12
Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center. 106 Implicit Association Test: New Method Of Measuring Attitudes Towards Thai Political Groups* Sumalai Phuangket Assoc. Prof. Dr. Theeraporn Uwanno Abstract The attitude construct has been described as the "most indispensable concept in social psychology" (Allport, 1935, p.798). For many years, psychologists have tried to measure attitudes in an attempt to understand, control, or predict human behavior. Most often, they have done so using self-report. However, psychologists have long suspected the existence of thoughts and feelings that are not accessible by simply asking a person to report those (McConnell & Leibold, 2001). It may be that people are unwilling to report what they think and feel. More recently, there has been a growing interest in new types of measures, often denoted as "implicit" measures. One such measure is the Implicit Association Test (IAT; Greenwald, McGhee, & Schwartz, 1998). The IAT use reaction times to measure the strength of association between target concepts and attribute dimensions. In this study the Inquisit IAT computer program (Inquisit 3.0.3.1, 2008) was created to measure attitudes toward Thai political groups. The category concepts were represented with twelve black and white pictures of either leaders of People's Alliance for Democracy also known as the yellow shirts and United Front for Democracy against Dictatorship also known as the red shirts. The attributes were “6 positive words” and “6 negative words”. The program measured the strength of association between category pictures and evaluative words by recording the response speed in pairing the followings: 1) yellow shirt leader's pictures paired with positive and negative words compared to 2) red shirt leader's pictures paired with positive and negative words. The more closely associated, the more rapidly participants should respond. One hundred and eighty nine students from Chulalongkorn University completed the IAT measure. Results suggest that the political group preferences as measured by the IAT are valid and useful. Implications of these results for the IAT measures of attitudes toward political groups are discussed. Keywords: Political Attitudes Measurement, Implicit Attitudes, Implicit Association Test __________________________________________________________________________________________________ * This research paper is a part of the first author’s master’s thesis in Social Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University. The second author is the thesis advisor.

13 สุมาลัย 106-117

Embed Size (px)

DESCRIPTION

This research paper is a part of the first author’s master’s thesis in Social Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University. The second author is the thesis advisor. __________________________________________________________________________________________________ 106 Keywords: Political Attitudes Measurement, Implicit Attitudes, Implicit Association Test Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center. *

Citation preview

Page 1: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

106

Implicit Association Test: New Method Of Measuring Attitudes Towards Thai Political Groups*

Sumalai Phuangket Assoc. Prof. Dr. Theeraporn Uwanno

Abstract

The attitude construct has been described as the "most indispensable concept in social psychology" (Allport, 1935, p.798). For many years, psychologists have tried to measure attitudes in an attempt to understand, control, or predict human behavior. Most often, they have done so using self-report. However, psychologists have long suspected the existence of thoughts and feelings that are not accessible by simply asking a person to report those (McConnell & Leibold, 2001). It may be that people are unwilling to report what they think and feel. More recently, there has been a growing interest in new types of measures, often denoted as "implicit" measures. One such measure is the Implicit Association Test (IAT; Greenwald, McGhee, & Schwartz, 1998). The IAT use reaction times to measure the strength of association between target concepts and attribute dimensions. In this study the Inquisit IAT computer program (Inquisit 3.0.3.1, 2008) was created to measure attitudes toward Thai political groups. The category concepts were represented with twelve black and white pictures of either leaders of People's Alliance for Democracy also known as the yellow shirts and United Front for Democracy against Dictatorship also known as the red shirts. The attributes were “6 positive words” and “6 negative words”. The program measured the strength of association between category pictures and evaluative words by recording the response speed in pairing the followings: 1) yellow shirt leader's pictures paired with positive and negative words compared to 2) red shirt leader's pictures paired with positive and negative words. The more closely associated, the more rapidly participants should respond. One hundred and eighty nine students from Chulalongkorn University completed the IAT measure. Results suggest that the political group preferences as measured by the IAT are valid and useful. Implications of these results for the IAT measures of attitudes toward political groups are discussed.

Keywords: Political Attitudes Measurement, Implicit Attitudes, Implicit Association Test

__________________________________________________________________________________________________ * This research paper is a part of the first author’s master’s thesis in Social Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University. The second author is the thesis advisor.

Page 2: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

107

การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนยั :

วิธีวัดเจตคติตอกลุมทางการเมืองไทยแบบใหม*

สุมาลัย พวงเกตุ รศ. ดร. ธีระพร อุวรรณโณ คณะจติวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทคัดยอ เปนเวลากวา 70 ปมาแลวที่ภาวะสันนิษฐานของเจตคติไดรับการกลาวถึงในฐานะที่เปนมโนทัศนที่จําเปนที่สุดในวิชาจิตวิทยาสังคม (Allport, 1935, p.798) และหลายปที่ผานมานักจิตวิทยาจํานวนมากใหความสนใจวัดเจตคติเพื่อพยายามทําความเขาใจ ควบคุม และทํานายพฤติกรรมของมนุษย การวัดเจตคตินั้นสวนมากพึ่งพาการใชแบบรายงานตนเอง แตนักจิตวิทยากลุมหนึ่งกลับไมเชื่อวาบุคคลจะสามารถตอบคําถามถึงความรูสึกและเจตคติดวยแบบสอบถามไดอยางแมนยํา (McConnell & Leibold, 2001) หรือบางครั้งอาจจะไมเต็มใจที่จะรายงานความรูสึกนึกคิดออกมา ในชวงไมนานมานี้ การศึกษาเจตคติไดขยายความสนใจไปยังประเภทของการวัดเจตคติแบบใหม เรียกวา “การวัดโดยนัย” วิธีการวัดโดยนัยที่เปนที่รูจักมากประเภทหนึ่งคือ การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย (Implicit Association Test : IAT; Greenwald, McGhee, & Schwartz, 1998) เคร่ืองมือวัดประเภทนี้ทดสอบผานเคร่ืองคอมพิวเตอรดวยการวัดระยะเวลาที่ผูตอบใชในการตอบสนองตอการเชื่อมโยงระหวางมโนทัศนของที่หมายของเจตคติกับมิติที่เปนลักษณะ การศึกษาคร้ังนี้พัฒนาการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยใหทํางานในโปรแกรมอินควิสิท (Inquisit 3.0.3.1, 2008) ในเคร่ืองคอมพิวเตอรเพื่อวัดเจตคติตอกลุมทางการเมืองในประเทศไทย โดยมีมโนทัศนสองหมวดหมูหลัก คือ กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ “กลุมคนเส้ือเหลือง” และกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ หรือ “กลุมคนเส้ือแดง” ซ่ึงใชรูปภาพขาวดําของแกนนําแตละกลุมเพื่อเปนตัวแทนของหมวดหมูจํานวน 12 รูป สวนมโนทัศนของลักษณะใชคําที่มีความหมายทางบวก 6 คํา และคําที่มีความหมายทางลบ 6 คํา ผูวิจัยวัดระดับความเขมขนของการเชื่อมโยงระหวางหมวดหมูของรูปภาพและคําที่ใชประเมินดวยการเปรียบเทียบความแตกตางของความเร็วที่ผูตอบใชในการจับคู 2 ลักษณะ คือ 1) เม่ือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองจับคูกับคําทางบวกหรือคําทางลบ และ 2) เม่ือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงจับคูกับคําทางบวกหรือคําทางลบ ย่ิงผูตอบใชเวลาจับคูแบบใดนอยกวา (ตอบไดอยางรวดเร็ว) ก็สามารถอนุมานไดวาผูตอบมีเจตคติในทิศทางนั้นตอกลุมทางการเมืองนั้นๆ ย่ิงใชเวลาจับคูสองลักษณะแตกตางกันมากยอมมีขนาดของการเชื่อมโยงเขมขนมาก การศึกษาคร้ังนี้ศึกษานิสิตจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จํานวน 189 คน ผลการทดสอบพบวาการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยที่พัฒนาข้ึนมีประโยชนและสามารถวัดความนิยมตอกลุมทางการเมืองของนิสิตได การอภิปรายผลที่ไดจากการวัด เจตคติตอกลุมทางการเมืองดวยการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยจะกลาวโดยละเอียดดวย คําสําคัญ: การวัดเจตคติตอกลุมทางการเมือง เจตคติโดยนัย การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย

__________________________________________________________________________________________________ * บทความวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของวิทยานพินธปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม คณะจิตวทิยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยของผูเขียนคนที่ 1 โดยมีผูเขียนคนที่ 2 เปนอาจารยทีป่รึกษา

