพื่อปองกันการกอกบฏ ทำใหครอบครัวของมารีและชาวโปแลนดตองไดรับความลำบากมากทีเดียว มารีไดนำผลงานการคนพบธาตุเรเดียมมาทำวิทยานิพนธสำหรับรับปริญญาเอก เมื่อคณะกรรมการพิจารณารายงานของเธอ พรอมกับซักถามเกี่ยวกับรายงานอยางละเอียด คณะกรรมการไดลงมติใหรายงานของเธอผานการพิจารณา ทำใหเธอไดรับปริญญาเอกจากผลงานชิ้นน�้เองปแอร และมารีไดทำการคนควาเกี่ยวกับเรเดียมตอไปเพื่อแยกธาตุเรเดียมออกจากแรพิทซเบลนดใหไดแตทั้งสองก็ตองพบกับอุปสรรคมากมาย ตั้งแตหองทดลองที่คับแคบ อีกทั้งเครื่องมือในการทดลองก็เกา และลาสมัย รวมถึงในขณะนั้น มารีไดใหกำเนิดบุตรสาวคนแรก ทำใหตองดูแลอยางใกลชิด และเปนการเพิ�มคาใชจายอีกดวย แตทั้งสองก็ยังคงพยายามแยกเรเดียมใหบริสุทธิ์ ซึ�งก็ยังมีโชคดีอยูบางที่ทางมหาวิทยาลัยปารีสไดอนุญาตใหทั้งสองใชหองหนึ�งที่อยูใกล ๆ กับหองทดลองเปนสถานที่แยกเรเดียมได

ตอมามหาวิทยาลัยปารีสไดอนุมัติเงินกอนหนึ�งใหกับมารี ในการจัดสรางสถาบันเรเดียม พรอมกับอุปกรณอันทันสมัย เพื่อทำการทดลองคนควาและแยกธาตุเรเดียม สำหรับประโยชนทางการแพทยตอไปจากการคนควาเกี่ยวกับธาตุเรเดียมอยางจริงจังในป ค.ศ.1911 มารีไดรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสอีกคร้ังหนึ�งจากผลงานการคนควาหาประโยชนจากเรเดียมเพิ�มเติม มารีไดออกแบบสถาบันแหงน�้ดวยตัวของเธอเอง สถาบันแหงน�้สรางเสร็จในป ค.ศ.1914 ถึงแมวาจะมีหองทดลองและอุปกรณที่ทันสมัยแลว แตก็มีเหตุที่ทำใหการทำงานตองหยุดชะงัก เพราะไดเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น ทำใหผูชวยและคนงานที่ทำงานในสถาบันเรเดียม ซึ�งสวนใหญเปนผูชายตองถูกเกณฑไปเปนทหาร เมื่อเปนเชนนั้นมารีจึงสมัครเขารวมกับอาสาสมัครเพื่อชวยเหลือทหารที่บาดเจ็บ อีกทั้งยังนำความรูไปใชในงานคร้ังน�ด้วย เธอจัดต้ังแผนกเอกซเรยเคล่ือนท่ีข้ึน เพ่ือตระเวนรักษาทหารท่ีบาดเจ็บตาม หนวยตาง ๆ มารีไดรักษาทหารท่ีบาดเจ็บดวยรังสีเอกซมากกวา 100,000 คน

MARIECURIE

Page 27: 12 Scientist Book

R A D I O A C T I V I T Yร ั งส ี ฆ � าม ะ เ ร ็ ง

ผลงานการศึกษาตลอดชีวิตของเธอเกี่ยวกับ RADIUM นั้นไดนำไปสูการฉายรังสีเพื่อรักษาโรคมะเร็ง นอกจากนั้นไดทำไปสูการสรางแบบจำลองอะดอม ERNEST RUTHERFORD

ซึ�งอาศัยอารยิงอนุภาคอัลฟาที่ไดมาจากการสลายของธาตุกัมมันตรังสี

Page 28: 12 Scientist Book

Mar 14, 1879– Apr 18,1955Germany

äÃŒªÔ鹧ҹÁÕà¾Õ§ÊÁ¡ÒáŒÍ§âÅ¡ไอนสไตนเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2498 ดวยโรคหัวใจไอนสไตนไดตีพิมพผลงานทางวิทยาศาสตรมากกวา 300 ชิ้น และงานอื่นที่ไมใชวิทยาศาสตรอีกกวา 150 ชิ้น ป พ.ศ. 2542 นิตยสารไทมส ยกยองใหเขาเปน "บุรุษแหงศตวรรษ" ผูเขียนชีวประวัติของเขาเอยถึงเขาวา "สำหรับความหมายในทางวิทยาศาสตร และตอมาเปนความหมายตอสาธารณะ ไอนสไตน มีความหมายเดียวกันกับ อัจฉริยะ