Page 3: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

108

บทนํา เปนเวลากวา 70 ปมาแลวที่กอรดอน อัลพอรต

นักจิตวิทยาบุคลิกภาพและจิตวิทยาสังคมไดเขียนประวัติความเปนมาของเจตคติเอาไวในป ค.ศ. 1935 (Allport, 1935) ความตอเนื่องยาวนานสะทอนใหเห็นวางานวิชาการดานเจตคติไดรับความสนใจและมีความสําคัญอยางย่ิงตอการทําความเขาใจพฤติกรรมทางสังคม ธีระพร อุวรรณโณ (2546) กลาวถึงความสําคัญของ เจตคติวา เปนมโนทัศนที่ เปนทางลัดสําหรับทําใหนักวิชาการทราบส่ิงอื่นไดอีกหลายส่ิง นั่นคือ เจตคติเพียงเร่ืองเดียวสามารถสรุปรวมพฤติกรรมหลายพฤติกรรมเขาดวยกันได เจตคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรม อาจใชเปนสวนประกอบในการทํานายพฤติกรรมได และเจตคติเปนเร่ืองที่นักจิตวิทยาหลายสาขาใหความสนใจ รวมถึงนักวิชาการและบุคคลในอาชีพอื่นอีกดวย เชน นักโฆษณาประชาสัมพันธ นักการตลาด นักรัฐศาสตร นักสังคมวิทยาบางสาขา นักการศึกษา และนักโฆษณาชวนเชื่อ

ในยุคแรกของการวัดเจตคตินั้นจะเนนการวัดดวยการขอใหผูตอบแสดงเจตคติออกมาเปนวาจา ถอยคํา หรือภาษาเขียน เพื่อแสดงจุดยืนวามีความคิดเห็นตอที่หมายของเจตคติ (attitude object) อยางไร โดยมีขอสันนิษฐานวา คนที่รูจักตัวเราดีที่สุดก็คือตัวเราเอง และตัวเรายอมสามารถรายงานความรูสึกนึกคิดของตนเองออกมาไดตามความเปนจริง หรืออยางนอยก็แมนยํากวาวิธีอื่นๆ (ทิพยนภา หวนสุริยา & ธีระพร อุวรรณโณ, 2548) Dasgupta (2009) เรียกการประเมินส่ิงตางๆของบุคคล โดยที่บุคคลนั้นมีความตระหนักรูตัว และสามารถแสดงความรู สึกออกมาไดวา “การประเมินเจตคติโดยตรง (explicit attitudes)” เพราะเม่ือขอใหบุคคลแสดงความรูสึกตอส่ิงใด เขาจะสามารถรายงานความคิดออกมาไดดวยการไตรตรองกอนอยางรอบคอบ จากฐานการคิดลักษณะนี้จึงทําใหนักวิจัยสวนมากพ่ึงพาการวัดเจตคติดวยวิธีการรายงานตนเอง (self-report) ไมวาจะดวยวิธีการใหตอบดวยแบบสอบถาม หรือการสัมภาษณเพื่อใหผูตอบบรรยายความรูสึกของตนเองออกมาเปนคําพูดก็ตาม

McConnell และ Leibold (2001) เสนอวาขอมูลที่ไดจากการวัดเจตคติดวยแบบสอบถามอาจมีขอจํากัดอันเนื่องมาจากปญหาความจํากัดที่บุคคลจะสามารถประเมินตนเองได (limited introspective access) อาจเกิดจากปฏิกิ ริ ย าของผู ควบคุมการ วิ จั ยที่ ส งผลตอผู ตอบ (experimenter effects) และอาจเกิดการบิดเบือนคําตอบเพื่อใหสอดคลองกับความคาดหวังทางสังคมเพื่อทําใหตนเองดูดีข้ึน (social desirability) จนเกิดการต้ังคําถามข้ึนวาการวัดเจตคติโดยตรงสามารถสะทอนเจตคติที่แทจริงไดหรือไม บุคคลรูจักตนเองไดดีที่สุดและสามารถแสดงความรูสึกนึกคิดไดอยางตรงไปตรงมาจริงหรือไม

อยางไรก็ตาม ในชวงกวา 20 ปที่ผานมา นักจิต- วิทยาสังคมกลุมหนึ่งมีแนวคิดวาเจตคติ ความเช่ือ และพฤติกรรมของมนุษยนั้นถูกกอราง (shaped) ข้ึนมาจากปจจัยที่อยูนอกการรับรูและไมสามารถทําความเขาใจไดดวยการใหผูตอบหย่ังคิดเอาเองไดดังเชนการศึกษาเจคติที่ผานมา นักจิตวิทยาสังคมกลุมนี้คนพบวาเจตคติและความเชื่อสามารถถูกกระตุนข้ึนมาไดจากความจําของบุคคลโดยที่บุคคลนั้นไมตองรับรูหรือใหความใสใจเลย เ ม่ือใดก็ตามที่ เจตคติถูกกระตุนข้ึนมาจะยับย้ังและควบคุมไดยาก จนมีอานุภาพเพียงพอที่ทําใหเกิดแนวโนมที่บุคคลจะประเมินและแสดงออกอยางสอดคลองกัน (Bargh,1994; Greenwald & Banaji, 1995) จากฐานการคิดลักษณะนี้เองทําใหเกิดแนวคิดเพื่อพัฒนาเคร่ืองมือรูปแบบใหมเพื่อวัดเจตคติที่ซอนอยูอยางไมรูตัว เกิดข้ึนอยางอัตโนมัติ และทําหนาที่ไดโดยปราศจากการรูตัวหรือความสามารถที่จะควบคุมไดของบุคคล โดยเรียกการวัดเจตคติลักษณะนี้วา “การวัดเจตคติโดยนัย (implicit attitudes)” (Greenwald & Banaji, 1995)

วิธีการวัดที่ เปนที่ รู จักอยางแพรหลายและถูกนํามาใชอยางกวางขวาง คือ การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย (Implicit Association Test: IAT) พัฒนาข้ึนโดย Greenwald และคณะ (1998) การวัดวิธีนี้ถูกนําไปประยุกตในการวัดเจตคติไดหลากหลายประเด็น รวมถึงถูกนําไปใชในศาสตรดานอื่นๆ ที่นอกเหนือจากจิตวิทยาดวย จนทําใหการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยเปนเคร่ืองมือวัดเจตคติโดยนัยที่ถูกอางอิงมากที่ สุดในปจจุบันก็วาได

Rumelhart, Hinton, และ McClelland (1986, อางถึงใน Oskamp & Schultz, 2005) กลาววา งานวิจัยทางดานเจตคติโดยนัยมีพื้นฐานเกือบทั้งหมดมาจากจิตวิทยาปญญา (cognitive psychology) ที่วิเคราะหถึงการทํางานของโครงสรางของจิตในมนุษย กระบวนการเก็บและประมวลผลขอมูล ตลอดจนวิเคราะหถึงมโน-ทัศนของเครือขายความสัมพันธ (associative networks) หลักการทํางานของหนวยประมวลผลพื้นฐาน (nodes) การเชื่อมโยงความสัมพันธ (associations) และการเกิดการกระตุน (activation) ลวนเปนหัวใจหลักของจิตวิทยาปญญา ภายหลังจึงถูกนํามาใชรวมกับแนวคิดปญญาทางสังคม (social cognition) เพื่ออธิบายถึงวิธีการคิดของบุคคลที่มีตอตนเอง ตอผูอื่น หรือตอสถานการณตางๆ

กลาวโดยละเอียด คือ มโนทัศนของเครือขายความสัมพันธห รือ เค รือข ายทางประสาท ( neural networks) มองวากระบวนการทํางานของความจําของมนุษยทํางานเปนเครือขายเชื่อมโยงถึงกันและกันของหนวยประมวลผลพื้นฐาน (nodes) (พิจารณารูปวงกลมตางๆ จากภาพ 1) ซ่ึงเปนไดทั้งคน ส่ิงของ ลักษณะ มโน-ทัศน และการประเมินตางๆ หนวยประมวลผลพื้นฐานเหลานี้จะทํางานแตกตางกันไปข้ึนอยูกับระดับการถูกกระตุน (activation) โดยมีตัวเชื่อมตอ (links) (จากภาพ 1

Page 4: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

109

คือ เสนที่เชื่อมโยงวงกลมเขาดวยกัน) คอยเชื่อมโยงใหหนวยประมวลผลพ้ืนฐานเหลานี้เชื่อมโยงถึงกัน เม่ือหนวยประมวลผลพื้นฐานตัวหนึ่งถูกกระตุนข้ึนจะสามารถแผขยายไปยังหนวยอื่นๆที่สัมพันธกันภายในเครือขายความสัมพันธได

ตัวอยางเชน เครือขายความเชื่อมโยงท่ีเกี่ยวของกับสุนัขที่ สัมพันธกับความคิดเกี่ ยวกับสัตว เลี้ ยง ซ่ึงมีความสัมพันธเชิงระดับลดหลั่นมาเปนประเภทของสัตวเลี้ยงตางๆ (นก แมว และสุนัข) และสุนัขก็สัมพันธกับชนิดของสุนัขแตละพันธุ (พันธุพุดเดิ้ล พันธุลาบราดอร และพันธุพัก) นอกจากนี้ สัตวเลี้ยงแตละประเภทยังสัมพันธกับลักษณะบางประการ เชน สุนัขเปนสัตวเลี้ยงที่เหา และกัดได (ลักษณะดานลบ) แตยังเปนสัตวเลี้ยงที่มีความซ่ือสัตย (ลักษณะดานบวก) (ตามภาพ 1) บุคคลที่มีเจตคติที่ชื่นชอบสุนัขจะสามารถรวบรวมลักษณะทางบวกไดมากกวาและเขมขนกวา (เชน ซ่ือสัตย เปนที่รัก เปนเพื่อน ข้ีเลน และปกปองเจาของ) ในทางกลับกันคนที่มีเจตคติทางลบตอสุนัขก็จะสามารถคิดถึงลักษณะดานลบไดมากกวา (เชน เหา น้ําลายไหล กัด นารําคาญ ชอบขอ และไมเชื่อฟง) (Oskamp & Schultz, 2005)

Fazio และคณะ (1986) เปนนักจิตวิทยาสังคมกลุมแรกที่นําเอาแนวคิดโมเดลเครือขายความสัมพันธที่มีองคประกอบของหนวยประมวลผลพื้นฐาน (nodes) ความเชื่อมโยง (associations) และการเกิดการกระตุน (activation) มาประยุกตศึกษาในเร่ืองเจตคติ ในชวงระยะเวลานั้น พวกเขาเสนอวาควรมองเจตคติในฐานะท่ีเปนความสัมพันธของการประเมินของส่ิงตางๆ (object-evaluation association) เจตคติสามารถถูกกระตุนไดเม่ือชี้นํา (prime) ดวยหนวยประมวลผลพื้นฐาน (nodes) ตัวอยางเชน เม่ือบุคคลเห็นครอบครัวของคนเรรอนตามซอกมุมของถนนอาจจะกระตุนใหบุคคลเกิดเจตคติตอคนเรรอน หรือเจตคติตอนโยบายดานสวัสดิการข้ึน Fazio และคณะเชื่อวากระบวนที่เจตคติเกิดการกระตุนข้ึนนั้นเกิดข้ึนโดยใชความพยายามนอยที่สุด (effortless) และอยางหลีกเลี่ยงไมได (inescapable) เกิดข้ึนโดยไม

ตองไตรตรองจากสติ (without conscious reflection) โดยเรียกรวมวา “เปนกระบวนการที่เกิดข้ึนอยางอัตโนมัติ (automaticity)”

อยางไรก็ตาม Fazio และ Williams (1986) เชื่อวาไมใชทุกเครือขายความสัมพันธจะเชื่อมโยงอยางเขมขนไดอยางเทาๆกัน ฉะนั้น เจตคติบางอยางจึงเกิดการกระตุนไดงายกวาเจตคติอื่นๆ เขานิยามคําข้ึนมาใหมถึง“ความสามารถที่เขาถึงได (accessibility)” ซ่ึงหมายถึงระดับความเขมขนของความสัมพันธของการประเมินส่ิงตางๆ หากบุคคลมีระดับความสัมพันธที่เขมขนมาก ย่ิงมีความเปนไปไดมากที่การประเมินของบุคคลนั้นจะถูกกระตุนข้ึนไดทันทีเม่ือเขาตองเผชิญกับที่หมายของ เจตคตินั้น การที่จะวัดระดับการเขาถึงเจตคติไดจะตองวัดจากการซอนเรนอยูภายในของรูปแบบการตอบสนอง ซ่ึ งหมายถึ งความเ ร็วในการตอบสนอง ( response latency) (ซ่ึงสวนมากจะวัดดวยหนวยมิลลิวินาที) ที่ใชในการตัดสินนั่นเอง ระดับการเขาถึงเจตคติที่ตอบสนองไดอยางรวดเร็ว (ใชเวลานอยที่สุด) เปนส่ิงที่เชื่อมโยงหรือเรียกไปยังจิตไดเร็วที่สุด จึงสามารถสะทอนถึง เจตคติที่บุคคลมีอยูไดจริงมากกวาเจตคติที่ไมสามารถเขาถึงไดหรือเขาถึงไดชากวานั่นเอง

การทดสอบการ เชื่ อมโยงโดยนั ย (Implicit Association Test: IAT) พัฒนาโดย Greenwald และคณะ ( 1998) เ ป น วิ ธี ก า ร วั ด ร ะ ดั บ ค ว า ม เ ข ม ข น ข อ งความสัมพันธระหวางชุดความคิดหลัก (target concept) กับมิติที่เปนลักษณะ (attribute dimension) ดวยการพิจารณาชวงเวลาแฝงที่ผูตอบตอบสนองจากการตอบสนองสองรูปแบบ คือ เปาหมายที่ตองการวัดกับลักษณะทางบวก และเปาหมายที่ตองวัดกับลักษณะทางลบ ถาผูตอบสามารถตอบสนองไดรวดเร็วในเง่ือนไขใดรวดเร็วกวาอีกเง่ือนไขหนึ่ง นั่นแสดงวา ผูตอบมีการเชื่อมโยงชุดของความคิดนั้นได หรือการเชื่อมโยงกันนั้นสามารถเขาสูเจตคติไดงายกวา

ในการทดลองที่ 1 Greenwald และคณะ (1998) ตรวจสอบแนวคิดขางตนดวยการตอบเจตคติตอแมลงและตอดอกไม โดยใชการวัดความเร็วของการตอบการเชื่อมโยงโดยนัย ดวยการใหบุคคลจับคู คําที่อ ยูในหมวดหมูของแมลงหรือดอกไม (เชน ดอกกุหลาบ ดอกเดซ่ี มด แมลงวัน) กับคําที่แสดงลักษณะที่พึงประสงคและไมนาพึงประสงค (เชน ความสุข สันติภาพ นาเกลียด โศกเศรา) ตามข้ันตอนการทดสอบในตาราง 1 นําเวลาเฉลี่ยที่ผู เขารวมการทดลองใชในการตอบสนองในข้ันตอนที่ 5 และข้ันตอนที่ 3 มาลบกันจะไดผลลัพธ คือ ขนาดความเขมขนของการเชื่อมโยงโดยนัย (IAT effect)

จากการทดลอง หากผูเขารวมการทดลองใชเวลาในการตอบสนองในข้ันตอนที่ 3 นอยกวาข้ันตอนที่ 5 ผูเขารวมการทดลองก็จะมีคะแนนเปนบวก แสดงวาผู เขารวมการทดลองเช่ือมโยงดอกไมกับคําที่นาพึงประสงค แมลงกับคําที่ไมนาพึงประสงค ไดเร็วกวาการ

ภาพ 1 แนวคิดเครือขายความสัมพันธ (Associative networks)(ดัดแปลงจาก (Oskamp & Schultz,2005)

Page 5: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

110

เชื่อมโยงในทางตรงกันขาม ย่ิงใชเวลาในข้ันตอนที่ 3 นอยกวาข้ันตอนที่ 5 เทาใด ก็สามารถอนุมานไดวาผูเขารวมการทดลองมีเจตคติทางบวกตอดอกไมมากกวาแมลงเขมขนมากเทานั้น

ในทางตรงกันขาม หากผูเขารวมการทดลองใชเวลาในการตอบสนองในข้ันตอนที่ 5 นอยกวาข้ันตอนที่ 3 ผูเขารวมการทดลองก็จะมีคะแนนเปนลบ แสดงวาผูเขารวมการทดลองเชื่อมโยงดอกไมกับคําที่ไมนาพึงประสงค และแมลงกับคําที่พึงประสงค ไดเร็วกวาการเชื่อมโยงในทางตรงกันขาม ย่ิงใชเวลาในข้ันตอนที่ 5 นอยกวาข้ันตอนที่ 3 เทาใด ก็สามารถอนุมานไดวาผูเขารวมการทดลองมีเจตคติทางบวกตอแมลงมากกวาดอกไมเขมขนมากเทานั้น

เ ม่ื อนํ า ก า รทดสอบข า งต น ไปทดสอบ กับผูเชี่ยวชาญดานแมลง (Entomologist) เพื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุม (ใชเทคนิคการหาความตรงของแบบทดสอบดวยการตรวจสอบกับกลุมที่รูจักลักษณะอยูแลว - a known groups validation approach) Citrin และ Greenwald (1998 อางถึงใน Lane et al., 2007) พบความชื่นชอบตอดอกไม (มากกวาแมลง) ในระดับที่เขมขนนอยลง การวัดระดับความเขมขนของความช่ืนชอบการเชื่อมโยงโดยนัยจึงนาจะสามารถทํานายพฤติกรรมอื่นๆได กลาวคือ ในบุคคลที่มีคะแนนความชื่นชอบแมลงมากกว าดอกไม น าจะใช เวลาในการศึกษา หรือแสดงออกในทิศทางที่ชื่นชอบแมลงมากกวา เชน ใหอาหาร รักษาชีวิตของแมลง ความแตกตางระหวางบุคคลที่วัดไดเชนนี้จึงมีประโยชนในการวัดและทําความเขาใจปญญาทางสังคมโดยนัยไดมากข้ึน

วิธีการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยถูกนํามาใชในประเทศไทยเปนคร้ังแรกในป พ.ศ.2548 เพื่อวัดเจตคติและปญญาทางสังคมของบุคคล เ ม่ือใชประยุกตใน

สถานการณกลุมที่มีองคประกอบความเปนกลุมนอยที่สุด เพื่อประเมินความลําเอียงของบุคคลที่มีความชื่นชอบกลุมตนเองมากกวากลุมอื่นที่ตนเองไมได เปนสมาชิก (ทิพยนภา หวนสุริยา และธีระพร อุวรรณโณ, 2548) ตอมาการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยก็นํามาใชในบริบทของการศึกษาการเห็นคุณคาแหงตนในบุคคลที่มีบุคลิกภาพแบบหลงตนเอง (หยกฟา อิศรานนท, 2551) นับไดวาสังคมไทยมีการตอบสนองตอวิธีการวัดแบบนี้ในระดับหนึ่ง แตอยางไรก็ตามงานวิจัยทั้งสองเรื่องนี้ยังไมไดนําวิธีการทดสอบนี้ไปใชในเชิงประยุกตเทาใดนัก เปนการกําหนดเง่ือนไขจําลองสถานการณข้ึนมา ผูวิจัยจึงสนใจที่จะนําเอาวิธีการวัดนี้ไปใชในการวัดเจตคติของบุคคลที่ มีตอกลุมทางการเมืองไทย (กลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ หรือ “กลุมคนเส้ือแดง” และกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ “กลุมคนเส้ือเหลือง”) ซ่ึงเปนประเด็นทางสังคมที่สําคัญ ยังอยูในกระแสความสนใจของคนไทย และเปนเร่ืองที่คอนขางละเอียดออนและเปราะบาง หากใชการวัดเจตคติโดยตรงเพียงอยางเดียวมาวัดเจตคติตอกลุมทางการเมืองของไทยขณะนี้ อาจไดผลตรงกับเจตคติที่เปนจริงนอย การทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยจึงมีบทบาทสํา คัญ ที่ จะชวยสะทอนเจตคติของคนในเรื่ อ งที่ละเอียดออนเชนนี้ได นอกจากวิธีการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยจะเปนการวัดรูปแบบใหมที่สามารถวัดความลําเอียงชื่นชอบของบุคคลตอกลุมทางการเมืองไดอยางแยบยล โดยที่บุคคลไมสามารถลวงคําตอบไดแลว ยังสามารถพัฒนาไปใชไดตอในเชิงประยุกตเพื่อเพิ่มพูนองคความรูเร่ืองเจตคติของคนไทยตอการเมืองไทยหรือประเด็นทางสังคมอื่นๆไดมากข้ึน

ตารางท่ี 1 ลําดับข้ันตอนการทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยของ Greenwald และคณะ (1998)  

วัตถุประสงค มุงพัฒนาเคร่ืองมือการทดสอบการเชื่อมโยง

โดยนัย เพื่อนําไปวัดเจตคติของบุคคลในเร่ืองที่เกี่ยวของกับการเมืองไทย นั่นคือ ชื่นชอบกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ “กลุมคนเส้ือเหลือง” และกลุม

แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) หรือ “กลุมคนเส้ือแดง”

ข้ันตอน กดแปนอักษร D ดานซายมือ กดแปนอักษร K ดานขวามือ รอบของการทดสอบ

1 ดอกไม แมลง 20 รอบ 2 คําที่พึงประสงค คําที่ไมนาพึงประสงค 20 รอบ 3 ดอกไม/คําที่พึงประสงค แมลง/คําทีไ่มนาพึงประสงค ฝกฝน 20 รอบ ทดลองจริง 40 รอบ 4 แมลง ดอกไม 20 รอบ 5 แมลง/คําทีพ่ึงประสงค ดอกไม/คําที่ไมนาพึงประสงค ฝกฝน 20 รอบ ทดลองจริง 40 รอบ

Page 6: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

111

วิธีดําเนินการวิจัย กลุมตัวอยาง

นิสิตระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ลงทะเบียนวิชา 3800101 จิตวิทยาทั่วไป ภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา 2553 จํานวน 189 คน

ตัวแปรท่ีใชในการวิจัย ตัวแปรอิสระ

การเชื่อมโยงระหวางหมวดหมูของรูปภาพและคําที่ใชประเมิน 2 รูปแบบ คือ

1. การเชื่อมโยงรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางบวก (หรือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางลบ)

2. การเชื่อมโยงรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวก (หรือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบ) ตัวแปรตาม

คะแนนเจตคติตอกลุมทางการเมืองที่วัดโดยนัยดวยแบบทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย ซ่ึงเปนเวลาเฉลี่ยที่กลุมตัวอยาง ตอบสนอง 2 รูปแบบ คือ

1. ในรอบท่ีรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองจับคูกับคําทางลบ (หรือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวก)

2. ในรอบที่รูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงจับคูกับคําทางบวก (หรือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบ) สมมติฐานในการวิจัย

กลุมตัวอยางใชเวลาในการเช่ือมโยงรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางบวกดวยการกดปุมเดียวกัน แตกตางจากรอบที่เชื่อมโยงรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวกดวยการกดปุมเดียวกัน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

ผูวิจัยสรางแบบทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยข้ึน โดยใชโปรแกรมอินควิสิท (Inquisit) เวอรชั่น 3.0.3.1 (Inquisit, 2008) ซ่ึงเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สามารถนําเสนอส่ิงเราและบันทึกระยะเวลาทุกๆรอบของการตอบสนองเปนหนวยมิลลิวินาทีได ทั้งนี้ไดนําเคาโครงภาษาโปรแกรมจาก Greenwald (2007) มาดัดแปลงสรางแบบทดสอบที่ใชภาษาไทย ประกอบดวยบลอกที่ใชทดสอบจํานวน 7 บลอก ผูวิจัยใชส่ิงเราในการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยที่คัดเลือกมาจากการประเมินของกลุมตัวอยางจํานวน 26 คน โดยมีหมวดหมูของเปาหมายการวัดเปนรูปภาพขาวดําของแกนนํากลุมทางการเมืองจํานวน 12 รูป นั่นคือ รูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดง ประกอบดวย นายจตุพร พรหมพัน ธุ 2 รูป นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ 2 รูป และนายแพทยเหวง โตจิราการ 2 รู ป รู ป ภ า พ แ กนนํ า ข อ ง ก ลุ ม ค น เ ส้ื อ เ ห ลื อ ง ประกอบดวย พลตรีจําลอง ศรีเมือง 2 รูป นายสนธิ ลิ้มทองกุล 2 รูป และนายสมศักดิ์ โกศัยสุข 2 รูป สวนคําที่แสดงลักษณะ 12 คํา คือ คําที่มีความหมายทางบวก

ประกอบดวย สันติภาพ มีความสุข ดี เ ย่ียม รุงเ รือง สนุกสนาน และซ่ือสัตย และคําที่มีความหมายทางลบ ประกอบดวย สงคราม ลมเหลว ทรมาน ทุจริต หายนะ และฆาตกรรม

การทดสอบครั้ งนี้ออกแบบใหผู เข ารวมการทดสอบตอบสนองในการทดสอบบลอกตางๆ ดวยการกดแปนคียบอรด การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยคร้ังนี้ใชคอมพิวเตอรทั้งหมด 4 เคร่ืองที่มีคุณสมบัติของการทํางานที่ใกลเคียงกัน จัดต้ังใหหางกันอยางนอย 1.5 เมตร นอกจากนี้ยังจัดใหผูเขารวมการทดสอบน่ังอยูบนเกาอี้ที่วางใหหางจากคอมพิวเตอรประมาณ 50 เซนติเมตร

ข้ั นตอนการทดสอบการ เชื่ อมโยงโดยนั ย ประกอบดวยบลอกสําหรับการทดสอบท้ังหมด 7 บลอก ในการทดสอบแตละบลอก รูปภาพและคําที่เปนส่ิงเราปรากฏข้ึนทีละภาพแบบสุม ผูเขารวมการทดสอบจะตองอานคําชี้แจงที่บอกปุมบนแปนคียบอรดที่ใชกดตอบ นั่นคือ กดปุม “D” (ดวยมือซาย) หรือ “K” (ดวยมือขวา) เพื่อตอบให เ ร็วที่ สุดว า รูปภาพหรือ คํา เหล านั้นอ ยู ในหมวดหมูใด (โปรดพิจารณาข้ันตอนการทดลองที่สรุปไวในตาราง 2 และภาพจําลองหนาคอมพิวเตอรในการทดลองแตละรอบในภาพ 2) โดยคําที่เปนส่ิงเราใชตัวอักษรตัวหนาสีดํา แบบ Cordia New ขนาด 64 points สวนคําที่เปนชื่อหมวดหมู ซ่ึงปรากฏบนมุมบนซายและขวาของจอคอมพิวเตอรนั้น เปนตัวอักษรตัวหนาแบบ Cordia New ขนาด 60 points โดยชื่อหมวดหมูของชุดรูปภาพที่เปนกลุมทางการเมือง (กลุมคนเส้ือแดง – กลุมคนเส้ือเหลือง) เปนตัวอักษรสีน้ําเงิน สวนชื่อหมวดหมูของชุดคําลักษณะ (คําทางบวก – คําทางลบ) ใชตัวอักษรสีเขียว