อัลเบิรต ไอนสไตน (ALBERT EINSTEIN ) เปนนักฟสิกสทฤษฎีชาวเยอรมันเชื้อสายยิวที่มีสัญชาติสวิสและอเมริกัน (ตามลำดับ)ซึ�งเปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวางวาเปนนักวิทยาศาสตรที่ยิ�งใหญที่สุดในคริสตศตวรรษที่ 20 เขาเปนผูเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีสวนรวมในการพัฒนากลศาสตรควอนตัม สถิติกลศาสตร และจักรวาลวิทยา เขาไดรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสในป พ.ศ. 2464 จากการอธิบายปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก และจาก "การทำประโยชนแกฟสิกสทฤษฎี" หลังจากที่ไอนสไตนคนพบทฤษฎีสัมพัทธภาพทั�วไป ในป พ.ศ. 2458 เขาก็กลายเปนผูที่มีชื่อเสียงซึ�งเปนเรื่องที่ไมคอยธรรมดานักสำหรับนักวิทยาศาสตรคนหนึ�ง ในปตอ ๆ มาชื่อเสียงของเขาไดขยายออกไปมากกวานักวิทยาศาสตรคนอื่น ๆ ในประวัติศาสตร ไอนสไตน ไดกลายมาเปนแบบอยางของความฉลาดหรืออัจฉริยะ ความนิยมในตัวของเขาทำใหมีการใชชื่อไอนสไตนในการโฆษณา หรือแมแตการจดทะเบียนชื่อ "อัลเบิรต ไอนสไตน" ใหเปนเครื่องหมายการคา ตัวไอนสไตนเองมีความระลึกถึงผลกระทบทางสังคม ซึ�งมีผลมาจากการคนพบทางวิทยาศาสตรอยางลึกซ้ึง ในฐานะท่ีเขาไดเปนปูชน�ยบุคคลแหงความบรรลุทางปญญา เขายังคงถูกยกยองใหเปนนักฟสิกสทฤษฎีที่มีอิทธิพลตอวิทยาศาสตรที่สุดในยุคปจจุบัน ทุกการสรางสรรคของเขายังคงเปนที่เคารพนับถือ ทั้งในความเชื่อในความสงา ความงาม และความรูแจงเห็นจริงในจักรวาล (คือแหลงเสริมสรางแรงบันดาลใจในวิทยาศาสตรใหแกนักวิทยาศาสตรสวนใหญ) เปนสูงสุดความชาญฉลาดเชิงโครงสรางของเขาแสดงใหเห็นถึงองคประกอบของจักรวาล ซึ�งงานเหลาน�้ถูกนำเสนอผานผลงานและหลักปรัชญาของเขา ในทุกวันน�้ ไอนสไตนยังคงเปนที่รูจักดีในฐานะนักวิทยาศาสตรที่โดงดังที่สุด ทั้งในวงการวิทยาศาสตรและนอกวงการ

Page 29: 12 Scientist Book

T H E O R Y O F R E L A T I V I T Yทฤษฎ ี ส ั มพ ั ทธภาพ

EINSTEUN อัจฉริยะผูยิ�งใหญ กับทฤษฎีสัมพัทธภาพของเขาเปนการขยายกฎของนิวตัน การเปลี่ยนวิธีการที่นักวิทยาศาสตรมองเน�้อที่ กับเวลา พลังงานและความโนมถวง เขากลาววา

มวลกับพลังงานมีความสัมพันธกันอยางลึกซึ้ง และอีกไมนาน ระเบิดปรมาณู สองลูกก็ไดถูกหยอนลงในประเทศญี่ปุน

äÃŒªÔ鹧ҹÁÕà¾Õ§ÊÁ¡ÒáŒÍ§âÅ¡

Page 30: 12 Scientist Book

- คนที่ไม�เคยทำผิดพลาดเลย คือคนที่ไม�เคยลองทำอะไรใหม� ๆ

- คนทุกคนควรได�รับการเคารพในความเป�นตัวตนของเขา แต�ไม�มีใครควรได�รับการนับหน�าถือตามากกว�าคนอื่น