ทั้งนี้ การจับคูระหวางรูปภาพเปาหมายและคําที่แสดงลักษณะ โปรแกรมจะสุมเง่ือนไขของลําดับการจับคูเปน 2 เง่ือนไข คือ

เง่ือนไขที่ 1 ผูเขารวมการวิจัยจะไดทดสอบบลอกที่ 1, 2, 3, และ 4 กอนที่จะทดสอบบลอกที่ 5, 6, และ 7

เง่ือนไขที่ 2 ผูเขารวมการวิจัยจะไดทดสอบบลอกที่ 5, 2, 6, และ 7 กอนที่จะทดสอบบลอกที่ 1, 3, และ 4

การคํานวณคะแนนที่ไดจากการวัดการเชื่อมโยงโดยนัยจากการทดสอบกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําที่แสดงลักษณะทางลบ และกลุมคนเส้ือแดงกับคําที่แสดงลักษณะทางบวก (บลอกที่ 4) ลบดวย กลุมคนเส้ือเหลืองกับคําที่แสดงลักษณะทางบวก และกลุมคนเส้ือแดงกับคําที่แสดงลักษณะทางลบ (บลอกที่ 7) ไดผลลัพธเปนคะแนนขนาดของการเชื่อมโยงโดยนัย ซ่ึงทําใหทราบถึงเจตคติตอกลุมทางการเมืองได

หากผู เขารวมการทดลองใช เวลาเฉลี่ยในการตอบสนองในข้ันตอนที่ 7 นอยกวาข้ันตอนที่ 4 ผูเขารวมการทดลองก็จะมีคะแนนเปนบวก แสดงวาผูเขารวมการทดลองเชื่อมโยงกลุมคนเส้ือเหลืองคําทางบวก (หรือกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางลบ) ไดเร็วกวาการเชื่อมโยงในทาง

Page 7: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

112

ตรงกันขาม ย่ิงใชเวลาในข้ันตอนที่ 7 นอยกวาข้ันตอนที่ 4 เทาใด ก็สามารถอนุมานไดวาผูเขารวมการทดลองมีเจตคติทางบวกตอกลุมคนเส้ือเหลืองมากกวากลุมคนเส้ือแดงเขมขนมากเทานั้น

ในทางตรงกันขาม หากผูเขารวมการทดลองใชเวลาเฉลี่ยในการตอบสนองในข้ันตอนที่ 4 นอยกวาข้ันตอนที่ 7 ผูเขารวมการทดลองก็จะมีคะแนนเปนลบ

แสดงวาผูเขารวมการทดลองเชื่อมโยงกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบ และกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวก ไดเร็วกวาการเชื่อมโยงในทางตรงกันขาม ย่ิงใชเวลาในข้ันตอนที่ 4 นอยกวาข้ันตอนที่ 7 เทาใด ก็สามารถอนุมานไดวาผูเขารวมการทดลองมีเจตคติทางบวกตอกลุมคนเส้ือแดงมากกวากลุมคนเส้ือเหลืองเขมขนมากเทานั้น

ตารางท่ี 2 การแสดงลําดับข้ันตอนการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย

ความตรงของแบบทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัย

ผูวิจัยหาความตรงของแบบทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยโดยใชวิธีการทดสอบกับกลุมที่รูลักษณะอยูแลว (known-groups technique) 2 กลุม คือ

1. กลุมตัวอยางที่คาดวาเปนผูที่นิยมกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ “กลุมคนเส้ือเหลือง” ไดแก กลุมผูปฎิบัติศาสนกิจตามแนวสันติอโศก จํานวน 11 คน

2. กลุมตัวอยางที่คาดวาเปนผูที่นิยมกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) หรือ “กลุมคนเส้ือแดง” ไดแก ผูที่เปดเผยตนเองวาเปน “คนเส้ือแดง” เคยมีประสบการณทางดานการเมือง เชน การชุมนุม การเปนสมาชิกพรรคการเมือง และเคย หรือยังคงดํา เนินกิจกรรมที่ เกี่ ยวของกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุมคนเส้ือแดง จํานวน 11 คน

ผลการวิเคราะหโดยใชวิธีการทดสอบกับกลุมที่รูลักษณะอยูแลวดวยคามัชฌิมเลขคณิตของเวลาเฉลี่ยที่กลุมตัวอยางใชในการตอบสนอง 2 รอบมาเปรียบเทียบความแตกตางของตัวแปรตามซ่ึงเปนตัวแปรภายในบุคคล (within subject) โดยใชสถิติทีแบบกลุมที่ไมเปนอิสระจากกัน (dependent groups t-test) เม่ือกลุมตัวอยางตองตอบสนองเช่ือมโยงดวยการกดปุมเพื่อจัดประเภทรูปภาพใบหนาของแกนนํากลุมคนเส้ือแดง/กลุมคนเส้ือเหลือง และคําทางบวก/ทางลบ พบวา กลุมตัวอยางทั้งสองกลุมสามารถตอบสนองในรอบท่ีรูปภาพแกนนําของกลุมที่ตนชื่นชอบกับคําที่มีความหมายทางบวกไดเร็วกวา (ใชเวลานอยกวา) รอบท่ีตอบสนองตอกลุมตรงขามกับคําทางบวก (หรือกลุมตนกับคําทางลบ)นั่นคือ กลุมตัวอยางที่ เปนผูที่นิยมกลุมคนเส้ือเหลือง สามารถตอบสนองในรอบที่ รูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองจับคูกับคําที่มีความหมายทางบวกไดเร็วกวา (M =

บลอกท่ี กดแปนอักษร D ดวยมือซาย เมื่อเปน กดแปนอักษร K ดวยมือขวา เมื่อเปน

ประเภท ตัวอยางส่ิงเรา ประเภท ตัวอยางส่ิงเรา

1 (รอบฝกซอม) ทดสอบ 20 รอบ

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือแดง ภาพนายจตุพร พรหมพันธุ, ภาพนายณัฐวุฒิ ใสยเก้ือ

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือเหลือง ภาพพลตรีจําลอง ศรีเมือง, ภาพนายสนธิ ลิ้มทองกุล

2 (รอบฝกซอม) ทดสอบ 20 รอบ

คําทางบวก ดีเยี่ยม, รุงเรือง คําทางลบ ลมเหลว, ทรมาน

3 (รอบฝกซอม) ทดสอบ 20 รอบ

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือแดง + คําทางบวก

ภาพนายณัฐวุฒิ ใสยเก้ือ, ดีเยี่ยม

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือเหลือง + คําทางลบ

ภาพนายสนธิ ลิ้มทองกุล, ลมเหลว

4 (ทดสอบจริง) ทดสอบ 40 รอบ

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือแดง + คําทางบวก

ภาพนายจตุพร พรหมพันธุ, งเรือง

ภาพแกนนํากลุมคนเสื้อเหลือง + คําทางลบ

ภาพพลตรีจําลอง ศรีเมือง, ทรมาน

5 (รอบฝกซอม) ทดสอบ 20 รอบ

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือหลือง

ภาพนายสนธิ ลิ้มทองกุล ภาพแกนนํากลุมคนเสื้อแดง ภาพนายณัฐวุฒิ ใสยเก้ือ

6 (รอบฝกซอม) ทดสอบ 20 รอบ

ภาพแกนนํากลุมคนเสื้อหลือง

+ คําทางบวก

ภาพนายสมศักดิ์ โกศัยสุขซื่อสัตย

ภาพแกนนํากลุมคนเสื้อแดง + คําทางลบ

นายแพทยเหวง โตจิราการหายนะ

7 (ทดสอบจริง) ทดสอบ 40 รอบ

ภาพแกนนํากลุมคนเส้ือหลือง

+ คําทางบวก

ภาพพลตรีจําลอง ศรีเมือง, มีความสุข

ภาพแกนนํากลุมคนเสื้อแดง + คําทางลบ

ภาพนายจตุพร พรหมพันธุ, ฆาตกรรม

Page 8: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

113

ภาพจําลองหนาคอมพิวเตอรในการทดลองขั้นท่ี 1

946.63 มิลลิวินาที, SD = 327.43) รอบที่ตอบสนองตอกลุมคนเส้ือแดงจับคูกับคําที่มีความหมายทางบวก (หรือกลุมคนเส้ือเหลืองจับคูกับคําที่มีความหมายทางลบ) (M = 1,013.28 มิลลิวินาที, SD = 393.08) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ t(10) = - 2.98, p < .05 และกลุมตัวอยางที่เปนผูที่นิยมกลุมคนเส้ือแดง ก็สามารถตอบสนองในรอบที่รูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงจับคูกับคําที่ มี

ความหมายทางบวกไดเร็วกวา (M = 792.3 มิลลิวินาที, SD = 330.84) รอบท่ีตอบสนองตอกลุมคนเส้ือเหลืองจับคูกับคําที่มีความหมายทางบวก (หรือกลุมคนเส้ือแดงจับ คู กั บ คํ าที่ มี ค ว ามหมายทา งลบ ) ( M = 964.66 มิลลิวินาที, SD = 352.26) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ t(10) = 2.91, p < .05

ภาพจําลองหนาคอมพิวเตอรในการทดลองขั้นท่ี 6 และ 7 (งานแยกประเภทหมวดหมูท่ีสลับตําแหนง)

ภาพจําลองหนาคอมพิวเตอรในการทดลองขั้นท่ี 5 (งานแยกประเภทหมวดหมูท่ีสลับตําแหนง)

ภาพจําลองหนาคอมพิวเตอรในการทดลองขั้นท่ี 2

ภาพจําลองหนาคอมพิวเตอรในการทดลองขั้นท่ี 3 และ 4

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

คําทางบวก คําทางลบ 

  สันติภาพ 

 

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

คําทางบวก คําทางลบ 

  สงคราม 

 

กด “D” เมื่อเปน กด “K” เมื่อเปน

กลุมคนเสื้อแดง หรือ กลุมคนเสื้อเหลือง หรือ

คําทางบวก คําทางลบ 

 สันติภาพ

กด “D” เมื่อเปน กด “K” เมื่อเปน

กลุมคนเสื้อเหลือง หรือ กลุมคนเส้ือแดง หรือ

คําทางบวก คําทางลบ 

 สันติภาพ

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

กลุมคนเส้ือแดง กลุมคนเส้ือเหลือง

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

กลุมคนเส้ือแดง กลุมคนเส้ือเหลือง

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

กลุมคนเส้ือแดง หรือ กลุมคนเส้ือเหลือง หรือ

คําทางบวก            คําทางลบ   

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

กลุมคนเส้ือเหลือง กลุมคนเส้ือแดง

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

กลุมคนเส้ือเหลือง กลุมคนเส้ือแดง

กด “D” เม่ือเปน กด “K” เม่ือเปน

กลุมคนเส้ือเหลือง หรือ กลุมคนเส้ือแดง หรือ

   คําทางบวก                คําทางลบ   

ภาพ 2 จําลองหนาจอคอมพิวเตอร การวัดการเชื่อมโยงโดยนัยเรื่องเจตคติตอกลุมทางการเมือง

Page 9: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

114

การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยแจงใหผูชวยสอนประจําวิชาชี้แจงใหนิสิต

ทราบถึงการเขารวมโครงการวิจัย โดยนิสิตที่มาเขารวมจะไดรับคะแนนการเขารวมกิจกรรมปฏิบัติการทางจิตวิทยา จากนั้นผูวิจัยเปดโอกาสใหนิสิตมาลงชื่อตามปายประกาศเพื่อจองวันและเวลาที่นิสิตสะดวกที่จะมารวมการทดสอบได พรอมทั้งขอใหนิสิตแตละคนใหขอมูลชื่อและหมายเลขโทรศัพท เพื่อนัดหมายนิสิตเหลานี้มาเขารวมการทดสอบรอบละ 4 คน

เม่ือนิสิตมาถึงหองทดลองแลวจะไดรับคําแนะนําวาใหปฏิบัติตามคําชี้แจงในคอมพิวเตอรเพื่อใหจําแนกคําและหมวดหมูของรูปภาพในการทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยในแตละรอบอยางละเอียด พรอมทั้งเปดโอกาสใหซักถามขอสงสัย จากนั้นจึงเร่ิมการทดสอบ เม่ือส้ินสุดการทดสอบแลวผูวิจัยจึงอธิบายถึงวัตถุประสงคของการทดสอบที่แทจริง ใชเวลารวมประมาณ 15 นาที การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยนําชุดของคําส่ัง (syntax) ที่ Greenwald (2007) แนะนําไวมาวิเคราะหขอมูลที่บันทึกไดดวยโปรแกรม SPSS for Windows ซ่ึงทําใหทราบขอมูลของผูตอบแตละคนถึงเวลาท่ีใชในแตรอบ อัตราการตอบผิด เวลาเฉลี่ยของแตละบลอกและทุกบลอก ตลอดจนขนาดความเขมขนของเจตคติ จากน้ันผูวิจัยนําเวลาเฉล่ียของการตอบมาวิเคราะหโดยใชคาสถิติทีแบบกลุมที่ไมเปนอิสระจากกัน (dependent group t-test) เพื่อวิเคราะหถึงความแตกตางของเวลาที่กลุมตัวอยางใชตอบสนองในการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย ระหวางรอบท่ีใหตอบสนองตอรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองและคําทางบวกดวยการกดปุมเดียวกัน และรอบที่ตอบสนองตอรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงและคําทางบวกดวยการกดปุมเดียวกัน ซ่ึงเปนตัวแปรภายในบุคคล (within subject) วารอบใดใชเวลานอยกวา นอกจากนี้ยังใชสถิติบรรยายเพ่ือนําเสนอขนาดอิทธิพลของเจตคติ (D score) ตอกลุมทางการเมืองที่ไดจากการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย ตามแนวทางการคํานวณรูปแบบใหมของ Greenwald, Nosek, และ Banaji (2003)

ผลการวิจัย ผูวิ จัยใชคําส่ังวิเคราะหขอมูลการทดสอบการ

เชื่อมโยงโดยนัย พบขอมูลจากกลุมตัวอยางจํานวน 15 คน (รอยละ 7.93 จากจํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมด) ที่มีอัตราการตอบผิดเกินรอยละ 15 ของรอบการตอบสนองทั้งหมด ผูวิจัยจึงตัดกลุมตัวอยางนี้ออกจากการวิเคราะหทําใหคงเหลือกลุมตัวอยางจํานวน 174 คนที่มีอัตราการตอบผิดรอยละ 0-14.84 แบงเปนเพศชาย 44 คน คิดเปนรอยละ 24.7 สวนเพศหญิง 131 คน คิดเปนรอยละ 75.3 อายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง คือ 19.37 ป

ขนาดความเขมขนของเจตคติแตละบุคคล ผูวิจัยคํานวณคะแนนระดับความเขมขนของความ

ชื่นชอบกลุมทางการเมืองในระดับบุคคล ตามแนวทางการคํานวณของ Greenwald และคณะ (2003) ดังนี้

1. นําเวลาเฉล่ียที่ใชในการตอบสนองตอรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบ (รูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวก) ลบดวย เวลาเฉลี่ยที่ใชในการตอบสนองตอรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางบวก (หรือรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางลบ) ทําใหไดผลลัพธ คือ ขนาดความเขมขนของการเชื่อมโยงโดยนัย (IAT effect) ทั้งในบลอกฝกหัดและบลอกทดสอบจริง

2. จากนั้นนําคะแนนผลตางของบลอกฝกหัด มาหารดวยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของบลอกฝกหัด เปนคะแนน DA และคะแนนผลตางของบลอกทดสอบจริงหารดวยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของบลอกทดสอบจริง เปนคะแนน DB

3. ในข้ันตอนสุดทาย นําคะแนน DA และ DB มาหาคาเฉลี่ย จะทําใหไดขนาดความเขมขนของเจตคติ (D score) ซ่ึงเปนคาที่อยูในชวง (- 2) ถึง (2) คะแนนที่เปนบวกและลบบอกถึงทิศทางความชื่นชอบตอที่หมายของเจตคติ ในที่นี้ผูที่มีคา D เปนบวกหมายถึงผูที่ชื่นชอบกลุมคนเส้ือเหลือง สวนผูที่มีคา D เปนลบหมายถึงผูที่ชื่นชอบกลุมคนเส้ือแดง ขนาดความเขมขนของเจตคติแบงเปน 3 ระดับ คือ

คา D นอยกวา 0.14 คือ ไมมีความชื่นชอบ คา D 0.15-0.34 คือ มีความชื่นชอบเล็กนอย คา D 0.35-0.64 คือ มีความชื่นชอบปานกลาง คา D มากกวา 0.65 คือ มีความชื่นชอบมาก จากการคํานวณขางตน พบวา กลุมตัวอยางมีขนาด

ความเขมขนของเจตคติตอกลุมคนเส้ือเหลืองมาก รอยละ 35.06 ชอบกลุมคนเส้ือเหลืองปานกลาง รอยละ25.29 ชอบกลุมคนเส้ือเหลืองเล็กนอย รอยละ11.49 ไมชอบทั้งกลุมคนเส้ือแดงและคนเส้ือเหลือง รอยละ12.07 ชอบกลุมคนเส้ือแดงเล็กนอย รอยละ 6.32 ชอบกลุมคนเส้ือแดงปานกลางรอยละ 6.32 และชอบกลุมคนเส้ือแดงมากรอยละ 3.45 เม่ือไมพิจารณาทิศทางของคะแนนขนาดความเขมขนของเจตคติ (วาชื่นชอบกลุมใด) พบวา นิสิตสวนมาก (กวารอยละ 70) สามารถเชื่อมโยงกลุมทางการเมือง (ทั้งผูที่ชื่นชอบกลุมคนเส้ือเหลืองและกลุมคนเส้ือแดง) กับลักษณะทางบวกดวยขนาดความเขมขนของเจตคติในระดับปานกลาง ( 0.35-0.64) ถึงระดับมาก ตามตาราง 3