- จงอย�าพยายามเป�นคนแห�งความสำเร็จ แต�จงพยายามเป�นคนที่มีคุณค�าดีกว�า

- จงเร�ยนรู�จากอดีต มีชีว�ตเพ�่อวันนี้ และมีความหวังเพ�่อวันพรุ�งนี้ แต�สิ�งที่สำคัญที่สุด คือต�องอย�าหยุดตั้งคำถาม

- ชีว�ตที่ทำเพ�่อคนอื่นเท�านั้น ที่มีคุณค�าต�อการมีชีว�ต

- ตรรกะจะพาคุณเดินทางจากจ�ด A ไปจ�ด B ได� แต�จ�นตนาการจะพาคุณเดินทางไปได�ทุกที่

- ประสบการณ� คือแหล�งความรู�เพ�ยงแหล�งเดียวเท�านั้น

- ชีว�ตเหมือนการป��นจักรยาน คุณจะต�องป��นมันอย�างต�อเนื่อง มันถึงจะทรงตัวได�

Page 31: 12 Scientist Book

- ไม�มีอะไรเกิดข�้นได� โดยปราศจากการเร��มต�น

- ชายใดที่สามารถขับรถได�อย�างปลอดภัย ขณะที่จ�บหญิงสาวไปด�วยนั้น แสดงว�าเขาไม�ได� ใส�ใจกับการจ�บอย�างที่ควรจะเป�น

- เมื่อเรายอมรับในข�อจำกัดของตัวเอง แสดงว�าเราได�ก�าวล�วงข�อจำกัดนั้นไปแล�ว

- ความลับของการสร�างสรรค� คือการรู�ว�ธีซ�อนที่มาของความคิดนั้นไว�อย�างแนบเนียน

- คุณไม�อาจโทษแรงดึงดูดของโลกได� เมื่อคุณตกหลุมรักใครสักคน

- มีแต�คนบ�าเท�านั้น ที่จะทำสิ�งเดิมซ้ำ ๆ แต�กลับหวังผลลัพธ�ที่แตกต�าง

- โลกใบนี้ไม�ได�น�ากลัวเพราะคนที่ก�ออันตรายกับโลก แต�มันน�ากลัวเพราะคนที่มองดูมันโดยไม�คิดจะทำอะไร เลยต�างหาก

- ทัศนคติที่อ�อนแอ นำมาซึ่งนิสัยที่อ�อนแอ

- คนที่ไม�เคยทำผิดพลาดเลย คือคนที่ไม�เคยลองทำอะไรใหม� ๆ

- คนทุกคนควรได�รับการเคารพในความเป�นตัวตนของเขา แต�ไม�มีใครควรได�รับการนับหน�าถือตามากกว�าคนอื่น

- จงอย�าพยายามเป�นคนแห�งความสำเร็จ แต�จงพยายามเป�นคนที่มีคุณค�าดีกว�า

- จงเร�ยนรู�จากอดีต มีชีว�ตเพ�่อวันนี้ และมีความหวังเพ�่อวันพรุ�งนี้ แต�สิ�งที่สำคัญที่สุด คือต�องอย�าหยุดตั้งคำถาม

- ชีว�ตที่ทำเพ�่อคนอื่นเท�านั้น ที่มีคุณค�าต�อการมีชีว�ต

- ตรรกะจะพาคุณเดินทางจากจ�ด A ไปจ�ด B ได� แต�จ�นตนาการจะพาคุณเดินทางไปได�ทุกที่

- ประสบการณ� คือแหล�งความรู�เพ�ยงแหล�งเดียวเท�านั้น

- ชีว�ตเหมือนการป��นจักรยาน คุณจะต�องป��นมันอย�างต�อเนื่อง มันถึงจะทรงตัวได�

Page 32: 12 Scientist Book
Page 33: 12 Scientist Book

----

----

----

---

Ein

stei

n Q

UO

TE

----

----

----

---

----

----

- k

usha

ndw

izdo

m.tu

mbl

r.com

--

----

---

เพราะความรู�นั้นมีจำกัด

แต�จ�นตนาการมีอยู�ทุกพ�้นที่บนโลก

Page 34: 12 Scientist Book
Page 35: 12 Scientist Book

Chalermkun Pitukchitarun

by

WHAT IF

No.17 ID 1530801974

Section 4425 Bangkok U.

Page 36: 12 Scientist Book