เ ม่ือวิ เคราะหความแตกตางของคา เฉล่ียของคะแนนการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยระหวางกลุมตัวอยางที่ตอบสนองเพื่อเชื่อมโยงในรอบที่กลุมคนเส้ือเหลืองจับคูกับคําทางบวกกอน และในรอบที่กลุมคนเส้ือแดงจับคูกับคําทางบวกกอน (N = 174) พบวา เวลาโดยเฉลี่ยในการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยรวมทั้ง 7 บลอก

Page 10: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

115

ของกลุมตัวอยางที่ทดสอบการจับคูกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางบวกกอน (M = 926.84 มิลลิวินาที, SD = 237.26) แตกตางจากกลุมตัวอยางที่ทดสอบการจับคูกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวกกอน (M = 889.30 มิลลิวินาที, SD = 198.06) อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ, t(172) = 1.14, p = .258 (two-tailed) แสดงวาลําดับของการจับคูในการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยไมมีอิทธิพลตอระยะเวลาโดยเฉลี่ยในการทดสอบ

ผูวิจัยไดทดสอบความสอดคลองภายใน (Internal consistency) ตามแนวทางการวิเคราะหของ Nosek , Greenwald , และ Banaji (2005) ดวยการนําขนาดความ

เขมขนของเจตคติ DA (คํานวณไดจากการทดสอบบลอกที่ 3 และบล็อกที่ 6 ซ่ึงทั้งสองเปนบลอกฝกหัด) มาหาคาสหสัมพันธกับขนาดความเขมขนของ เจตคติ DB (คํานวณไดจากการทดสอบบลอกที่ 4 และบลอกที่ 7 ซ่ึงทั้งสองเปนบลอกทดสอบจริง) คาสหสัมพันธสูงยอมแสดงว า มี คว ามสอดคล อ งภ าย ใน สู ง ในที่ นี้ ค าสหสัมพันธที่ไดคือ r(172) =.73 (อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p < .001) แสดงวาการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยตอกลุมทางการเมืองในคร้ังนี้มีความสอดคลองภายในสูง

ตารางท่ี 3 สถิติบรรยายขนาดความเขมขนของเจตคติ (D score) ท่ีแสดงถึงระดับความชื่นชอบกลุมทางการเมืองของ กลุมตัวอยาง

หมายเหตุ N = 174, M = 0.40, Max = 1.29, Min = -1.32, SD = 0.52

ทดสอบสมมตฐิาน ผูวิจัยใชคาสถิติทีแบบกลุมที่ไมเปนอิสระจากกัน

(dependent groups t-test) วิเคราะหความแตกตางของเวลาที่กลุมตัวอยางใชตอบสนองในการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย ระหวางรอบที่ใหเชื่อมโยงรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองและคําทางบวกดวยการกดปุมเดียวกัน และรอบที่เชื่อมโยงรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือแดงและคําทางบวกดวยการกดปุมเดียวกัน

พบวา กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยในการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยในรอบที่ใหเชื่อมโยงกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางบวกหรือกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางลบ (M = 760.78 มิลลิวินาที, SD = 174.07) แตกตางจากรอบที่ใหเชื่อมโยงกลุมคนเส้ือแดงกับคําทางบวกหรือกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบ (M = 903.77 มิลลิวินาที, SD = 245.21) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ t(173) = -8.60, p < .001 (น), d1 = 0.65 โดยคา d เปนขนาดอิทธิพลของการทดสอบระดับปานกลางที่ยอมรับได ผลการทดสอบจึงสนับสนุนสมมติฐาน

______________________________________________ 1คา d เปนคาสถิติที่บงบอกถึงขนาดอิทธิพลที่แสดงใหเห็นความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยในหนวยของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชสูตรการคํานวณหาขนาดอิทธิพลจาก Cohen (1998) นั่นคือ

2/)( 22

21

21

SDSD

MMd

+

−=

คา d = .2 คือ ขนาดอิทธิพลระดับตํ่า คา d = .5 คือ ขนาดอิทธิพลระดับปานกลาง คา d = .8 คือ ขนาดอิทธิพลระดับสูง

การอภิปรายผล จากแนวคิดของ Greenwald และ Banaji (1995) ที่

มองปญญาโดยนัย (implicit cognition) วาเปนรองรอยของประสบการณในอดีตที่ไมสามารถประเมินได หรือประเมินไดอยางไมถูกตอง เพราะบางครั้งบุคคลไมสามารถเปดเผยปญญาโดยนัยนี้ออกมาภายนอกได เพราะอาจจะสรางความขัดแยงกับคานิยมความเชื่อ หรือบุคคลอาจจะหลีกเลี่ยงไมกลาวถึงเพื่อไมใหเกิดผลลบ

จํานวนความถี ่ รอยละ คาเฉลี่ย IAT D score ชอบกลุมคนเส้ือเหลืองมาก 61 35.06 0.92 ชอบกลุมคนเส้ือเหลืองปานกลาง 44 25.29 0.51 ชอบกลุมคนเส้ือเหลืองเล็กนอย 20 11.49 0.26 ไมชอบทั้งกลุมคนเส้ือแดงและคนเส้ือเหลือง 21 12.07 0.02 ชอบกลุมคนเส้ือแดงเล็กนอย 11 6.32 -0.23 ชอบกลุมคนเส้ือแดงปานกลาง 11 6.32 -0.50 ชอบกลุมคนเส้ือแดงมาก 6 3.45 -0.94 รวม 174 100.00

Page 11: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

116

ทางสังคมตามมา และบางคร้ังอาจเกิดการบิดเบือนคําตอบเพื่อใหสอดคลองกับความคาดหวังทางสังคมเพ่ือทําใหตนเองดูดีข้ึน (social desirability) ตลอดจนการผสานเอาแนวความคิดเร่ืองการกระตุนของพื้นฐานความสัมพันธเชื่อมโยง (association-based foundation) และการอนุมานจากการซอนเรนอยูภายในของรูปแบบการตอบสนอง (response latencies) ที่แตกตางกันไปตามระดับของการเขาถึงเจตคติ (attitude accessibility) ทําใหวิ ธีการวัดโดยนัยกลายมาเปนอีกทางเลือกหน่ึงในการศึกษาเจตคติภายใตฐานความคิดขางตน วิธีการวัดเจตคติโดยนัยที่ เปนที่นิยมวิธีหนึ่ง คือ การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย นับต้ังแตป ค.ศ. 1998 ที่นําเสนอการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยออกมา ทําให เกิดการวิพากษวิจารณอยางเปนวงกวางถึงความตรงและความนาเชื่อถือของเคร่ืองมือวัดประเภทน้ี

อยางไรก็ตาม ผลจากการพัฒนาการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยมาทดสอบดวยภาษาไทยในเชิงประยุกต เพื่อวัดเจตคติของนิสิตตอกลุมทางการเมืองในประเทศไทยคร้ังนี้นับวามีคุณคาอยางย่ิง และสามารถลดขอกังขาในประเด็นวิจารณที่เกี่ยวของกับการเรียงลําดับของการจับคูหมวดหมูกับงาน เชน การที่ผูเขารวมการทดสอบบางคนไดจับคูรูปภาพแกนนําของกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางบวกกอน อาจจะจับคูในงานลําดับตอมาไดยากข้ึนเม่ือตองสลับขางกัน (กลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบ) แตกตางจากผูที่ไดจับคูกลุมคนเส้ือเหลืองกับคําทางลบกอน การวิเคราะหคาสถิติของการศึกษาน้ีพบวาลําดับการจับคูไมมีอิทธิพลตอผลการทดสอบโดยรวม เพราะไดออกแบบใหมีการสุมเพื่อใหผูรวมการทดลองไดรับการทดสอบ การสุมจึงชวยลดอิทธิพลเร่ืองลําดับได เรียกกระบวนการนี้ ว า “การถวงน้ํ าหนักใหสมดุลกัน (counterbalancing)”

ตลอดจนการพัฒนารูปแบบการคํานวณคะแนนของการวัดการเชื่อมโยงโดยนัยแบบใหม (เรียกวาการคํานวณ D scoring algorithm) ของ Greenwald และคณะ (2003) ดวยการนําผลการทดสอบการซอนเรนอยูภายในของรูปแบบการตอบสนอง หรือความเ ร็วในการตอบสนอง (response latency) (หนวยมิลลิวินาที) มาคํานวณขนาดความเขมขนของการเชื่อมโยง (IAT effect) ดวยการแปลงเปนคะแนนสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานแทนความแตกตางของคาเฉล่ียเวลา เพื่อแกปญหาความแตกตางดานความเชี่ยวชาญทางปญญาของผูเขารวมการทดสอบ ที่พบวาในผูทดสอบที่ มีอายุสูงจะใช เวลาตอบสนองมากกวาผูที่มีอายุนอย หรือในผูที่มีความฉลาดทางปญญา (intelligence) และความสามารถในเปล่ียนงาน (task switching) ตํ่าจะใชเวลาตอบสนองมากกวา การใชคะแนนความเร็วในการตอบสนอง ( ซ่ึงเปนคะแนนดิบ) มาคํานวณหาขนาดความเขมขนของการเชื่อมโยงจึงมีความออนไหวสูง การแปลงคะแนนเวลาความเร็วเฉลี่ยมาใชสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการคํานวณแบบใหม (คะแนน D) จึงสามารถชวยขจัดปญหา

เร่ืองความแตกตางในดานความเช่ียวชาญทางปญญาดังกลาวได การคํานวณแบบใหมนี้ยังใชคะแนนสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่แปลงจากเวลาความเร็วเฉลี่ยในบลอกฝกหัดมาวิเคราะหรวมดวย เพราะเม่ือนําคะแนน D ของบลอกฝกหัดและบลอกทดสอบจริงมาหาคาเฉลี่ยจะพบวา การทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยบลอกฝกหัดมีน้ํ าหนั กของการทดสอบที่ เ ท า ๆกั น (equal-weight averages) กับการทดสอบในบลอกจริง ที่จะสงผลใหการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยมีความสัมพันธกับการวัดเจตคติดวยแบบรายงานตนในระดับที่ สู ง ข้ึนดวย (Greenwald et al., 2003)

การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยในคร้ังนี้มีระดับความเที่ยงหรือความสอดตลองภายในคอนขางสูง (r = .73) สอดคลองกับงานอภิวิเคราะหของ Hofman และคณะ (2005) ที่รวบรวมงานวิจัยกวา 50 เร่ือง รายงานวา การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยมีคาความสอดคลองภายในเฉล่ียที่ .79 ในชวง .70 ถึง .90 ตัวเลขนี้นับวาสูงกวาการวัดโดยนัยดวยวิธีอื่นๆ ในขณะที่ความนาเชื่อถือของการทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัยดวยการทดสอบซํ้า (test-retest reliability) พบวามีคาในชวง .25 ถึง .69 โดยที่คาเฉลี่ยและคามัธยฐานของความนาเชื่อถือของการทดสอบซํ้ามีคาเทากับ .50

นอกจากนี้แลว ขอวิจารณเร่ืองความคุนเคยในคําศัพท หรือรูปภาพที่นํ ามาใชในการทดสอบตอความเร็วที่ใชตอบสนองก็พบหลักฐานเชิงประจักษวา แมจะแยกทดสอบในเง่ือนไขที่มีความคุนเคยตอส่ิงเราสูงและต่ํา คะแนนความเขมขนของการเช่ือมโยงในสองเง่ือนไขก็ไมแตกตางกัน (Ottaway, Hayden, & Oakes, 2001)

แมผูวิจัยจะไมไดมีเปาหมายเพื่อแยกเปรียบเทียบจํานวนความช่ืนชอบของนิสิตตอกลุมคนเส้ือเหลืองหรือกลุมคนเส้ือแดง แตการทดสอบคร้ังนี้ทําใหทราบถึงขนาดความเขมขนของเจตคติที่นิสิตกวารอยละ 70 สามารถเชื่อมโยงตอกลุมทางการเมืองไดในระดับปานกลางถึงระดับมากได การทดสอบการเช่ือมโยงโดยนัยคร้ังนี้จึงนับไดวาเปนการประยุกตเอารูปแบบการวัดโดยนัยมาใชศึกษาในประเด็นทางสังคมไทยไดวิธีหนึ่งที่นาดึงดูดใจอยางย่ิง จากการศึกษาคร้ังนี้มีขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในโอกาสตอไปวาควรขยายกลุมตัวอยางไปยังกลุมอื่นที่ไมจํากัดเพียงนิสิตปริญญาตรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่มีลักษณะทางประชากรที่คลายคลึงกันคอนขางมากเทานั้น ควรมีการเปรียบเทียบผลการทดสอบในกลุ มคนและหัวข อที่ มี ความแตกต า งหลากหลาย ตลอดจนมีการทดสอบซํ้าเพื่อพัฒนาความนาเชื่อถือของเคร่ืองมือวัดโดยนัยประเภทน้ีใหมากย่ิงข้ึน

รายการอางอิง ทิพยนภา หวนสุริยา และธีระพร อุวรรณโณ. (2548). การทดสอบการเชือ่มโยงโดยนัย: วิธีใหมในการวัดเจตคติและปญญาทางสังคม เม่ือประยุกตใชในสถานการณ

Page 12: 13 สุมาลัย 106-117

Volume 10. 2011. – Proceedings of the East-West Psychological Science Research Center.

117

กลุมที่มีองคประกอบความเปนกลุมนอยที่สุด. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 18, 47-70.

ธีระพร อวุรรณโณ. (2546). เจตคติ: การศึกษาตามแนว ทฤษฎีหลัก (พิมพคร้ังที่ 2). กรุงเทพมหานคร: คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (อัดสําเนา).

หยกฟา อศิรานนท. (2551). อิทธิพลของบุคลกิภาพแบบหลงตนเอง และความไมสอดคลองระหวางการเห็นคุณคาแหงตนโดยนัยและการเห็นคุณคาแหงตนที่รับรู ตอสุขภาวะทางจิต: การวิเคราะหอทิธิพลของตวัแปรกํากับและตัวแปรสงผาน. วทิยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาจิตวทิยาสังคม คณะจิตวทิยา จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย.

Allport, G. W. (1935). Attitudes. In C. Murchison (Eds.). A handbook of social psychology (pp. 798-844). Worcester, MA: Clark University Press.

Bargh, J. A. (1994). The four horsemen of automaticity: Awareness, efficiency, intention, and control in social cognition. Retrieved from http://www.yale.edu /acmelab/articles/Bargh_1994.pdf

Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Earlbaum.

Dasgupta, N. (2009). Mechanisms underlying the malleability of implicit prejudice and stereotypes: The role of automaticity and cognitive control. In T. D. Nelson (Ed.). Handbook of prejudice, stereotyping, and discrimination (pp.267-284). New York: Psychology Press.

Fazio, R. H., Sanbonmatsu, D. M., Powell, M. C., & Fazio, R., & Williams, C. (1986). Attitude accessibility

as a moderator of attitude-perception and attitude-behavior relation: An investigation of the 1984 presidential election. Journal of Personality and Social Psychology, 51, 505-514.

Greenwald, A. G. (2007). Generic IAT [Computer programming language]. Retrieved from http://faculty.washington.edu/agg/IATmaterials/ Generic%20IAT.29Dec07.zip

Greenwald, A. G., & Banaji, M. R. (1995). Implicit social cognition: Attitudes, self-esteem, and stereotypes. Psychological Review, 102, 4-27.

Greenwald, A. G., McGhee, D. E., & Schwartz, J. L. K. (1998). Measuring individual differences in implicit cognition: The implicit association test. Journal of Personality and Social Psychology, 74, 1464-1480.

Greenwald, A. G, Nosek, B. A., & Banaji, M. R. (2003). Understanding and using the Implicit Association Test: An improved scoring algorithm. Journal of Personality and Social Psychology, 85, 197-216.

Hofmann, W., Gschwendner, T., Nosek, B. A., & Schmitt, M. (2005). What moderates implicit-explicit consistency? European Review of Social Psychology, 16, 335-390.

Inquisit 3.0.3.1 [Computer software]. (2008). Seatle, WA: Millisecond Software.

Kardes, F. R. (1986). On the automatic activation of attitudes. Journal of Personality and Social Psychology, 50, 229-238.

Lane, K. A., Banaji, M. R., Nosek, B. A., & Greenwald, A. G. (2007). Understanding and using the implicit association test: What we know (so far) about the method. In B. Wittenbrink & N. Schwarz (Eds.), Implicit measures of attitudes (pp. 59-102). New York: Guillford Press.

McConnell, A. R., & Leibold, J. M. (2001). Relations among the implicit association test, discriminatory behavior, and explicit measures of racial attitudes. Journal of Experiment Social Psychology, 37, 435-422.

Nosek, B. A., Greenwald, A. G., & Banaji, M. R. (2005). Understanding and using the Implicit Association Test: Method variables and construct validity. Personality and Social Psychology Bulletin, 31, 166–180.

Oskamp, S., & Schultz, P. W. (2005). Attitudes and opinions (3rd ed.). Mahwah, NJ: Erlbaum.

Ottaway, S. A., Hayden, D. C., & Oakes, M. A. (2001). Implicit attitudes and racism: Effects of word familiarity and frequency on the Implicit Association Test. Social Cognition, 19, 97-14.